The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพื่อแยกสมาคมที่ดาเนินการเกี่ยวกับการค้าและเศรษฐกิจออกจากสมาคมธรรมดา และกาหนดข้อห้ามมิให้สมาคมการค้าดาเนินการใดๆ อันจะเป็นผลกระทบกระเทือนการค้า เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by legal.dbd.15, 2019-10-10 02:32:35

พระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ.๒๕๐๙

เพื่อแยกสมาคมที่ดาเนินการเกี่ยวกับการค้าและเศรษฐกิจออกจากสมาคมธรรมดา และกาหนดข้อห้ามมิให้สมาคมการค้าดาเนินการใดๆ อันจะเป็นผลกระทบกระเทือนการค้า เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ

พระราชบัญญัติ
สมาคมการคา พ.ศ. ๒๕๐๙

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ท่ี ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๙

เปน ปท ่ี ๒๑ ในรชั กาลปจ จบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยทีเ่ ปนการสมควรมีกฎหมายวา ดว ยสมาคมการคา

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอม
ของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังตอไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ิน้เี รยี กวา “พระราชบญั ญตั ิสมาคมการคา พ.ศ. ๒๕๐๙”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตนไป

มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎและขอบังคับอืน่ ในสวนท่ีมบี ญั ญตั ไิ วแ ลว ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี
หรือซึ่งขัดหรอื แยง กบั บทบญั ญตั แิ หงพระราชบัญญตั นิ ้ี ใหใชพ ระราชบัญญัตนิ แี้ ทน

หมวด ๑
บทท่ัวไป

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“สมาคมการคา” หมายความวา สถาบันท่ีบุคคลหลายคนซ่ึงเปนผูประกอบวิสาหกิจ
จดั ตั้งขึ้นเพ่อื ทําการสงเสริมการประกอบวิสาหกิจอันมิใชเปน การหาผลกําไรหรือรายไดแ บงปนกัน
“ผูประกอบวิสาหกิจ” หมายความวา บุคคลซ่ึงประกอบธุรกิจทางการคา อุตสาหกรรม
หรือการเงิน และใหหมายความรวมถึงบุคคลซ่ึงประกอบธุรกิจอื่นใดในทางเศรษฐกิจที่รัฐมนตรีจะได
กําหนดในกฎกระทรวง
“นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนกลางสมาคมการคา หรือนายทะเบียน
สมาคมการคาประจาํ จังหวดั แลวแตกรณี
“พนกั งานเจาหนา ท่”ี หมายความวา ผซู งึ่ รฐั มนตรีแตง ตั้งใหป ฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญัติน้ี
“รัฐมนตร”ี หมายความวา รัฐมนตรีผูร ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเศรษฐการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทาย
พระราชบญั ญัตนิ ี้ และกาํ หนดกิจการอื่น เพือ่ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎกระทรวงน้ัน เม่อื ไดป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว ใหใ ชบงั คับได

หมวด ๒
การจัดตง้ั สมาคมการคา

มาตรา ๖ ภายใตบังคับแหงกฎหมายวาดวยสหกรณ หามมิใหผูประกอบวิสาหกิจ
ตกลงเขากันเพื่อทําการสงเสริมการประกอบวิสาหกิจในรูปอ่ืนใดนอกจากเปนสมาคมการคาตาม
พระราชบัญญตั ินีเ้ ทา น้ัน

*

มาตรา ๗ ใหจดั ตงั้ สาํ นักงานกลางทะเบียนสมาคมการคาขึ้นในกรมพัฒนาธุรกิจการคา
กระทรวงพาณิชย เพ่ือควบคุมการออกใบอนุญาตและการจดทะเบียนสมาคมการคาทั่วราชอาณาจักร และ
ทําหนา ทเ่ี ปน สํานกั งานทะเบียนสมาคมการคาประจํากรุงเทพมหานคร

ในจังหวัดอนื่ นอกจากกรุงเทพมหานคร ใหจัดต้ังสํานักงานทะเบียนสมาคมการคาประจํา
จงั หวดั ขนึ้ ตรงตอ สํานกั งานกลางทะเบยี นสมาคมการคา

ใหอธิบดกี รมพฒั นาธรุ กิจการคาหรือผูซึ่งอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคามอบหมายเปน
นายทะเบียนกลางสมาคมการคาและนายทะเบียนสมาคมการคาประจํากรุงเทพมหานคร และใหผูวาราชการ
จงั หวัดนอกจากกรงุ เทพมหานครหรือผซู งึ่ ผวู าราชการจังหวัดมอบหมายเปนนายทะเบียนสมาคมการคา
ประจําจังหวดั

มาตรา ๘ หา มมิใหผ ใู ดจดั ตัง้ สมาคมการคา เวน แตจะไดร ับอนุญาตจากนายทะเบยี น
การตงั้ สาขาสมาคมการคา จะกระทํามิได

