พระราชบัญญัติ
การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
พ.ศ. ๒๕๔๒
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒
เปน็ ปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปจั จบุ นั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรงุ กฎหมายว่าดว้ ยการประกอบธุรกิจของคนตา่ งดา้ ว
พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา
๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๕ และมาตรา ๕๐ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย บัญญตั ิให้กระทาไดโ้ ดยอาศัย
อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
มาตรา ๑ พระราชบัญญตั นิ ี้เรียกวา่ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกจิ ของคนต่างดา้ ว พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกาหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ
(๑) ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี ๒๘๑ ลงวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
(๒) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๒๑
(๓) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“คนตา่ งดา้ ว” หมายความว่า
(๑) บุคคลธรรมดาซง่ึ ไม่มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) นิตบิ คุ คลซง่ึ ไม่ได้จดทะเบยี นในประเทศไทย
(๓) นติ บิ ุคคลซ่งึ จดทะเบียนในประเทศไทย และมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) นิติบุคคล ซ่ึงมีหุ้นอันเป็นทุนต้ังแต่กึ่งหนึ่งของนิติบุคคลน้ันถือโดยบุคคลตาม (๑) หรือ (๒)
หรอื นิตบิ ุคคลซง่ึ มบี คุ คลตาม (๑) หรอื (๒) ลงทุนมมี ูลคา่ ตัง้ แตก่ ่ึงหนึ่งของทนุ ทงั้ หมดในนติ บิ ุคคลนั้น
-๒-
(ข) ห้างหุ้นส่วนจากัดหรือห้างหุ้นส่วนสามัญ ที่จดทะเบียน ซึ่งหุ้นส่วนผู้จัดการหรือผู้จัดการเป็น
บคุ คลตาม (๑)
(๔) นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย ซ่ึงมีหุ้นอันเป็นทุนตั้งแต่ก่ึงหนึ่งของนิติบุคคลนั้นถือโดย
บุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือนิติบุคคลซ่ึงมีบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ลงทุนมีมูลค่าตั้งแต่ก่ึงหน่ึงของทุน
ทัง้ หมดในนติ บิ ุคคลนน้ั
เพื่อประโยชน์แห่งคานิยามน้ีให้ถือวา่ หุ้นของบริษทั จากัดที่มีใบห้นุ ชนิดออกให้แก่ผู้ถือเป็นหุ้นของคน
ต่างดา้ ว เว้นแตจ่ ะไดม้ กี ฎกระทรวงกาหนดไว้เปน็ อยา่ งอน่ื
“ทุน” หมายความว่า ทนุ จดทะเบยี นของบริษัทจากดั หรอื ทุนชาระแลว้ ของบรษิ ทั มหาชนจากดั หรือ
เงินที่ผ้เู ปน็ หนุ้ ส่วนหรอื สมาชิกนามาลงหนุ้ ในห้างหุ้นส่วนหรือนิตบิ ุคคลนั้น
“ทุนข้ันต่า” หมายความว่า ทุนของคนต่างด้าวในกรณีท่ีคนต่างด้าวเป็นนิติบุคคลซ่ึงจดทะเบียนใน
ประเทศไทย และในกรณีท่ีคนต่างด้าวเป็นนิติบุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทยหรือเป็นบุคคลธรรมดาให้
หมายถงึ เงินตราตา่ งประเทศทค่ี นตา่ งด้าวนามาใช้เมื่อเร่มิ ตน้ ประกอบธุรกจิ ในประเทศไทย
“ธุรกิจ” หมายความว่า การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรมหัตถกรรม พาณิชยกรรม
การบริการ หรือกิจการอย่างอ่ืน อันเป็นการคา้
“ใบอนญุ าต” หมายความวา่ ใบอนญุ าตประกอบธรุ กิจ
“ผูร้ บั ใบอนุญาต” หมายความว่า คนต่างด้าวทีไ่ ด้รบั ใบอนญุ าต
“หนังสือรบั รอง” หมายความว่า หนังสือรบั รองการประกอบธรุ กจิ
“ผู้รับหนังสอื รับรอง” หมายความว่า คนตา่ งดา้ วท่ไี ดร้ บั หนงั สือรบั รอง
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนตา่ งดา้ ว
“พนกั งานเจ้าหน้าที่” หมายความวา่ ผ้ซู ง่ึ รัฐมนตรีแต่งตงั้ ให้ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญัติน้ี
“นายทะเบียน” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังให้เป็นนายทะเบียนการประกอบธุรกิจของคน
ต่างด้าว
“อธบิ ดี” หมายความวา่ อธิบดีกรมพัฒนาธรุ กิจการคา้ *
“รฐั มนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ การอนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พิจารณาโดยคานึงถึง
ผลดีและ ผลเสียต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ความ
สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศิลปวัฒนธรรมและจารีตประเพณีของประเทศ การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ การพลังงานและการรักษาสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค ขนาดของกิจการ การจ้าง
แรงงาน การถา่ ยทอดเทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา
มาตรา ๖ คนตา่ งดา้ วต่อไปนี้ ห้ามประกอบธุรกจิ ในราชอาณาจักร
(๑) คนตา่ งด้าวท่ถี ูกเนรเทศหรอื รอการเนรเทศตามกฎหมาย
-๓-
(๒) คนตา่ งด้าวที่เข้ามาอยู่ในราชอาณาจกั รโดยไม่ได้รบั อนญุ าตตามกฎหมาย ว่าด้วยคนเข้าเมอื งหรือ
กฎหมายอนื่
มาตรา ๗ คนต่างด้าวต่อไปนี้ จะประกอบธุรกิจได้เมื่อได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี และจะประกอบ
ธรุ กิจได้เฉพาะประเภทธุรกิจและในท้องท่ีท่ีรัฐมนตรีประกาศ กาหนดโดยการอนมุ ัติของคณะรัฐมนตรีโดยประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา ในประกาศดังกลา่ วรฐั มนตรจี ะกาหนดเงอ่ื นไขอยา่ งใดไว้กไ็ ด้ตามที่เห็นสมควร
(๑) คนต่างด้าวท่ีเกิดในราชอาณาจักร แต่ไม่ได้รับสัญชาติไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติหรือตาม
กฎหมายอื่น
(๒) คนต่างด้าวโดยผลของการถกู ถอนสญั ชาติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสัญชาติหรอื ตามกฎหมายอื่น
การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และระยะเวลาการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วธิ ีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีท่ีอธิบดีไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวตามวรรคหน่ึงประกอบธุรกิจ คนต่างด้าวนั้นมี สิทธิอุทธรณ์
ต่อรัฐมนตรไี ด้ และใหน้ าความในมาตรา ๒๐ วรรคหน่ึง และวรรคสาม มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม
[ดูกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และระยะเวลา
การอนญุ าต ให้ประกอบธุรกจิ ของคนตา่ งดา้ วตามมาตรา ๗ พ.ศ. ๒๕๔๖]
มาตรา ๘ ภายใตบ้ ังคบั มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๒
(๑) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่ไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบกิจการ ด้วยเหตุผลพิเศษ
