The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพื่อให้มีกฎหมายเฉพาะในการกากับดูแลหอการค้า และสภาการค้าแทนการจดทะเบียนเป็นสมาคมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by legal.dbd.15, 2019-10-10 02:33:43

พระราชบัญญัติหอการค้า พ.ศ.๒๕๐๙

เพื่อให้มีกฎหมายเฉพาะในการกากับดูแลหอการค้า และสภาการค้าแทนการจดทะเบียนเป็นสมาคมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

พระราชบัญญตั ิ
หอการคา พ.ศ. ๒๕๐๙

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันท่ี ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๙

เปน ปที่ ๒๑ ในรชั กาลปจจบุ ัน

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให
ประกาศวา

โดยทเี่ ปน การสมควรมกี ฎหมายวา ดว ยหอการคา
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ ้นึ ไวโ ดยคําแนะนําและยนิ ยอมของ
สภารางรฐั ธรรมนูญในฐานะรฐั สภา ดังตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ินีเ้ รียกวา “พระราชบญั ญตั หิ อการคา พ.ศ. ๒๕๐๙”
มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตน ไป
มาตรา๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎและขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัติน้ี
หรือซ่งึ ขดั หรือแยง กบั บทแหง พระราชบญั ญตั ิน้ี ใหใชพ ระราชบญั ญัตินแ้ี ทน

หมวด ๑
บทท่ัวไป

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ิน้ี
* “หอการคา” หมายความวา สถาบันท่ีบุคคลหลายคนจัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมการคา การ
บริการ การประกอบวิชาชีพอิสระ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ อันมิใชเปนการหาผล
กําไรหรือรายไดแ บง ปนกัน
*“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณเฉพาะที่
เปนนิติบุคคล และมีวัตถุประสงคเก่ียวกับการคา การบริการ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือ
เศรษฐกจิ
*“สหกรณ” หมายความวา สหกรณตามกฎหมายวาดวยสหกรณเฉพาะที่มีวัตถุประสงค
เกี่ยวกบั การคา การบรกิ าร อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม การเงนิ หรือเศรษฐกิจ

“นายทะเบียน” หมายความวา นายทะเบียนกลางหอการคา หรือนายทะเบียนหอการคา
ประจาํ จงั หวดั แลว แตก รณี

* แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิหอการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓

“พนกั งานเจา หนา ท”ี่ หมายความวา ผซู ง่ึ รฐั มนตรแี ตง ตัง้ ใหป ฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
“รฐั มนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผรู กั ษาการตามพระราชบัญญตั ินี้

มาตรา ๕ ใหร ฐั มนตรีวา การกระทรวงเศรษฐการรักษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี และใหมี
อาํ นาจแตงตัง้ พนกั งานเจา หนา ที่กบั ออกกฎกระทรวงกําหนดคา ธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัติ
นี้ และกําหนดกิจการอ่ืน เพ่ือปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบัญญตั ินี้

กฎกระทรวงน้นั เมือ่ ไดป ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลวใหใชบ ังคับได

หมวด ๒
การจัดตงั้ หอการคา

มาตรา ๖ หอการคา มี ๔ ประเภท ดงั ตอไปน้ี
(๑) หอการคา จังหวดั
(๒) หอการคา ไทย
(๓) หอการคาตา งประเทศ
(๔) สภาหอการคา แหงประเทศไทย

*

มาตรา ๗ ใหจัดตั้งสํานักงานกลางทะเบียนหอการคาขึ้นในกรมพัฒนาธุรกิจการคา
กระทรวงพาณิชย เพื่อควบคุมการออกใบอนุญาตและการจดทะเบียนหอการคาท่ัวราชอาณาจักร และทํา
หนา ที่เปน สาํ นักงานทะเบยี นหอการคา ประจาํ กรงุ เทพมหานคร

ในจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหจัดตั้งสํานักงานทะเบียนหอการคาประจํา
จงั หวัดข้ึนตรงตอสาํ นักงานกลางทะเบยี นหอการคา

ใหอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคาหรือผูซ่ึงอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคามอบหมายเปน
นายทะเบียนกลางหอการคาและนายทะเบียนหอการคาประจํากรุงเทพมหานคร และใหผูวาราชการจังหวัด
นอกจากกรุงเทพมหานครหรอื ผซู ึ่งผวู าราชการจงั หวัดมอบหมายเปนนายทะเบยี นหอการคาประจาํ จังหวดั

มาตรา ๘ หามมใิ หผูใดจัดตง้ั หอการคา เวนแตจ ะไดรับอนญุ าตจากนายทะเบียน
การต้งั สาขาหอการคาจะกระทาํ มิได

มาตรา ๙ การขออนญุ าตนนั้ ใหผ เู รม่ิ กอการจดั ตง้ั มีจาํ นวนไมน อ ยกวา หา คน ย่ืนคําขอตอ
นายทะเบียนตามหลกั เกณฑและวิธีการท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง

**

มาตรา ๑๐ เมื่อนายทะเบียนไดรับคําขออนุญาตและพิจารณาแลวเห็นวาขอบังคับไมขัดตอ
กฎหมาย ไมเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน และผูเริ่มกอการจัดต้ังเปนผูซึ่งมีความประพฤติดี ใหนายทะเบียนส่ังอนุญาตและออก
ใบอนุญาตหอการคา ใหแกผ ูขออนุญาต พรอ มทงั้ จดทะเบียนหอการคา ใหดว ย

*

แกไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติหอการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔
** แกไ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตหิ อการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕

ถานายทะเบียนมีคําสั่งไมอนุญาต ใหแจงคําส่ังเปนหนังสือไปยังผูขออนุญาตโดยมิชักชา
ผูขออนุญาตมีสิทธิอุทธรณคําสั่งนั้นได โดยยื่นอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในกําหนดสิบหาวันนับ
แตว ันทไี่ ดรับแจง คําสงั่ คาํ วินิจฉยั ของรฐั มนตรีใหเปนทสี่ ุด

การอนุญาตใหต้ังหอการคาและการเลิกหอการคา ใหนายทะเบียนกลางหอการคาประกาศใน
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๑๑ ใหหอการคาทไี่ ดร บั ใบอนญุ าตและจดทะเบยี นแลวเปนนิตบิ คุ คล

มาตรา ๑๒ ถาใบอนุญาตหอการคาสูญหายหรอื ถกู ทาํ ลายใหหอการคา ย่นื คําขอรบั ใบแทน

มาตรา ๑๓ หอการคา ตองมขี อ บังคบั และขอบงั คับนั้นอยา งนอ ยตองมขี อความ ดงั ตอไปนี้
(๑) ช่อื
(๒) วตั ถทุ ป่ี ระสงค
(๓) ท่ตี ั้งสาํ นกั งาน
(๔) วธิ รี บั สมาชกิ และใหสมาชกิ ออกจากหอการคาตลอดจนสทิ ธแิ ละหนาท่ีของสมาชกิ
(๕) การดําเนินกิจการของหอการคา การตั้ง การออกจากตําแหนง และการประชุมของ
กรรมการตลอดจนการประชมุ ใหญ
ขอบังคับของหอการคาตองนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนพรอมกับการยื่นคําขออนุญาต
จัดตั้งหอการคา กอนออกใบอนญุ าต ถา นายทะเบยี นเห็นสมควรจะสง่ั ใหแกไ ขเพมิ่ เติมขอบงั คับน้นั ก็ได

*

มาตรา ๑๔ หอการคาจังหวัดจะจัดต้ังขึ้นไดจังหวัดละหนึ่งหอการคา โดยหอการคาจังหวัด
ในกรุงเทพมหานครใหเ รยี กวา หอการคา ไทย

หอการคา ตางประเทศจะจัดตั้งขึ้นไดเพียงประเทศละหนึ่งหอการคา

มาตรา ๑๕ หอการคาไทย หอการคาตางประเทศ สมาคมการคา รัฐวิสาหกิจและสหกรณ
อาจรวมกันจัดต้ังขึ้นเปนสภาหอการคาแหง ประเทศไทยได