มาตรา ๙ การขออนุญาตนั้น ใหผูเริ่มกอการจัดตั้งมีจํานวนไมนอยกวาสามคนย่ืนคําขอ
ตอนายทะเบยี นตามหลกั เกณฑแ ละวิธีการท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

**

มาตรา ๑๐ เมื่อนายทะเบียนไดรับคําขออนุญาตและพิจารณาแลวเห็นวาขอบังคับไมขัด
ตอกฎหมาย ไมเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชน และผูเร่ิมกอการจัดต้ังเปนผูซึ่งมีความประพฤติดี ใหนายทะเบียนสั่งอนุญาตและ
ออกใบอนุญาตสมาคมการคาใหแ กผ ขู ออนญุ าต พรอมทงั้ จดทะเบยี นสมาคมการคาใหด วย

ถานายทะเบียนมีคาํ ส่งั ไมอนญุ าต ใหแ จง คาํ ส่ังเปน หนงั สอื ไปยงั ผูขออนญุ าตโดยมชิ ักชา
ผูข ออนุญาตมสี ทิ ธอิ ทุ ธรณคาํ สงั่ นัน้ ได โดยยืน่ อทุ ธรณเปนหนังสอื ตอ รฐั มนตรี ภายในกําหนดสบิ หาวนั
นบั แตว ันทไ่ี ดร ับแจง คาํ สงั่ คําวินจิ ฉยั ของรฐั มนตรีใหเปนทส่ี ดุ

การอนุญาตใหตั้งสมาคมการคาและการเลิกสมาคมการคา ใหนายทะเบียนกลางสมาคม
การคาประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๑๑ ใหสมาคมการคา ท่ไี ดร บั ใบอนญุ าตและจดทะเบียนแลวเปน นติ ิบคุ คล

มาตรา ๑๒ ถาใบอนุญาตสมาคมการคาสูญหายหรือถูกทําลาย ใหสมาคมการคาย่ืนคําขอ
รบั ใบแทน

* แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญัตสิ มาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓

**

แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิสมาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔

มาตรา ๑๓ สมาคมการคาตอ งมขี อบงั คบั และขอบังคับนน้ั อยางนอยตอ งมีขอ ความดังตอไปนี้
(๑) ชือ่
(๒) วตั ถุที่ประสงค
(๓) ทต่ี ้งั สาํ นกั งาน
(๔) วธิ ีรบั สมาชกิ และใหสมาชิกออกจากสมาคมการคา ตลอดจนสิทธแิ ละหนา ที่ของสมาชิก
(๕) การดําเนินกิจการของสมาคมการคา การตั้ง การออกจากตําแหนง และการประชุม
ของกรรมการตลอดจนการประชมุ ใหญ
ขอบังคับของสมาคมการคาตองนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนพรอมกับการย่ืนคําขอ
อนุญาตจัดตั้งสมาคมการคา กอนออกใบอนุญาต ถานายทะเบียนเห็นสมควรจะส่ังใหแกไขเพ่ิมเติม
ขอ บงั คับน้นั ก็ได

*

มาตรา ๑๔ (ยกเลกิ )

มาตรา ๑๕ ชื่อของสมาคมการคาตองเปนอักษรไทยแตจะมีอักษรตางประเทศกํากับไวทาย
หรือใตช่ืออักษรไทยดวยก็ได และจะใชช่ือไดแตเฉพาะท่ีปรากฏในขอบังคับเทาน้ัน หามมิใหใชขอความ
“แหงประเทศไทย” หรอื ขอความที่มีความหมายในทาํ นองเดียวกนั ประกอบเปน ชื่อของสมาคมการคา

ใหส มาคมการคาจดั ใหม ปี ายชือ่ อา นไดช ัดเจนติดไวทห่ี นา สํานกั งาน
มาตรา ๑๖ หามมิใหบุคคลใดใชชื่อท่ีมีอักษรไทยประกอบวา “สมาคมการคา” หรือ
อกั ษรตา งประเทศซ่ึงแปลหรอื อานวา “สมาคมการคา” ในดวงตรา ปายชื่อ จดหมาย ใบแจงความ หรือ
เอกสารอยางอื่นเก่ียวกับธุรกิจ โดยมิไดเปนสมาคมการคา เวนแตเปนการใชในการขออนุญาตจัดตั้ง
สมาคมการคา

มาตรา ๑๗ ใหนายทะเบียนมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือเรียกบุคคลใดๆมาสอบถาม
หรือใหส งเอกสารมาเพื่อประกอบการพจิ ารณาเก่ยี วกับการขออนุญาตจดั ตั้งสมาคมการคาได

หมวด ๓
การดาํ เนนิ กิจการของสมาคมการคา

มาตรา ๑๘ ใหสมาคมการคามีคณะกรรมการเปนผูดําเนินกิจการของสมาคมการคา
และเปนผูแทนของสมาคมการคาในกิจการอันเก่ียวกับบุคคลภายนอก เพ่ือการน้ีคณะกรรมการจะ
มอบหมายใหก รรมการคนหนึง่ คนใดหรอื หลายคนทําการแทนก็ได