ตามทก่ี าหนดไว้ในบัญชีหน่ึง
(๒) หา้ มมิให้คนต่างด้าวประกอบธรุ กิจที่เกี่ยวกับความปลอดภยั หรอื ความม่ันคงของประเทศธุรกิจท่ี
มีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพื้นบ้าน หรือธุรกิจที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
หรอื สิ่งแวดลอ้ ม ตามท่ีกาหนดไว้ในบญั ชสี อง เวน้ แตจ่ ะได้รับอนุญาตจากรฐั มนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี
(๓) ห้ามมิให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจที่คนไทยยังไม่มี ความพร้อมที่จะแข่งขันในการประกอบกิจการ
กับคนต่างดา้ ว ตามท่ีกาหนดไว้ในบัญชสี าม เว้นแตจ่ ะได้รับอนญุ าตจากอธบิ ดโี ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
มาตรา ๙ การปรับปรุงหรือแก้ไขประเภทธุรกิจตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติน้ีให้ทาเป็นพระราช
กฤษฎีกา เว้นแตธ่ รุ กจิ ตามบัญชหี น่งึ หรือตามบญั ชสี อง หมวด ๑ ให้ทาเปน็ พระราชบญั ญตั ิ
ให้คณะกรรมการพิจารณาทบทวนประเภทธุรกิจตามบัญชีท้าย พระราชบัญญัติน้ีอย่างน้อยครั้งหน่ึง
ในทกุ รอบระยะเวลาหนึ่งปนี บั แตว่ นั ทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ้มี ผี ลใชบ้ ังคบั แล้วทาความเหน็ เสนอรัฐมนตรี
คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจที่มิได้กาหนดไว้ในบัญชที ้าย พระราชบัญญัติน้ีอยกู่ ่อนการปรับปรุงหรือแก้ไข
ประเภทธุรกิจตามวรรคหน่ึง หากต่อมาธุรกิจนั้นเป็นธุรกิจท่ีต้องขออนุญาตตามพระราชบัญญัติน้ีและคนต่างด้าวน้ัน
ประสงค์จะประกอบธุรกิจน้ันต่อไป ให้ดาเนินการแจ้งต่ออธิบดีเพื่อขอหนังสือรับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กาหนดในมาตรา ๑๑
-๔-
ในระหว่างระยะเวลาที่ปฏิบัติตามวรรคสามและยังไม่ได้รับหนังสือรับรอง มิให้ถือว่าคนต่างด้าวนั้น
เป็นผปู้ ระกอบธุรกิจโดยมิไดร้ ับอนญุ าตตามพระราชบัญญตั ิน้ี
มาตรา ๑๐ บทบัญญัติมาตรา ๕ มาตรา ๘ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๘ ไม่ใช้บังคับแก่
คนต่างด้าวที่ ประกอบธุรกิจตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้โดยได้รับอนุญาตจากรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไท ย
เป็นการเฉพาะกาล
คนต่างด้าวที่ประกอบธุรกิจตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติน้ี โดยสนธิสัญญาท่ีประเทศไทยเป็นภาคี
หรือมีความผูกพันตามพันธกรณี ให้ได้รับยกเว้นจากการบังคับใช้บทบัญญัติแห่งมาตราต่างๆ ตามที่กาหนดไว้ใน
วรรคหน่ึง และให้เป็นไปตามบทบัญญัติและเง่ือนไขของสนธิสัญญาน้ัน ซึ่งอาจรวมถึง การให้สิทธิคนไทยและ
วิสาหกจิ ของคนไทยเข้าไปประกอบธรุ กจิ ในประเทศสญั ชาตขิ องคนต่างด้าวนน้ั เป็นการต่างตอบแทนดว้ ย
มาตรา ๑๑ คนต่างด้าว ตามมาตรา ๑๐ หากประสงค์จะประกอบธุรกิจตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้
ให้แจ้งตอ่ อธิบดีตามหลักเกณฑ์และวิธีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวงเพื่อขอหนังสือรับรองและ ให้อธบิ ดีออกหนังสือ
รับรองให้คนตา่ งดา้ วนนั้ โดยเรว็ แต่ต้องไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับหนังสือแจง้ จากคนตา่ งด้าว เว้นแตอ่ ธิบดี
เหน็ วา่ การแจ้งมิไดเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง หรอื กรณีไม่เป็นไปตามมาตรา ๑๐ให้
อธิบดีแจง้ แก่คนตา่ งดา้ วน้ันทราบโดยเรว็ แต่ตอ้ งไม่เกินสามสิบวนั นับแต่วนั ทไ่ี ดร้ ับหนงั สอื แจ้งจากคนต่างด้าว
หนังสอื รบั รองตอ้ งระบุเงอ่ื นไขตามที่รัฐบาลกาหนดหรือตามที่กาหนดในสนธสิ ญั ญาดว้ ย
[ดูกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งเพื่อขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของ
คนตา่ งด้าว พ.ศ. ๒๕๔๖]
มาตรา ๑๒ ในกรณี ที่ธุรกิจของคนต่างด้าวซ่ึงได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่งเสริมการลงทุน หรือได้รับอนุญาตเป็นหนังสือให้ประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบการค้าเพื่อส่งออกตาม
กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือตามกฎหมายอ่ืน เป็นธุรกจิ ตามบัญชีสองหรอื บัญชีสาม
ท้ายพระราชบัญญัติน้ี ให้คนต่างด้าวดังกล่าวแจ้งต่ออธิบดีเพ่ือขอหนังสือรับรอง เมื่ออธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ี
ที่ได้รับมอบหมายตรวจสอบความถกู ตอ้ งของบัตรส่งเสริมการลงทนุ หรอื หนังสืออนุญาตดังกลา่ วแลว้ ใหอ้ ธบิ ดีออก
หนังสือรับรองโดยเร็ว แต่ต้องไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับแจ้งการได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนหรือหนังสือ
อนุญาต แล้วแต่กรณี ในกรณีน้ีให้คนต่างด้าวดังกล่าวนั้น ได้รับยกเว้นจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติน้ี เว้นแต่
มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๒ ตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจนั้นได้รับการส่งเสริมการ
ลงทนุ หรือได้รบั อนญุ าตใหป้ ระกอบอตุ สาหกรรมหรอื ประกอบการค้าเพอื่ สง่ ออก แลว้ แต่กรณี
การออกหนังสือรบั รองตามวรรคหน่งึ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทอี่ ธิบดกี าหนด
[ดปู ระกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เร่ือง กาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกหนังสือรับรอง
การประกอบธรุ กจิ ของคนตา่ งดา้ วตามมาตรา ๑๒ พ.ศ. ๒๕๔๖]
-๕-
มาตรา ๑๓ ในกรณีท่มี ีกฎหมายอื่นกาหนดเรอ่ื งการถอื ห้นุ การเป็นหุ้นส่วนหรือการลงทนุ ของคนต่าง
ด้าว การอนุญาตหรือการห้ามคนต่างด้าวในการประกอบธุรกิจบางประเภทหรือกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการ
ประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวไว้เป็นประการใด ให้ใช้บังคับ ตามกฎหมายดังกล่าวและมิให้นาความใน
พระราชบัญญัตนิ ไี้ ปใชบ้ ังคบั ในสว่ นท่มี กี ฎหมายอื่นกาหนดไวเ้ ปน็ การเฉพาะแล้ว
มาตรา ๑๔ ทนุ ขนั้ ตา่ ทค่ี นต่างด้าวใช้ในการเร่มิ ตน้ ประกอบธุรกิจในประเทศไทย ต้องมีจานวนไมน่ ้อย
กว่าทกี่ าหนดในกฎกระทรวงแต่ตอ้ งไม่น้อยกว่าสองลา้ นบาท
ในกรณีการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวในวรรคแรกเป็นธุรกิจที่ต้องได้รับอนุญาตบัญชีท้าย
พระราชบัญญัตินี้ ทนุ ข้นั ต่าทก่ี าหนดในกฎกระทรวงสาหรับแตล่ ะธรุ กจิ ต้องไม่น้อยกวา่ สามล้านบาท
กฎกระทรวงท่ีออกตามบทบัญญัติมาตรานี้ อาจกาหนดระยะเวลาทุนข้ันต่าทตี่ ้องนาหรือส่งเข้ามาใน
ประเทศไทยไว้ด้วยก็ได้
ความในมาตรานี้ไม่ใช้บังคับกับกรณีท่ีคนต่างด้าวนาเงินหรือทรัพย์สินอันเกิดจากรายได้ที่ได้มาจาก
การประกอบธุรกิจเดิมที่เร่ิมดาเนินการมาก่อนแล้วในประเทศไทยไปเร่ิมประกอบธุรกิจรายอ่ืน หรือนาไปลงหุ้น
หรอื ลงทนุ ในกจิ การหรอื ในนิตบิ ุคคลอน่ื
[ดกู ฎกระทรวงกําหนดทนุ ขั้นตาํ่ และระยะเวลาในการนาํ หรือสงทุนขน้ั ตํ่าเขามาในประเทศไทย พ.ศ.๒๕๖๒]
มาตรา ๑๕ คนต่างด้าวจะประกอบธุรกจิ ตามบญั ชีสองได้จะต้องมีคนไทยหรอื นิติบุคคลที่ มใิ ช่คนต่าง
ด้าวตามพระราชบัญญัตินี้ถือหุ้นอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบของทุนของคนต่างด้าวที่เป็นนิติบุคคลนั้น เว้นแต่จะมี
เหตุสมควร รัฐมนตรีโดยการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีอาจผ่อนผันสัดส่วนในเรื่องดังกล่าวให้น้อยลงได้ แต่ต้องไม่
นอ้ ยกว่าร้อยละยสี่ บิ ห้า และตอ้ งมกี รรมการทีเ่ ปน็ คนไทยไม่น้อยกวา่ สองในห้าของจานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา ๑๖ คนตา่ งด้าวซงึ่ จะขอรับใบอนญุ าตได้ต้องมคี ุณสมบัติและไมม่ ีลักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้
(๑) มอี ายไุ ม่ตา่ กว่ายี่สิบปีบริบรู ณ์
(๒) มีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรหรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราวตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมอื ง
(๓) ไมเ่ ปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๕) ไม่เคยต้องโทษตามคาพิพากษาหรือถูกเปรียบเทียบปรับในความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ
ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ เว้นแตพ่ ้นโทษมาแลว้ ไม่น้อยกว่า
ห้าปีกอ่ นวนั ขอรับใบอนุญาต
-๖-
(๖) ไมเ่ คยต้องโทษจาคกุ ตามคาพิพากษาในความผดิ ฐานฉ้อโกง โกงเจ้าหน้ี ยักยอก ความผิดเกี่ยวกับ
การค้าตามประมวลกฎหมายอาญาหรือในความผิดตามกฎหมายวา่ ด้วยการกู้ยืมเงนิ ทเ่ี ป็นการฉ้อโกงประชาชนหรือ
ในความผดิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยคนเขา้ เมือง เวน้ แต่พ้นโทษมาแลว้ ไม่น้อยกว่าหา้ ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
(๗) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติน้ี หรือตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่
๒๘๑ ลงวนั ที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ในระยะเวลาห้าปกี อ่ นวนั ขอรับใบอนญุ าต
ในกรณีนิติบุคคลเป็นผู้ขอรับใบอนุญาต กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้รับผิดชอบในการดาเนินการของ
นิตบิ คุ คลนั้นทเี่ ปน็ คนต่างด้าวตอ้ งมีคุณสมบัติ และไมม่ ลี ักษณะต้องหา้ มดังกล่าวในวรรคหน่งึ ดว้ ย
มาตรา ๑๗ ในการขออนุญาตประกอบธุรกิจ ให้คนต่างด้าวยื่นคาขออนุญาตประกอบธุรกิจต่อรัฐมนตรี
หรืออธิบดีตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง และให้คณะรัฐมนตรีในกรณีธุรกิจตามบัญชีสอง
หรืออธิบดีในกรณีธุรกิจตามบัญชีสามพิจารณาอนุมัติหรืออนุญาต แล้วแต่กรณี ให้แล้วเสร็จภายในกาหนดหกสิบวัน
นับแต่วันที่ย่ืนคาขอ ในกรณีการพิจารณาอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีเหตุจาเป็น ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไม่อาจพิจารณา
ให้แลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาดงั กล่าวได้ ใหข้ ยายระยะเวลาการพิจารณาออกไปอีกไดต้ ามความจาเปน็ แต่ท้งั น้ตี อ้ ง
ไมเ่ กนิ หกสบิ วนั นบั แต่วนั ครบกาหนดเวลาดังกล่าว
เมื่อคณะรัฐมนตรีให้การอนุมัติหรืออธิบดีอนุญาตตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้รัฐมนตรีหรืออธิบดีออก
ใบอนุญาตภายในสิบหา้ วนั นับแตว่ ันทค่ี ณะรฐั มนตรอี นุมตั หิ รอื อธบิ ดีอนญุ าต
ในการอนุญาต รัฐมนตรีจะกาหนดเงื่อนไขตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด หรือตามที่กาหนดไว้ใน
กฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๑๘ สาหรับกรณีธุรกิจตามบัญชีสอง หรืออธิบดีจะกาหนดเง่ือนไขตามที่
กาหนดไวใ้ นกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๑๘ สาหรบั กรณธี รุ กจิ ตามบญั ชีสาม กไ็ ด้
ในกรณีทค่ี ณะรัฐมนตรีไม่อนุมัติให้คนต่างดา้ วประกอบธุรกิจ ตามบัญชีสองให้รัฐมนตรีแจ้งการไม่อนุมัติ
ใหค้ นตา่ งด้าวนั้นทราบเปน็ หนังสือภายในสามสิบวนั และใหร้ ะบุเหตทุ ไี่ ม่ใหก้ ารอนมุ ัตนิ ัน้ ไวโ้ ดยชัดแจง้
ในกรณีที่อธิบดีไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวประกอบธุรกิจตามบัญชีสาม ให้อธิบดีแจ้งการไม่อนุญาตให้
คนต่างด้าวนั้นทราบเป็นหนังสือภายในสิบห้าวัน และให้ระบุเหตุท่ีไม่ให้การอนุญาตน้ันไว้โดยชัดแจ้ง คนต่างด้าว
น้นั มีสิทธอิ ทุ ธรณค์ าสั่งไมอ่ นญุ าตตอ่ รัฐมนตรีได้ และให้นาความในมาตรา ๒๐ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม
[ดกู ฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารในการขออนุญาตประกอบธุรกจิ ตามมาตรา ๑๗ พ.ศ. ๒๕๔๖]
มาตรา ๑๘ รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดเงื่อนไขหนึ่ง
เงื่อนไขใดให้คนตา่ งดา้ วผรู้ ับใบอนุญาตต้องปฏบิ ัติ ดังต่อไปน้ี
(๑) อัตราส่วนทุนกบั เงนิ กทู้ ่จี ะใช้ในการประกอบธุรกจิ ทไ่ี ด้รบั อนญุ าต
[ดูกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๒๘๑ ลง
วนั ท่ี ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕]
(๒) จานวนกรรมการที่เป็นคนต่างด้าวซึ่งจะต้องมภี ูมิลาเนาหรือทอ่ี ยใู่ นราชอาณาจักร
-๗-
(๓) จานวนและระยะเวลาการดารงไว้ซง่ึ ทุนข้ันตา่ ภายในประเทศ
(๔) เทคโนโลยีหรอื ทรัพย์สิน
(๕) เง่อื นไขอื่นท่ีจาเป็น
มาตรา ๑๙ เมื่อปรากฏว่าผู้รับใบอนญุ าตหรือผรู้ บั หนงั สอื รับรองผใู้ ด
(๑) ฝา่ ฝนื เง่ือนไขที่รัฐมนตรีกาหนดตามมาตรา ๗ วรรคหนงึ่
(๒) ไมป่ ฏิบัตติ ามเง่ือนไขทีก่ าหนดตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๗ วรรคสาม
(๓) ฝา่ ฝืนมาตรา ๑๕
(๔) ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๖
(๕) กระทาความผดิ ตามมาตรา ๓๕
ในกรณีตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้อธิบดมี ีหนังสอื แจ้ง ให้ผรู้ ับใบอนุญาตหรอื ผู้รบั หนงั สอื รับรองปฏิบัติ
ตามเง่ือนไขตามมาตรา ๗ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๑ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๗ วรรคสาม หรือปฏิบัติให้ถูกต้องตาม