มาตรา ๑๙ นอกจากการออกจากตําแหนง กรรมการตามขอ บังคับของสมาคมการคาแลว
ใหกรรมการสมาคมการคาออกจากตําแหนงเมื่อเปนบุคคลลมละลาย หรือเม่ือตองคําพิพากษาถึงท่ีสุด
ใหล งโทษตามพระราชบญั ญตั ิน้ี และไมม สี ิทธเิ ปนกรรมการสมาคมการคาใดๆ อกี เวน แตจ ะพน กาํ หนด
สามปน บั แตไดพน จากการเปนบคุ คลลมละลายหรือนบั แตว นั พน โทษ

* ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติสมาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕

มาตรา ๒๐ สมาชิกของสมาคมการคามีสิทธิขอตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของสมาคม
การคา ได โดยย่ืนคําขอเปนหนงั สอื ตอ สมาคมการคา

มาตรา ๒๑ สมาคมการคา จะดาํ เนินกิจการไดแ ตเ ฉพาะในเรอ่ื งดังตอไปน้ี
(๑) สง เสรมิ การประกอบวิสาหกิจประเภททอ่ี ยูในวตั ถทุ ป่ี ระสงค
(๒) สนับสนุนและชวยเหลือสมาชิก แกไขอุปสรรคขอขัดของตางๆ รวมทั้งเจรจาทํา
ความตกลงกบั บุคคลภายนอกเพอื่ ประโยชนร วมกนั ในการประกอบวิสาหกจิ ประเภทท่ีอยูในวัตถุท่ีประสงค
สอดสองและติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดการคาทั้งภายในและภายนอกประเทศเก่ียวกับสินคาท่ี
สมาชกิ ประกอบวสิ าหกจิ เพอื่ ใหเ ปนประโยชนแกก ารคา การเงนิ เศรษฐกิจหรือความม่ันคงของประเทศ
(๓) ทําการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิสาหกิจประเภทท่ีอยูในวัตถุท่ีประสงค แลกเปล่ียน
และเผยแพรความรูในทางวชิ าการ ตลอดจนขาวสารการคาอนั เกี่ยวกับวิสาหกจิ นน้ั ๆ
(๔) ขอสถิติหรือเอกสาร หรือขอทราบขอความใดๆ จากสมาชิกเกี่ยวกับการดําเนิน
วิสาหกิจประเภททอี่ ยูใ นวตั ถทุ ปี่ ระสงค ทง้ั น้ีดว ยความยนิ ยอมของสมาชกิ
(๕) สงเสริมคุณภาพของสินคาที่ผลิตหรือจําหนายโดยผูประกอบวิสาหกิจท่ีเปนสมาชิก
ใหเ ขามาตรฐาน ตลอดจนวจิ ยั และปรับปรุงวธิ กี ารผลติ และการคาใหไดผลดยี ่ิงขึน้
(๖) รวมมือกับรัฐบาลในการสงเสริมการคา อุตสาหกรรม การเงิน หรือธุรกิจอ่ืนใด
ในทางเศรษฐกจิ อันอยูใ นวัตถุท่ีประสงค
(๗) สงเสริมการผลิตเพื่อใหสินคามีปริมาณเพียงพอแกความตองการของตลาดท้ัง
ภายในและภายนอกประเทศ
(๘) ทําความตกลงหรอื วางระเบยี บใหส มาชิกปฏิบตั ิหรอื งดเวนการปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหการ
ประกอบวสิ าหกิจประเภทท่อี ยใู นวัตถทุ ป่ี ระสงคไดดําเนินไปดวยความเรียบรอ ย
(๙) ประนปี ระนอมขอ พิพาทระหวา งสมาชกิ หรือระหวางสมาชิกกับบุคคลภายนอกใน
การประกอบวสิ าหกจิ

มาตรา ๒๒ หามมใิ หสมาคมการคา กระทําการใดๆ ดังตอไปน้ี

*

(๑) ประกอบวิสาหกิจโดยสมาคมการคาน้ันเอง หรือเขาดําเนินการในการประกอบ
วิสาหกิจของสมาชกิ หรอื เขามีสวน ถือหนุ เปน หุนสวน หรอื รวมทนุ ในการประกอบวสิ าหกิจกบั บคุ คลใดๆ
เวนแตเ ปนการถือตราสารหนี้ หรือเขาถือหุนในบริษัทท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยที่มีผูบริจาคหรือ
มอบใหแกส มาคมการคา

(๒) ดําเนินการดว ยประการใดๆ ในอันท่ีจะกดราคาสินคาหรือคาบริการใหตกต่ําเกิน
สมควรหรือทาํ ใหสูงเกินสมควร หรอื ทาํ ใหเกดิ ปนปวนเกี่ยวกับราคาสนิ คา หรอื คา บรกิ าร