มาตรา ๑๕ แล้วแต่กรณี ภายในเวลาท่ีอธิบดีเห็นสมควร ถ้าผู้รับใบอนุญาตหรือหนังสือ รับรองไม่ปฏิบัติตามท่ี
อธิบดีมีหนังสือแจ้งดังกล่าวโดยไม่มีเหตุสมควร ให้อธิบดีมีอานาจส่ังพักการใช้ใบอนุญาตช่ัวคราวหรือสั่งระงับการ
ประกอบธุรกิจช่ัวคราว ได้ในระยะเวลาที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันมีคาส่ัง เมื่อครบกาหนด
ระยะเวลาดังกล่าวแล้วคนต่างด้าวยังมิได้ดาเนินการให้ถูกต้องครบถ้วน ให้อธิบดีพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
หรือหนังสือรบั รองดงั กล่าวหรอื เสนอรัฐมนตรี เพ่อื พจิ ารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาต แล้วแตก่ รณี
ในกรณีตาม (๔) และ (๕) ให้อธิบดีพิจารณาส่ังเพิกถอน ใบอนุญาตหรือเสนอรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา
สง่ั เพกิ ถอนใบอนญุ าตแล้วแต่กรณี
มาตรา ๒๐ ในกรณีท่ีอธิบดีสั่งพักการใช้ใบอนุญาตช่ัวคราวหรือส่ังระงับการประกอบธุรกิจช่ัวคราว
หรือส่ังเพิกถอนใบอนญุ าตหรอื หนังสือรับรอง ตามมาตรา ๑๙ วรรคสอง ให้ผู้รบั ใบอนุญาตหรือผู้รับหนังสือรับรอง
มีสทิ ธอิ ุทธรณโ์ ดยทาเป็นหนังสอื ยนื่ ต่อรัฐมนตรีภายในสามสบิ วนั นบั แต่วันท่ไี ดร้ ับแจ้งคาสัง่
การอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคาสั่งอธิบดี เว้นแต่รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ
คณะกรรมการจะสัง่ ทุเลาให้
รัฐมนตรีต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ย่ืนอุทธรณ์คาวินิจฉัยของ
รฐั มนตรใี ห้เป็นท่ีสดุ
มาตรา ๒๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๗ มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ ใบอนุญาตให้ใช้ได้ตลอดไปจนกว่า
ผู้รับใบอนุญาตจะเลิกประกอบธุรกิจที่ได้รับอนุญาต สาหรับหนังสือรับรองให้ใช้ได้เท่าระยะเวลาที่ได้รับอนุญาต
จากรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามท่ีสนธิสัญญากาหนดให้ประกอบธุรกิจนั้นหรือตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจ
นั้น ได้รับการส่งเสริมการลงทุนหรือได้รับอนุญาตให้ประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบการค้าเพ่ือการส่งออก
-๘-
แลว้ แต่กรณี เว้นแตผ่ ไู้ ด้รบั หนังสือรับรองเลิกประกอบธุรกิจทไ่ี ด้รบั อนุญาตก่อนครบกาหนดระยะเวลาดังกลา่ วก็ให้
หนงั สือรบั รองใชไ้ ดเ้ พียงนนั้
ผ้รู ับใบอนุญาตหรือผู้รับหนังสือรับรองต้องแสดงใบอนุญาตหรือหนังสอื รับรองดังกล่าวไว้ ณ สถานท่ี
ประกอบธรุ กจิ ของตนในท่เี ปดิ เผย
ถ้าใบอนุญาตหรอื หนังสอื รับรองชารุดหรอื สูญหาย ให้ยนื่ คาขอรับใบแทน ต่อนายทะเบียนภายในสิบ
หา้ วนั นับแต่วนั ท่ีทราบการชารุดหรอื สญู หาย
การขอและการออกใบแทนใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่รัฐมนตรี
กาหนด แต่ระยะเวลาในการออกใบแทนต้องไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับคาขอ และให้ถือว่าใบแทนนั้นเป็น
เอกสารท่ใี ช้แทนใบอนุญาตหรอื หนังสอื รับรองได้จนกว่าจะไดร้ ับใบอนุญาตหรือหนงั สือรับรองใหม่
[ดูประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรือ่ ง กาหนดแบบและวิธีการในการขอและออกใบแทน ใบอนุญาตหรือ
หนงั สอื รับรองการประกอบธรุ กจิ ของคนตา่ งดา้ ว ตามมาตรา ๒๑ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙]
มาตรา ๒๒ เมื่อผรู้ บั ใบอนญุ าต ผรู้ ับหนังสือรับรองเลิกประกอบธุรกิจ หรอื ย้ายสานกั งานหรือสถานที่
ประกอบธุรกิจ ให้แจ้งการเลิกหรือย้ายต่อนายทะเบียนภายในสิบห้าวันนับแต่วันเลิกหรือวันย้ายนั้นตามแบบและ
วธิ ีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
[ดูกฎกระทรวงกาหนดแบบและวิธีการแจ้งการเลิกประกอบธุรกิจหรือย้ายสานักงานหรือสถานที่
ประกอบธรุ กิจ (ฉบับรวมลา่ สุด)]
มาตรา ๒๓ ให้มีคณะกรรมการการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ประกอบด้วยปลัดกระทรวง
พาณิชย์ เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผแู้ ทนกระทรวงการคลัง ผ้แู ทนกระทรวงการ
ต่างประเทศ ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงคมนาคม ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทน
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ผู้แทนกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม ผู้แทนกระทรวง
อุตสาหกรรม ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ผู้บริโภค ผู้แทนสานักงานตารวจแห่งชาติ ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย ผู้แทนสมาคมธนาคารไทยและผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังอีกไม่เกินห้าคนเป็นกรรมการ และให้
อธิบดกี รมทะเบยี นการค้าเปน็ กรรมการและเลขานุการ
ผู้ทรงคุณวุฒิต้องเป็นผู้มีความรู้ความชานาญในด้านเศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ พาณิชยศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การค้า การลงทุน การบริหารธุรกิจ หรือการอุตสาหกรรม และต้อง
ไม่เป็นที่ปรกึ ษาพรรคการเมืองหรอื ดารงตาแหน่งทางการเมือง
-๙-
ผแู้ ทนตามวรรคหนง่ึ ในกรณที ี่เป็นผ้แู ทนของสว่ นราชการ ผู้แทนนน้ั จะต้องมีตาแหน่งไมต่ ่ากว่าอธบิ ดี
หรือเทียบเท่า และในกรณีที่เป็นผู้แทนของสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้แทนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
หรือผแู้ ทนของสมาคมธนาคารไทย ผู้แทนนัน้ จะต้องมีตาแหน่งไมต่ า่ กว่ากรรมการของสภาหรือสมาคมนน้ั
มาตรา ๒๔ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ มิ ีวาระอยใู่ นตาแหน่งคราวละสองปี
ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนครบวาระ หรือในกรณีท่ีรัฐมนตรีแต่งต้ังกรรมการเพ่ิมข้ึนใน
ระหว่างที่กรรมการซึ่งแตง่ ตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งตง้ั ดารงตาแหน่งแทนหรอื เป็นกรรมการ
เพิ่มข้นึ อยู่ในตาแหนง่ เท่ากบั วาระท่เี หลืออยขู่ องกรรมการซึ่งได้แต่งต้ังไว้แล้ว
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่งอาจได้รับการแต่งต้ังอีกได้ แต่จะดารงตาแหน่งติดต่อกัน
เกินสองวาระไม่ได้
มาตรา ๒๕ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก
ตาแหนง่ เมอื่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีให้ออกเพราะมีความประพฤติเส่ือมเสีย ไม่สุจริตหรือบกพร่องต่อหน้าท่ี หรือหย่อน