**

(๓) ใหเงิน หรือใหกูยืมเงินแกสมาชิกหรือบุคคลอื่นใด เวนแตเปนการใหเพ่ือการ
กุศลสาธารณะ หรือตามหนาท่ีศีลธรรม หรือตามควรแกอัธยาศัยในสังคม หรือเพ่ือเปนสวัสดิการแก
พนักงานของสมาคมการคา

* แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั สิ มาคมการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖
** แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิสมาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗

(๔) ดําเนินการดวยประการใดๆ เพ่ือเพ่ิม ลด หรือกํากัดปริมาณการผลิต ปริมาณสินคา
ท่ีจําหนายหรือบริการอื่นและการดําเนินการดังกลาวน้ันเปนผลเสียหายแกตลาดการคา การเงิน ภายใน
หรอื ภายนอกประเทศ หรือเศรษฐกจิ ของประเทศ

(๕) ดําเนินการดวยประการใดๆ อันเปนการทําลายการแขงขันอันพึงมีตามปกติวิสัย
ของการประกอบวิสาหกิจ เวนแตจ ะเปน การปฏิบัติตามนโยบายหรอื ระเบยี บของทางราชการ

(๖) ดําเนินการดวยประการใดๆ อันอาจเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศ
หรอื ตอความสงบเรยี บรอ ยหรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน

(๗) กีดกันหรือขัดขวางมิใหผูใดซ่ึงมีคุณสมบัติที่จะเปนสมาชิกไดตามขอบังคับของ
สมาคมการคา เขา เปนสมาชกิ หรือบังคับดว ยประการใดๆ ใหเ ขาเปน สมาชิกโดยผนู ้นั ไมส มัครใจ หรือให
สมาชิกออกจากสมาคมการคา โดยเจตนาอันไมสจุ ริตหรือขดั ตอ ขอบังคับของสมาคมการคา

(๘) เปดเผยสถิติ เอกสาร หรือขอความอันเก่ียวกับประโยชนสวนไดเสียโดยเฉพาะของ
สมาชิกผูใ ด เวนแตจะไดรับความยนิ ยอมเปนหนงั สือจากสมาชิกผนู น้ั

(๙) ให หรอื ยอมใหบ ุคคลอ่นื ซึง่ มิใชกรรมการดาํ เนนิ กจิ การในหนาทีข่ องกรรมการ

มาตรา ๒๓ หามมใิ หส มาคมการคาแบง ปนผลกําไรหรือรายไดใ หแ กสมาชกิ หรือดําเนนิ การ
ในทางการเมือง

หมวด ๔
การควบคุมสมาคมการคา

มาตรา ๒๔ ใหนายทะเบียนมีอํานาจออกคําส่ังเปนหนังสือใหกรรมการหรือสมาชิกมา
ชี้แจงขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั กจิ การของสมาคมการคา หรือใหส งเอกสารเกย่ี วกับการดาํ เนนิ งานหรือรายงาน
การประชมุ ของสมาคมการคาได

มาตรา ๒๕ เพอื่ ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัตินี้ใหนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ี
มีอํานาจเขาไปตรวจสอบในสํานักงานของสมาคมการคาไดใ นระหวา งเวลาทํางานของสมาคมการคา

ในการปฏิบัติการตามวรรคหน่ึง ใหพนักงานเจาหนาท่ีแสดงบัตรประจําตัวพนักงาน
เจา หนา ท่ีตอผูซ่งึ เกยี่ วขอ ง

บัตรประจําตัวพนกั งานเจาหนา ทใี่ หเ ปนไปตามแบบท่รี ัฐมนตรีกาํ หนด
ในการปฏิบัตกิ ารของนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนา ท่ตี ามวรรคหน่ึง ใหผ ูซ่งึ เกยี่ วขอ ง
อํานวยความสะดวกหรือชวยเหลือตามสมควร หรือใหคําช้ีแจงแกนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ี
ตามที่ขอรอง

มาตรา ๒๖ ใหสมาคมการคาจดั ทําทะเบยี นสมาชิกเก็บรักษาไวท่สี าํ นักงานของสมาคม
การคา และใหสงสําเนาทะเบียนสมาชิกนั้นแกนายทะเบียนภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันท่ีไดรับ
ใบอนญุ าตและจดทะเบียนเปน สมาคมการคา ทะเบยี นสมาชกิ นนั้ อยา งนอยใหมรี ายการดังตอ ไปน้ี

(๑) ช่อื และสัญชาตขิ องสมาชิก
(๒) ชอื่ ทีใ่ ชใ นการประกอบวิสาหกิจและประเภทของวิสาหกจิ