ความสามารถ
(๔) เปน็ บคุ คลล้มละลาย
(๕) เปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ
(๖) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดย
ประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(๗) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มีลักษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๒๓ วรรคสอง
มาตรา ๒๖ คณะกรรมการมีอานาจหน้าท่ีตามที่กาหนดไว้ในพระราชบญั ญัติน้ีและใหม้ หี น้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ให้คาปรึกษา เสนอแนะ หรอื ให้ความเห็นแก่รฐั มนตรี ในเร่ืองการตราพระราชกฤษฎีกาและการ
ออกกฎกระทรวงตามพระราชบญั ญัตนิ ห้ี รอื การกาหนดประเภทธุรกจิ และทอ้ งทปี่ ระกอบธรุ กจิ ของคนตา่ งดา้ วตาม
มาตรา ๗ หรอื การขออนุมัตจิ ากคณะรัฐมนตรีตามมาตรา ๘ (๒)
(๒) ศึกษา รวบรวม และจัดทารายงานเก่ียวกับการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ในราชอาณาจักร
รวมถึงผลกระทบและความเหมาะสมในเรือ่ งดังกล่าวเสนอต่อรัฐมนตรเี ป็นคร้ังคราว แตต่ ้องไมน่ อ้ ยกว่าปีละหนึ่งครงั้
(๓) ให้คาปรกึ ษา เสนอแนะ หรอื ให้ความเหน็ แก่รฐั มนตรใี นเรือ่ งอื่นๆ ตามทร่ี ัฐมนตรีมอบหมาย
- ๑๐ -
มาตรา ๒๗ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจานวน
กรรมการท้ังหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไมอ่ าจปฏิบัติหน้าท่ีได้ให้ กรรมการ
ที่มาประชมุ เลอื กกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในทปี่ ระชมุ
การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน
ถ้าคะแนนเสยี งเท่ากันให้ ประธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพม่ิ ขึ้นอีกหนง่ึ เสยี งเป็นเสียงช้ีขาด
มาตรา ๒๘ ให้คณะกรรมการมีอานาจแต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการเพ่ือพจิ ารณาหรือปฏิบตั ิการอย่างหนึ่ง
อย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และใหน้ ามาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแกก่ ารประชุมของคณะอนกุ รรมการโดย
อนุโลม
มาตรา ๒๙ ใหก้ รมทะเบียนการคา้ กระทรวงพาณชิ ย์ ทาหน้าทเ่ี ปน็ สานักงานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ
โดยใหม้ ีอานาจหน้าที่ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ปฏิบัตงิ านตามมตขิ องคณะกรรมการหรอื ตามทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย
(๒) พิจารณาเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวในราชอาณาจักร
เพือ่ ประโยชน์ในการศึกษา รวบรวมขอ้ มูลและจดั ทารายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรี
(๓) ปฏบิ ตั ิงานธุรการท่วั ไปของคณะกรรมการ
มาตรา ๓๐ ใหน้ ายทะเบยี นและพนกั งานเจ้าหน้าทีม่ อี านาจ
(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริง รวมท้ังให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานท่ีมี
ความจาเป็นต่อการตรวจสอบข้อเทจ็ จริง
(๒) เข้าไปในสถานที่ท่ีคนต่างด้าวประกอบธุรกิจใน ระหว่างเวลาทาการเพื่อตรวจสอบให้การเป็นไป
ตามพระราชบัญญัตินี้โดยต้องได้รับความเห็นชอบเป็นหนังสือจากอธิบดีก่อน เว้นแต่กรณีมีเหตุฉุกเฉินจาเป็น
อย่างยิ่ง ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ให้มีอานาจสอบถาม ข้อเท็จจริงหรือเรียกตรวจสอบเอกสารหรือหลักฐาน
ใด ๆ ที่จาเปน็ อยา่ งย่งิ ต่อการตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ จากบุคคลที่อยู่ในสถานที่ดงั กลา่ วได้
ในการปฏิบัติหน้าท่ีตาม (๒) ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่อานวย ความสะดวกแก่นายทะเบียน
หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามสมควร นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องไม่กระทาการอันมีลักษณะเป็นการ
ข่มขู่หรือเป็น การตรวจค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและต้องมีหนังสือบอกกล่าวแก่ เจ้าของ
หรือผู้ครอบครองสถานท่ีล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวันทาการ เว้นแต่กรณีมีเหตุฉุกเฉินจาเป็นอย่างยิ่ง และเมื่อเสร็จ
ส้นิ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ลว้ ให้รายงานรัฐมนตรีทราบผลการปฏบิ ัติหนา้ ที่เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรโดยเรว็
มาตรา ๓๑ ผู้ใดขอตรวจหรือขอคัดสาเนาเอกสารหรือขอให้นายทะเบียนคัดสาเนาหรือถ่ายเอกสาร
พร้อมท้ังคารับรองหรือขอให้ออกหนังสือรับรองข้อความท่ีนายทะเบียนเก็บรักษาไว้ให้นายทะเบียนดาเนินการ
- ๑๑ -
อนุญาตโดยเร็ว เว้นแต่เอกสารนั้นมีลักษณะต้องห้ามมิให้เปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ
หรือกฎหมายอน่ื โดยผ้ขู อต้องเสียค่าธรรมเนยี มตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
[ดกู ฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนยี มการประกอบธรุ กจิ ของคนตา่ งด้าว พ.ศ. ๒๕๔๔]
มาตรา ๓๒ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องมีบัตรประจาตัวตามแบบที่กาหนดในกฎกระทรวงในการปฏิบัติการ
ตามหนา้ ท่ี พนักงานเจา้ หน้าท่ีต้องแสดงบตั รประจาตวั ตอ่ บคุ คลซ่งึ เกี่ยวข้อง
[ดูกฎกระทรวงกาหนดแบบบัตรประจาตัวพนักงานเจา้ หน้าที่ พ.ศ. ๒๕๔๔]
มาตรา ๓๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการ อธิบดี นายทะเบียน และ
พนักงานเจ้าหน้าท่ีเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๓๔ คนต่างด้าวซึ่งได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองผู้ใดถูกสั่งพักใช้หรือถูกเพิกถอน
ใบอนุญาต หรือถูกสั่งระงับการประกอบธรุ กิจตามหนังสอื รับรองและหมดสิทธิอุทธรณ์ หรือรัฐมนตรีมีคาวินิจฉัย
เป็นที่สดุ ให้พักใช้หรอื เพิกถอนใบอนุญาตหรือให้ระงับการประกอบุรกิจแล้ว แต่คนตา่ งดา้ วน้ันยงั คงประกอบธุรกิจ
นั้นต่อไป ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับตั้งแต่หน่ึงแสนบาทถึงหน่ึงล้านบาท หรือท้ังจาท้ังปรับ และ
ปรับอกี วันละหนึ่งหมน่ื บาทตลอดเวลาทยี่ งั ฝ่าฝืนอยู่
มาตรา ๓๕ คนต่างด้าวซ่ึงได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจใดตามพระราชบัญญัติน้ี หากร่วมทาธุรกิจ
อันเป็นของคนต่างด้าวรายอ่ืนซึ่งมิได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามพระราชบัญญัติน้ี หรือประกอบธุรกิจที่คน