(๓) ทีต่ งั้ สาํ นักงานของสมาชิก
(๔) วันท่เี ขา เปนสมาชกิ
เมื่อมกี ารรับสมาชิกใหมห รือมกี ารเปล่ียนแปลงเกี่ยวกบั ทะเบียนสมาชกิ ใหสมาคมการคา
แจงการรับสมาชิกใหม หรือการเปลี่ยนแปลงน้ัน ตอนายทะเบยี นภายในกําหนดเกา สบิ วนั นบั แตว ันท่ีรับ
สมาชกิ ใหมหรือมกี ารเปลย่ี นแปลง

มาตรา ๒๗ ใหสมาคมการคาจัดทํางบดุลอยางนอยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือน อัน
จัดวา เปน รอบปใ นทางบญั ชขี องสมาคมการคานนั้

งบดลุ นนั้ ตอ งมรี ายการแสดงจํานวนสินทรพั ยแ ละหน้ีสนิ ของสมาคมการคา กบั ทั้งบัญชี
รายรับรายจาย งบดุลตองทําใหแลวเสร็จและจัดใหมีผูสอบบัญชีตรวจสอบแลวนําเสนอเพื่ออนุมัติตอท่ี
ประชมุ ใหญของสมาคมการคาภายในกาํ หนดหนึง่ รอ ยยส่ี บิ วนั นับแตวันท่ีส้ินปก ารบญั ชี

มาตรา ๒๘ ใหสมาคมการคาจัดทํารายงานประจําป แสดงผลการดําเนินกิจการของ
สมาคมการคาเสนอตอท่ีประชุมใหญในคราวท่ีเสนองบดุล และใหสงสําเนารายงานกับงบดุลไปยัง
นายทะเบียนภายในกาํ หนดสามสบิ วันนับแตวันทีม่ กี ารประชุมใหญ

มาตรา ๒๙ การแกไขหรือเพ่ิมเติมขอบังคับของสมาคมการคาจะกระทําไดก็แตโดย
มติของที่ประชุมใหญ และตองนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนภายในกําหนดสามสิบวันนับแตวันท่ีที่
ประชุมใหญลงมติ แตถานายทะเบียนเห็นวาการแกไขหรือเพิ่มเติมขอบังคับนั้นขัดตอวัตถุท่ีประสงค
ของสมาคมการคาหรือขัดตอกฎหมาย หามมิใหนายทะเบียนรับจดทะเบียนการแกไขหรือเพิ่มเติม
ขอบงั คบั นน้ั

ถานายทะเบยี นไมร ับจดทะเบยี นการแกไขหรอื เพิ่มเติมขอบังคับ ใหนํามาตรา ๑๐ วรรคสอง
มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๓๐ การตัง้ กรรมการหรือการเปล่ยี นตวั กรรมการของสมาคมการคา ตองนาํ ไป
จดทะเบียนตอ นายทะเบยี นภายในกาํ หนดสามสิบวนั นบั แตว นั ตงั้ หรอื เปลย่ี นตวั กรรมการ

*

ถานายทะเบียนเห็นวาผูไดรับการต้ังใหเปนกรรมการน้ันเปนผูซึ่งมีความประพฤติเสื่อมเสีย
หรือมีเหตอุ ันควรสงสยั วาอาจเปน ภยั ตอ เศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นายทะเบียนมีอํานาจไมรับจดทะเบียนผูนั้นเปนกรรมการของสมาคม
การคาได

มาตรา ๓๑ ผูใดประสงคจะขอตรวจหรือคัดเอกสาร หรือขอใหคัดและรับรองสําเนา
เอกสารเกย่ี วกบั สมาคมการคา ใหย่นื คําขอตามแบบท่ีนายทะเบียนกลางสมาคมการคากําหนด

มาตรา ๓๒ เม่ือปรากฏวาคณะกรรมการ กรรมการหรือสมาชิกของสมาคมการคา
กระทําการใดๆ อันอาจเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความม่ันคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอย หรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหคณะกรรมการ กรรมการหรือ
สมาชกิ นั้นระงบั หรอื จดั การแกไขการกระทาํ น้ันภายในระยะเวลาทน่ี ายทะเบยี นกาํ หนด

* แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติสมาคมการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘

มาตรา ๓๓ เมื่อสมาคมการคากระทําการอันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๒ รัฐมนตรีมีอํานาจ
ส่ังใหกรรมการท้ังคณะหรือเปนรายบุคคลออกจากตําแหนงได ในกรณีเชนนี้ คณะกรรมการหรือกรรมการนั้น
ไมมีสิทธิเปนกรรมการสมาคมการคาอีก เวนแตจะพนกําหนดสามปนับแตวันที่ถูกรัฐมนตรีส่ังใหออก
จากตาํ แหนง

มาตรา ๓๔ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาสมาคมการคาใดจะดําเนินการไมชอบดวยกฎหมาย
หรืออาจเปนภัยตอเศรษฐกิจความมั่นคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหสมาคมการคานั้นแจงวันเวลาประชุมทุกคราว
มาใหนายทะเบียนทราบลวงหนาไมนอยกวาสามวัน ในกรณีเชนน้ีใหนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ี
มีอํานาจเขาไปฟง การประชุมได

สมาคมการคาใดไมแจงวันเวลาประชุมตามคําส่ังของนายทะเบียน ใหนายทะเบียนมี
อาํ นาจส่ังใหสมาคมการคา นนั้ งดการประชุมไดค รัง้ หนึ่งไมเ กินเกา สบิ วันนับแตวนั ท่ีนายทะเบยี นสั่ง

ในกรณีทีน่ ายทะเบียนมีคําสั่งใหงดการประชุม ใหนํามาตรา ๑๐ วรรคสอง มาใชบังคับ
โดยอนุโลม

*

มาตรา ๓๕ ถาที่ประชุมใหญของสมาคมการคาลงมติอันเปนการฝาฝนกฎหมายหรือ
ขอ บงั คับของสมาคมการคา เมอื่ สมาชกิ คนหน่งึ คนใดหรอื พนกั งานเจาหนาทีร่ องขอ ใหศาลเพิกถอนมติ
ของทปี่ ระชมุ ใหญน น้ั เสยี แตใ นกรณที ส่ี มาชิกรอ งขอใหเพิกถอนใหกระทําภายในกําหนดสามสิบวันนับแต
วนั ทีไ่ ดลงมตินัน้

**

มาตรา ๓๖ ใหร ฐั มนตรมี ีอํานาจสงั่ ใหเลกิ สมาคมการคา ไดใ นกรณดี ังตอ ไปน้ี
(๑) เม่ือปรากฏวาการกระทําของสมาคมการคา ผิดตอ กฎหมาย หรือเปนภัยตอ เศรษฐกจิ
ความม่ันคงของประเทศ หรือตอ ความสงบเรียบรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน
(๒) เม่อื สมาคมการคา ปฏิบัติการอันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๒ และการกระทํานั้นเปน
การเสยี หายอยา งรา ยแรง
(๓) เม่อื สมาคมการคาไมส ามารถดาํ เนินกิจการตอไปหรอื หยุดดาํ เนินกิจการตัง้ แตสองปขึ้นไป
(๔) เม่อื ปรากฏวา สมาคมการคา ให หรือยอมใหบุคคลอ่ืนซ่ึงมิใชกรรมการดําเนินกิจการ
ในหนา ที่ของกรรมการ
กรรมการของสมาคมการคาท่รี ัฐมนตรีส่ังใหเ ลกิ ตาม (๑) (๒) หรือ (๔) ผูใดซึ่งมีสวน
ในการกระทาํ อนั เปนเหตใุ หสมาคมการคาน้นั ถูกรฐั มนตรีส่ังใหเ ลกิ ไมมสี ทิ ธิเปนกรรมการสมาคมการคาอีก
เวน แตจะพน กาํ หนดสามปนับแตวันท่ีรัฐมนตรสี ง่ั ใหเลิกสมาคมการคานัน้

หมวด ๕
การเลิกสมาคมการคา

มาตรา ๓๗ สมาคมการคา ยอ มเลกิ ดวยเหตใุ ดเหตุหนงึ่ ดังตอ ไปน้ี
(๑) ถามขี อ บงั คบั กาํ หนดใหเ ลิกในกรณใี ด เมื่อมกี รณนี น้ั

* แกไ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตสิ มาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๙
** แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตสิ มาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐

(๒) ถาตั้งโดยมกี าํ หนดเวลา เมือ่ สน้ิ กาํ หนดเวลานั้น
(๓) เม่อื ทปี่ ระชมุ ใหญล งมติใหเ ลิก
(๔) เมอ่ื ลม ละลาย
(๕) เม่ือรัฐมนตรีส่งั ใหเ ลิกตามมาตรา ๓๖
ใหสมาคมการคาที่เลิกตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แจงใหนายทะเบียนทราบภายใน
กําหนดเวลาสบิ หาวันนับแตวนั ทีเ่ กิดมีเหตทุ ่ีทาํ ใหเลิก

มาตรา ๓๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๐ วรรคสาม เม่ือสมาคมการคาใดเลิกไป เพราะเหตุใด
เหตุหนึ่งตามที่ระบุไวในมาตรา ๓๗ ใหนายทะเบียนเพิกถอนใบอนุญาตและขีดชื่อสมาคมการคานั้น
ออกจากทะเบียน ในกรณีเชนนี้ ใหถือวาสมาคมการคาน้ันคงดําเนินการตอไปไดเพียงเทาที่จําเปนเพ่ือ
การชาํ ระบญั ชเี ทา นนั้

มาตรา ๓๙ การชําระบัญชีสมาคมการคาซ่ึงเลิกตามมาตรา ๓๗ ใหนําบทบัญญัติแหง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยอันวาดวยการชําระบัญชีหางหุนสวน จดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด
และบริษัทจาํ กัด มาใชบ งั คบั โดยอนุโลม