ต่างด้าวรายอ่ืนนั้นเป็นเจ้าของร่วมโดยแสดงออกว่าเป็นธุรกิจของตนแต่ผู้เดียว เพ่ือให้คนต่างด้าวรายอ่ืนน้ันหลีกเลี่ยง
หรือฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับต้ังแต่หนึ่งแสนบาทถึง
หนึ่งล้านบาท หรือท้ังจาท้ังปรับ และให้ศาลสั่งเลิกการร่วมทาธุรกิจหรือการประกอบธุรกิจน้ันเสีย หากฝ่าฝืน
ไมป่ ฏบิ ัติตามคาส่ังศาลต้องระวางโทษปรับวนั ละหน่ึงหมน่ื บาทถึงหา้ หม่ืนบาทตลอดเวลาทย่ี ังฝ่าฝนื อยู่
มาตรา ๓๖ ผู้มีสัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่มิใช่คนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติน้ี ให้ความช่วยเหลือ
หรือสนับสนุน หรือร่วมประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว อันเป็นธุรกิจท่ีกาหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบัญญัติน้ี โดย
คนต่างด้าวนั้นมิได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าว หรือร่วมประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวโดยแสดงออกว่า
เป็นธรุ กจิ ของตนแต่ผู้เดียวหรือถือหุ้นแทนคนตา่ งด้าวในห้างหุ้นสว่ นหรือบริษัทจากัด หรอื นิติบุคคลใดๆ เพื่อให้คน
ต่างดา้ วประกอบธุรกิจโดยหลีกเลี่ยงหรอื ฝา่ ฝืนบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตินี้ รวมทงั้ คนต่างด้าวซ่ึงยินยอมให้ผู้มี
สัญชาติไทยหรือนิติบุคคลที่มิใช่คนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติน้ีกระทาการดังกล่าว ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
สามปี หรอื ปรับตั้งแต่หน่ึงแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ และให้ศาลสั่งให้เลิกการให้ความช่วยเหลือ
หรอื สนับสนุน หรือสงั่ ใหเ้ ลิกการรว่ มประกอบธุรกจิ หรอื ส่งั ให้เลิกการถือหนุ้ หรือการเป็นหุ้นส่วนน้นั เสีย แลว้ แต่กรณี
หากฝ่าฝืนไมป่ ฏิบัติตามคาส่งั ศาลต้องระวางโทษปรับวันละหนงึ่ หมนื่ บาทถงึ หา้ หมน่ื บาทตลอดเวลาที่ยงั ฝ่าฝืนอยู่
- ๑๒ -
มาตรา ๓๗ คนต่างด้าวผู้ใดประกอบธุรกิจโดยฝ่าฝืนมาตรา ๖ มาตรา ๗ หรือมาตรา ๘ ต้องระวาง
โทษจาคุกไมเ่ กินสามปี หรือปรับปรบั ตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงหนึ่งลา้ นบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ และให้ศาลส่ังเลิกการ
ประกอบธุรกิจ หรือเลิกกิจการ หรือสั่งเลิกการเป็นผู้ถือหนุ้ หรอื เปน็ หุ้นส่วน แลว้ แต่กรณี หากฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม
คาสงั่ ศาลต้องระวางโทษปรับวันละหนึง่ หม่ืนบาทถึงหา้ หม่นื บาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่
มาตรา ๓๘ คนต่างด้าวผู้ใดประกอบธุรกิจโดยฝ่าฝืนตามมาตรา ๑๔ หรือฝ่าฝืนเง่ือนไขตามมาตรา
๑๘ (๓) ต้องระวางโทษปรับต้ังแต่หนึ่งแสนบาทถึงหน่ึงล้านบาทและปรับวันละหน่ึงหม่ืนบาท ถึงห้าหม่ืนบาท
ตลอดเวลาท่ยี งั ฝา่ ฝนื อยู่
มาตรา ๓๙ ผรู้ ับใบอนุญาตหรือหนังสือรบั รองผ้ใู ดไม่ปฏบิ ัติตามมาตรา ๒๑ วรรคสอง หรือวรรคสาม
หรอื ฝ่าฝืนมาตรา ๒๒ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกินหา้ พนั บาท
มาตรา ๔๐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหนังสือสอบถามหรือหนังสือเรียกของนายทะเบียนหรือพนักงาน
เจ้าหน้าที่ หรือไม่ยอมให้ข้อเท็จจริง หรือไม่ส่งเอกสารหรือหลักฐาน เมื่อนายทะเบียนหรือ พนักงานเจ้าหน้าท่ี
สอบถามหรือเรียกตรวจสอบหรือไม่ให้ความสะดวกแก่นายทะเบียนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๓๐ โดยไม่มี
เหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พันบาท
มาตรา ๔๑ ในกรณีท่ีนิติบุคคลเป็นผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕มาตรา ๓๖ หรือ
มาตรา ๓๗ กรรมการ หุ้นส่วน หรือผู้มีอานาจกระทาการแทนนิติบุคคลซ่ึงรู้เห็นเป็นใจกับการกระทาความผิดนั้น
หรือมิได้จัดการตามสมควรเพื่อป้องกันมิให้เกิดความผิดน้ัน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับต้ังแต่หนึ่ง
แสนบาทถึงหนึง่ ล้านบาท หรือทงั้ จาทัง้ ปรบั
มาตรา ๔๒ ในกรณีความผิดตามมาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมี
อานาจเปรียบเทียบปรับได้ เม่ือผู้ต้องหาได้ชาระค่าปรับตามจานวนที่อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายได้
เปรยี บเทียบภายในสามสบิ วนั นบั แต่วนั เปรยี บเทียบใหค้ ดนี ัน้ เป็นอันเลิกกัน
มาตรา ๔๓ บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ และคาส่ังซ่ึงใช้บังคับอยู่ในวันที่
พระราชบัญญตั นิ ี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้ไดต้ ่อไปเทา่ ท่ีไม่ขัดหรอื แย้งกับบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตินจี้ นกว่าจะได้มี
พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศและคาสง่ั ทอี่ อกตามพระราชบญั ญตั ินีใ้ ช้บงั คับ
มาตรา ๔๔ คนต่างด้าวซึ่งได้รับสิทธิหรือได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจตามประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ อยู่ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ ให้ได้รับสิทธิหรือ
ไดร้ บั อนุญาตในการประกอบธรุ กิจน้นั ต่อไปตามเง่ือนไข และระยะเวลาของการไดร้ ับสิทธหิ รือได้รับอนุญาตดังกลา่ ว
มาตรา ๔๕ คนต่างด้าวซึ่งประกอบธุรกิจประเภทที่กาหนดไวใ้ นบัญชที ้ายพระราชบัญญัตินอี้ ยู่แล้วใน
วันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ซ่ึงธุรกิจดังกล่าวเป็นธุรกิจท่ีไม่ได้กาหนดไว้ในบัญชีท้ายประกาศของคณะปฏิวัติ
- ๑๓ -
ฉบับท่ี ๒๘๑ ลงวนั ท่ี ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ หากประสงค์จะประกอบธุรกจิ นั้นต่อไป ให้ดาเนินการแจ้งต่อ
อธิบดีเพ่ือขอหนังสือรับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในมาตรา ๑๑ ท้ังนี้ ภายในกาหนดหน่ึงปีนับแต่
วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และใน ระหว่างที่ยังไม่ได้รับหนังสือรับรองมิให้ถือว่าคนต่างด้าวนั้นเป็นผู้ประกอบ
ธุรกจิ โดยมไิ ดร้ ับอนญุ าตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอานาจ
แต่งต้ังนายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าท่ีกับออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้าย
พระราชบัญญตั ินี้ ตลอดจนยกเว้นค่าธรรมเนยี มและกาหนดกิจการอ่นื เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
[ดูกฎกระทรวงกาหนดธุรกิจบริการท่ีไม่ต้องขออนุญาตในการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.
2556 (ฉบบั รวมล่าสดุ )]
[ดูประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรอื่ ง แตง่ ต้ังนายทะเบยี นและพนักงานเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.2559]
กฎกระทรวงนั้น เม่อื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วใหใ้ ชบ้ ังคับได้
[ดูกฎกระทรวงกาหนดแบบและวิธีการแจ้งการเลิกประกอบธุรกิจหรือย้ายสานักงานหรือสถานท่ี
ประกอบธุรกิจของคนตา่ งดา้ ว พ.ศ. ๒๕๔๔ (ฉบบั update ล่าสุด)]
[ดกู ฎกระทรวงกาํ หนดทนุ ข้ันตาํ่ และระยะเวลาในการนาํ หรอื สงทนุ ขัน้ ตาํ่ เขามาในประเทศไทย พ.ศ.๒๕๖๒]
[ดูกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาตประกอบธุรกิจตามมาตรา ๑๗ พ.ศ.
๒๕๔๖]
[ดูกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และ
ระยะเวลาการอนุญาตให้ประกอบธุรกจิ ของคนตา่ งด้าวตามมาตรา ๗ พ.ศ. ๒๕๔๖]
[ดูกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการแจง้ เพ่ือขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของ
คนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๔๖]
[ดกู ฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมการประกอบธรุ กิจของคนตา่ งด้าว พ.ศ. ๒๕๔๔]
[ดกู ฎกระทรวงกาหนดแบบบัตรประจาตวั พนักงานเจา้ หน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๔๔]
ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภยั
นายกรฐั มนตรี
- ๑๔ - ๑,๐๐๐ บาท
๒,๐๐๐ บาท
อตั ราคา่ ธรรมเนยี ม ๒,๐๐๐ บาท
๑. คาขอใบอนุญาต ๕,๐๐๐ บาท
(ก) คาขอใบอนุญาตตามมาตรา ๗
(ข) คาขอใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ ๔๐,๐๐๐ บาท
(ค) คาขอหนังสือรบั รองตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๑๒ พนั ละสบิ บาทของทุน
จดทะเบยี น ทั้งนี้
๒. ใบอนญุ าต ไมต่ ่ากว่า ๔๐,๐๐๐ บาท
(ก) ใบอนญุ าตตามมาตรา ๗ และไมเ่ กิน ๕๐๐,๐๐๐บาท
(ข) ใบอนุญาตสาหรับธรุ กจิ บัญชีสอง เศษของพนั บาทให้คิด
(๑) บุคคลธรรมดา เท่ากับหน่ึงพนั บาท
(๒) นิติบคุ คล
๒๐,๐๐๐ บาท
(ค) ใบอนญุ าตสาหรบั ธรุ กจิ บัญชสี าม พันละห้าบาทของทนุ
(๑) บคุ คลธรรมดา จดทะเบียน ทั้งนี้
(๒) นติ บิ ุคคล ไม่ตา่ กว่า ๒๐,๐๐๐ บาท
และไม่เกนิ ๒๕๐,๐๐๐ บาท
๓. หนงั สือรับรอง เศษของพันบาทให้คิด
๔. ใบแทนใบอนุญาต หรอื ใบแทนหนงั สือรับรอง เทา่ กับหนึ่งพันบาท
๕. อทุ ธรณ์ ๒๐,๐๐๐ บาท
๕,๐๐๐ บาท
(ก) อุทธรณ์คาสัง่ ไม่อนุญาตตามมาตรา ๗
(ข) อุทธรณค์ าส่ังไม่อนญุ าตตามมาตรา ๑๗ ๑,๐๐๐ บาท
(ค) อุทธรณค์ าส่ังพกั หรือเพกิ ถอนใบอนุญาต ๒,๐๐๐ บาท
หรอื หนงั สอื รบั รอง ตามมาตรา ๒๐ ๒,๐๐๐ บาท
๖. การแจ้งเลิก หรือยา้ ยสานักงานหรือสถานท่ี
๑,๐๐๐ บาท
ประกอบธรุ กิจ
- ๑๕ - ๑,๐๐๐ บาท
รายละ ๒๐๐ บาท
๗. การขอแก้ไขรายการทะเบยี น ใบอนุญาต
หรือหนังสอื รบั รอง หนา้ ละ ๑๐๐ บาท
เร่อื งละ ๑๐๐ บาท
๘. การตรวจหรือคัดสาเนาเอกสาร
๙. การขอให้คดั สาเนาหรือขอให้ถ่ายเอกสาร
พร้อมท้งั คารบั รอง
๑๐. การออกหนงั สือรบั รองข้อความในทะเบียน
- ๑๖ -
บัญชที า้ ยพระราชบญั ญัตกิ ารประกอบธรุ กิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๔๒
บัญชีหนึ่ง
ธุรกจิ ท่ไี ม่อนญุ าตใหค้ นตา่ งด้าวประกอบกจิ การดว้ ยเหตผุ ลพิเศษ
(๑) การทากิจการหนงั สือพิมพ์ การทากจิ การสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งหรอื สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์
(๒) การทานา ทาไร่ หรือทาสวน
(๓) การเล้ยี งสัตว์
(๔) การทาป่าไม้และการแปรรปู ไมจ้ ากป่าธรรมชาติ
(๕) การทาการประมงเฉพาะการจับสัตวน์ า้ ในน่านน้าไทยและในเขตเศรษฐกิจจาเพาะของประเทศไทย
(๖) การสกดั สมุนไพรไทย
(๗) การค้าและการขายทอดตลาดโบราณวตั ถุของไทยหรือท่มี ีคุณค่าทางประวัติศาสตรข์ องประเทศ
(๘) การทาหรือหลอ่ พระพุทธรปู และการทาบาตร
(๙) การคา้ ทีด่ นิ
- ๑๗ -
บัญชสี อง
ธรุ กจิ ที่เกี่ยวกบั ความปลอดภยั หรอื ความมั่นคงของประเทศหรือมีผลกระทบต่อศลิ ปวัฒนธรรม จารีตประเพณี
หตั ถกรรมพ้ืนบา้ น หรือทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
หมวด ๑ ธุรกจิ ที่เกยี่ วกับความปลอดภัยหรอื ความม่นั คงของประเทศ
(๑) การผลติ การจาหน่าย และการซ่อมบารุง
(ก) อาวุธปืน เครอ่ื งกระสุนปืน ดินปนื วัตถุระเบดิ
(ข) ส่วนประกอบของอาวธุ ปืน เครอ่ื งกระสุนปนื และวัตถุระเบดิ
(ค) อาวุธยทุ โธปกรณ์ เรอื อากาศยาน หรือยานพาหนะทางการทหาร
(ง) อปุ กรณ์หรือสว่ นประกอบของอุปกรณส์ งครามทุกประเภท
(๒) การขนส่งทางบก ทางนา้ หรือทางอากาศในประเทศ รวมถึงกิจการการบินในประเทศ
หมวด ๒ ธรุ กิจท่มี ผี ลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และหัตถกรรมพ้ืนบ้าน
(๑) การค้าของเก่า หรอื ศิลปวตั ถุ ซงึ่ เปน็ งานศลิ ปกรรม หัตถกรรมของไทย
(๒) การผลิตเครอื่ งไม้แกะสลกั
(๓) การเล้ยี งไหม การผลติ เสน้ ไหมไทย การทอผ้าไหมไทย หรือการพมิ พ์ลวดลายผ้าไหมไทย
(๔) การผลติ เครื่องดนตรีไทย