มาตรา ๔๐ เมื่อไดชําระบัญชีแลว ถามีทรัพยสินเหลืออยูเทาใดจะแบงใหแกสมาชิกของ
สมาคมการคา ไมไ ด ทรัพยสินทั้งนน้ั จะตอ งโอนไปใหแ กน ติ ิบุคคลอ่นื ทม่ี ีวตั ถุทปี่ ระสงคเ กี่ยวกับการกุศล
สาธารณะตามทร่ี ะบุไวในขอบงั คับของสมาคมการคา หรือถาไมไดระบุไวก็ใหเปนไปตามมติของท่ีประชุมใหญ
วาจะโอนไปใหแกนิติบุคคลใดท่ีมีวัตถุท่ีประสงคเก่ียวกับการกุศลสาธารณะ ในกรณีนอกจากที่กลาวมาแลว
ใหท รพั ยสนิ ทีเ่ หลอื น้นั ตกเปนของรฐั

หมวด ๖
บทกาํ หนดโทษ

มาตรา ๔๑ ผใู ดฝาฝนมาตรา ๖ หรอื มาตรา ๘ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หนึ่งป หรือ
ปรับไมเ กินหนึง่ หมนื่ บาท หรือทัง้ จาํ ทั้งปรับ

มาตรา ๔๒ ผใู ดเปนสมาชกิ ของสมาคมการคา ทม่ี ไิ ดรบั อนุญาตตามมาตรา ๘ ตองระวาง
โทษปรับไมเกินสองพันบาท

*

มาตรา ๔๓ (ยกเลกิ )

มาตรา ๔๔ ผูใดฝา ฝนมาตรา ๑๕ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกินหน่ึงพันบาท และปรับอีก
ไมเ กินวันละหาสบิ บาทจนกวา จะไดจ ัดการแกไขใหถกู ตอง

มาตรา ๔๕ ผใู ดฝาฝนมาตรา ๑๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท และปรับอีก
ไมเกนิ วนั ละหาสบิ บาทจนกวาจะเลิกใช

มาตรา ๔๖ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนตามมาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๒๔
หรือไมป ฏิบัติตามมาตรา ๒๕ วรรคส่ี ตองระวางโทษปรับไมเ กนิ หนึ่งพนั บาท

* ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติสมาคมการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑

มาตรา ๔๗ สมาคมการคาใดไมยอมใหสมาชิกตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของสมาคม
การคา นน้ั ตามมาตรา ๒๐ ตองระวางโทษปรับไมเกนิ หนึง่ พนั บาท

มาตรา ๔๘ สมาคมการคาใดฝาฝนมาตรา ๒๒ หรือมาตรา ๒๓ ตองระวางโทษปรับ
ไมเกินหาหมื่นบาท

มาตรา ๔๙ กรรมการของสมาคมการคา ผใู ดฝา ฝนมาตรา ๒๒ หรอื กระทาํ การอันเปน
การผดิ วตั ถทุ ป่ี ระสงคของสมาคมการคา และการกระทาํ นน้ั เปนภัยตอเศรษฐกิจความมนั่ คงของประเทศ
หรอื ตอ ความสงบเรยี บรอยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน ตองระวางโทษปรบั ไมเกนิ สามหมื่นบาท

มาตรา ๕๐ สมาคมการคาใดฝา ฝน มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ หรือ
มาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกนิ หนงึ่ พันบาท

มาตรา ๕๑ ผใู ดไมป ฏิบตั ติ ามคําสัง่ ของนายทะเบียนตามมาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๔
วรรคหนึ่ง หรอื วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเ กนิ สองพันบาท

มาตรา ๕๒ ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๓ หรือยังขืนเปนกรรมการหรือสมาชิกของสมาคมการคา
ท่ีเลิกตามมาตรา ๓๗ หรือตามมาตรา ๕๕ วรรคสามแลว ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับ
ไมเกินสองหมน่ื บาท หรือทั้งจําทั้งปรบั

มาตรา ๕๓ สมาคมการคาใดฝา ฝน มาตรา ๓๗ วรรคสอง หรือไมป ฏิบตั ติ ามมาตรา ๓๙
ตอ งระวางโทษปรับไมเกินหนงึ่ พนั บาท

มาตรา ๕๔ ผใู ดฝา ฝน มาตรา ๔๐ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหนง่ึ ป หรอื ปรบั ไมเกนิ
หนึ่งหม่นื บาท หรือท้ังจาํ ท้ังปรบั

*

มาตรา ๕๔/๑ บรรดาความผดิ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ที ี่มีโทษปรับสถานเดียว ใหอธิบดี
กรมพัฒนาธุรกิจการคาหรือผูซึ่งอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคามอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบไดและ
เมือ่ ผูก ระทําความผดิ ไดช ําระคา ปรับตามทไี่ ดเ ปรยี บเทียบแลว ใหค ดีเปนอนั เลิกกันตามประมวลกฎหมาย
วธิ ีพิจารณาความอาญา