(๕) การผลิตเคร่อื งทอง เครือ่ งเงิน เครื่องถม เครื่องทองลงหนิ หรือเคร่อื งเขนิ
(๖) การผลติ ถว้ ยชามหรือเคร่ืองป้ันดนิ เผาท่ีเป็นศิลปวฒั นธรรมไทย
หมวด ๓ ธุรกิจท่มี ผี ลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรอื สิ่งแวดลอ้ ม
(๑) การผลิตนา้ ตาลจากออ้ ย
(๒) การทานาเกลอื รวมทัง้ การทาเกลอื สนิ เธาว์
(๓) การทาเกลอื หนิ
(๔) การทาเหมือง รวมทั้งการระเบดิ หรอื ยอ่ ยหิน
(๕) การแปรรูปไมเ้ พ่ือทาเคร่อื งเรือนและเคร่อื งใชส้ อย
- ๑๘ -
บญั ชีสาม
ธุรกจิ ท่คี นไทยยงั ไมม่ คี วามพร้อมท่ีจะแข่งขนั ในการประกอบกิจการกับคนต่างด้าว
(๑) การสีขา้ ว และการผลิตแป้งจากข้าวและพชื ไร่
(๒) การทาการประมง เฉพาะการเพาะเล้ยี งสตั วน์ ้า
(๓) การทาปา่ ไม้จากปา่ ปลกู
(๔) การผลติ ไม้อดั แผ่นไม้วีเนียร์ ชิปบอร์ด หรือฮาร์ดบอร์ด
(๕) การผลติ ปนู ขาว
(๖) การทากิจการบรกิ ารทางบญั ชี
(๗) การทากจิ การบรกิ ารทางกฎหมาย
(๘) การทากิจการบริการทางสถาปตั ยกรรม
(๙) การทากิจการบริการทางวศิ วกรรม
(๑๐) การก่อสร้าง ยกเวน้
(ก) การก่อสร้างสง่ิ ซึ่งเปน็ การให้บรกิ ารพ้ืนฐานแกป่ ระชาชน
ดา้ นการสาธารณปู โภคหรือการคมนาคมทตี่ ้องใช้เคร่ืองมือ
เคร่ืองจักร เทคโนโลยหี รอื ความชานาญในการก่อสร้าง
เป็นพเิ ศษ โดยมีทุนข้ันต่าของคนต่างด้าวตั้งแตห่ า้ ร้อยล้านบาท
ขึน้ ไป
(ข) การก่อสร้างประเภทอน่ื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
(๑๑) การทากิจการนายหน้าหรือตัวแทน ยกเว้น
(ก) การเปน็ นายหน้าหรอื ตวั แทนซื้อขายหลักทรพั ย์หรือการบริการ
ทเ่ี กีย่ วกบั การซ้ือขายล่วงหน้าซ่งึ สนิ คา้ เกษตรหรือตราสาร
ทางการเงินหรือหลักทรัพย์
(ข) การเป็นนายหนา้ หรือตวั แทนซอ้ื ขายหรือจดั หาสนิ คา้ หรือบริการ
ทจ่ี าเปน็ ต่อการผลิตหรือการใหบ้ รกิ ารของวสิ าหกจิ ในเครือ
เดียวกัน
(ค) การเปน็ นายหน้าหรือตวั แทนซอ้ื ขาย จดั ซื้อ
หรือจัดจาหน่ายหรือจดั หาตลาดทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเพ่ือการจาหนา่ ย
ซ่งึ สนิ คา้ ทีผ่ ลิตในประเทศหรอื นาเข้ามาจากต่างประเทศ
อันมลี กั ษณะ เปน็ การประกอบธรุ กิจระหวา่ งประเทศ โดยมีทุนขั้นต่า
ของคนต่างด้าวต้งั แตห่ นงึ่ รอ้ ยลา้ นบาทข้ึนไป
(ง) การเปน็ นายหนา้ หรือตัวแทนประเภทอน่ื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
- ๑๙ -
(๑๒) การขายทอดตลาด ยกเวน้ พ.ศ.2556
(ก) การขายทอดตลาดที่มีลกั ษณะเปน็ การประมูลซื้อขายระหว่าง
ประเทศทีม่ ิใชก่ ารประมลู ซ้ือขายของเกา่ วตั ถุโบราณ หรอื
ศลิ ปวตั ถุซง่ึ เป็นงานศลิ ปกรรม หัตถกรรม หรือโบราณวตั ถุ
ของไทย หรือท่ีมีคุณคา่ ทางประวัติศาสตร์ของประเทศ
(ข) การขายทอดตลาดประเภทอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
(๑๓)๑ การค้าภายในเกีย่ วกบั ผลติ ภณั ฑ์หรอื ผลติ ผลทางการเกษตรพ้นื เมือง
ทยี่ งั ไม่มกี ฎหมายห้ามไว้
ยกเว้นการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหนา้ ในตลาดสนิ ค้าเกษตรลว่ งหน้า
แหง่ ประเทศไทย โดยไม่มีการสง่ มอบหรอื รบั มอบสินคา้ เกษตรภายในประเทศ
(๑๔) การค้าปลกี สินคา้ ทุกประเภททีม่ ีทนุ ข้นั ตา่ รวมทง้ั ส้ินน้อยกว่าหนึ่งร้อย
ลา้ นบาท หรอื ทม่ี ีทนุ ข้ันต่าของแต่ละร้านค้านอ้ ยกว่าย่ีสิบลา้ นบาท
(๑๕) การค้าสง่ สินค้าทกุ ประเภทท่ีมีทุนขั้นตา่ ของแต่ละร้านค้าน้อยกว่า
หน่ึงร้อยล้านบาท
(๑๖) การทากจิ การโฆษณา
(๑๗) การทากจิ การโรงแรม เวน้ แต่บรกิ ารจดั การโรมแรม
(๑๘) การนาเที่ยว
(๑๙) การขายอาหารหรือเคร่ืองด่ืม
(๒๐) การทากจิ การเพาะขยายหรือปรบั ปรุงพนั ธ์พุ ืช
(๒๑) การทาธุรกจิ บริการอนื่ ยกเว้นธรุ กจิ บรกิ ารทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
[ดูกฎกระทรวงกาหนดธุรกิจบรกิ ารที่ไมต่ ้องขออนญุ าตในการประกอบธุรกจิ ของคนต่างด้าว
(ฉบบั รวมลา่ สดุ )]
๑ บัญชีสามท้ายพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๔๒ (๑๓) แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกาแก้ไข
ประเภทธรุ กิจตามบัญชที ้ายพระราชบญั ญตั ิการประกอบธุรกจิ ของคนตา่ งด้าว พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๖
- ๒๐ -
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๘๑
ลงวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ออกใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว และมีหลักการ
บางประการไม่สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ การลงทุน และการค้าระหว่างประเทศในปัจจุบัน สมควร
ปรับปรงุ กฎหมายดังกล่าวเสียใหม่ เพ่ือส่งเสรมิ ให้มีการแข่งขันในการประกอบธรุ กจิ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ซึ่งจะเปน็ ประโยชนก์ ับประเทศไทยโดยสว่ นรวม ทงั้ ยงั เป็นการดาเนินการใหส้ อดคล้องกับพันธกรณีตามสนธิสัญญา
ระหวา่ งประเทศด้วย จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญตั ิน้ี