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๕๕ บรรดาสมาคมท่ีไดจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยอยูกอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ อันมีลักษณะหรือวัตถุท่ีประสงคอยางเดียวกับสมาคม
การคา หากประสงคจะเปนสมาคมการคาตามพระราชบัญญัตินี้ตองขออนุญาตเปนสมาคมการคาภายใน
กาํ หนดเกาสิบวนั นบั แตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเมื่อไดรับอนุญาตใหเปนสมาคมการคาตาม
พระราชบัญญัตินี้แลว ใหนายทะเบียนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยขีดช่ือสมาคมนั้น
ออกเสียจากทะเบียนสมาคม

* แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญัตสิ มาคมการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๒

บรรดาทรัพยสินและหนี้สินของสมาคมท่ีมีลักษณะหรือวัตถุที่ประสงคอยางเดียวกับ
สมาคมการคาท่ีไดรับอนุญาตและจดทะเบียนเปนสมาคมการคาตามพระราชบัญญัติน้ี ใหโอนมาเปน
ของสมาคมการคาทไ่ี ดจ ัดตง้ั ขน้ึ ใหม

ถาสมาคมท่ีมลี ักษณะหรือวัตถุทป่ี ระสงคอยา งเดยี วกับสมาคมการคาที่ไดจดทะเบยี นเปน
สมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมขออนุญาตเปนสมาคมการคาตามพระราชบัญญัตินี้
ภายในกําหนดเวลาดังกลาวในวรรคหน่ึง ใหถือวาเปนอันเลิก และใหนายทะเบียนสมาคมตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณชิ ยข ดี ชื่อสมาคมนนั้ ออกเสียจากทะเบียนสมาคม

ถาสมาคมไมพอใจในคําสั่งของนายทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยท่ี
ใหขีดช่ือออกจากทะเบียนสมาคมก็มีสิทธิอุทธรณคําสั่งน้ันได โดยย่ืนอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรี
ภายในกําหนดสิบหาวันนบั แตว ันทีไ่ ดรบั แจง คําสง่ั คําวนิ จิ ฉยั ของรฐั มนตรใี หเปนทสี่ ุด

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ถนอม กติ ตขิ จร
นายกรฐั มนตรี

คา ธรรมเนียม

(๑) คําขอ ฉบับละ ๒ บาท
(๒) ใบอนญุ าตสมาคมการคา ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท
(๓) ใบแทนใบอนญุ าตสมาคมการคา ฉบบั ละ ๕๐ บาท
(๔) การจดทะเบยี นแกไขหรือเพิม่ เตมิ
ครงั้ ละ ๕ บาท
ขอบังคบั หรอื การจดทะเบยี นตัง้ ครัง้ ละ ๕ บาท
หรือเปลี่ยนตวั กรรมการ
(๕) การขอตรวจหรือคัดเอกสาร ฉบบั ละ ๒๐ บาท
(๖) การขอใหค ดั และรบั รองสําเนา
เอกสาร

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากในเวลาน้ียังไมมีกฎหมาย
วาดวยสมาคมการคาโดยเฉพาะ สมาคมการคาตางๆ ท่ีมีอยูไดจดทะเบียนเปนสมาคมธรรมดาตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย แตวัตถุที่ประสงคและวิธีดําเนินการของสมาคมการคายอมแตกตางกับสมาคม
ธรรมดาเปนอันมาก และสมาคมการคายอมมีอิทธิพลสําคัญเก่ียวกับการคาและเศรษฐกิจของประเทศ
และอาจดาํ เนินกิจการอันทําใหเกิดความปนปวนแกตลาดการคาหรือตลาดการเงินท้ังในประเทศและนอก
ประเทศ หรอื กระทําการใดๆ อนั เปนการกระทบกระเทือนการครองชพี ของประชาชนได จงึ เปน การสมควร
ทจี่ ะแยกสมาคมการคาออกจากสมาคมธรรมดา และวางระเบียบในการจัดต้ัง กําหนดขอบเขตแหงวัตถุ
ทปี่ ระสงค วิธีดําเนินกิจการของสมาคมการคา และการควบคุมการดําเนินงานของสมาคมการคา ท้ังกําหนด
ขอหามมิใหสมาคมการคาดําเนินการใดๆ อันจะเปนผลกระทบกระเทือนการคา เศรษฐกิจหรือความ
มั่นคงของประเทศ ตลอดจนกําหนดวิธีการลงโทษสมาคมการคาเม่ือดําเนินการอันผิดกฎหมาย รวมทั้ง
การสั่งยบุ เลิกสมาคมการคา จึงเปน การสมควรที่จะตรากฎหมายวา ดวยสมาคมการคา ขึ้นโดยเฉพาะ


Click to View FlipBook Version