มาตรา ๑๖ ช่ือของหอการคาตองเปนอักษรไทย แตจะมีอักษรตางประเทศกํากับไวทาย
หรือใตช่ืออักษรไทยดวยก็ได และจะใชช่ือไดแตเฉพาะที่ปรากฏในขอบังคับเทานั้น หามมิใหใชขอความ
“หอการคาจังหวัด หอการคาไทย หอการคาตางประเทศ หรือสภาหอการคาแหงประเทศไทย” หรือ
ขอความทีม่ ีความหมายในทํานองเดียวกนั ประกอบช่ือโดยมไิ ดเปนหอการคา ตามพระราชบัญญตั ิน้ี

ใหหอการคา จดั ใหม ปี ายชือ่ อา นไดชดั เจนติดไวทีห่ นา สํานกั งาน
มาตรา ๑๗ หามมิใหบุคคลใดใชช่ือท่ีมีอักษรไทยประกอบวา “หอการคา” หรือ “สภา
หอการคาแหงประเทศไทย” หรืออักษรตางประเทศซึ่งแปลหรืออานวา “หอการคา” หรือ “สภาหอการคาแหง
ประเทศไทย” ในดวงตรา ปายชื่อ จดหมาย ใบแจงความ หรือเอกสารอยางอ่ืนอันเก่ียวกับธุรกิจ โดยมิได
เปนหอการคา เวน แตเปน การใชในการขออนุญาตจดั ต้ังหอการคา

มาตรา ๑๘ ใหน ายทะเบยี นมอี ํานาจออกคาํ สงั่ เปนหนังสอื เรยี กบคุ คลใดๆ มาสอบถามหรือ
ใหสง เอกสารมาเพอ่ื ประกอบการพิจารณาเก่ียวกับการขออนุญาตจดั ตัง้ หอการคาได

* แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิหอการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖

หมวด ๓
สมาชิกและคณะกรรมการของหอการคา

มาตรา ๑๙ หอการคามีสมาชิกไดเ พียง ๔ ประเภท ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) สมาชกิ สามญั
(๒) สมาชกิ วิสามัญ
(๓) สมาชกิ สมทบ
(๔) สมาชิกกติ ติมศกั ด์ิ
สมาชกิ สามัญเทา นน้ั มสี ทิ ธไิ ดรบั เลอื กตง้ั เปน กรรมการหอการคา

*

มาตรา ๒๐ ภายใตบังคับมาตรา ๒๑ สมาชิกของหอการคาจังหวัดตองเปนบุคคลธรรมดา
สัญชาติไทย หรือนติ บิ ุคคลทมี่ บี คุ คลธรรมดาสัญชาติไทยเปนหุนสวนหรือผูถือหุนเกินกึ่งจํานวนเงินทุนของ
นติ ิบุคคลนั้น และเปนผูประกอบวิสาหกจิ ในทางการคา การบรกิ าร การประกอบวิชาชพี อิสระ อตุ สาหกรรม
เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ หรือตองเปนสมาคมการคาที่มีสมาชิกซึ่งมีสัญชาติไทยเกินกึ่งจํานวน
ของสมาชกิ ทั้งหมด หรือตอ งเปนรัฐวสิ าหกิจหรอื สหกรณ

สมาชิกสามัญของหอการคาจังหวัด นอกจากจะตองมีคุณสมบัติตามวรรคหนึ่งแลว จะตองมี
ภมู ิลําเนาอยใู นจงั หวัดทหี่ อการคา ตง้ั อยูด วย

บุคคลธรรมดา นิติบุคคล หรือสมาคมการคาท่ีมิไดมีคุณสมบัติตามวรรคหนึ่ง จะเปนไดแต
เพยี งสมาชิกสมทบของหอการคาจังหวัดเทา นัน้

สมาชิกของหอการคาจังหวัดหนึ่ง จะเปนสมาชิกสมทบของหอการคาไทย หรือหอการคา
จังหวัดอ่ืนอีกกไ็ ด

*

มาตรา ๒๑ หอการคาไทยประกอบดวยสมาชิกซ่ึงเปนบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย หรือ
นติ บิ ุคคลทมี่ บี คุ คลธรรมดาสญั ชาตไิ ทยเปน หุนสวนหรือผูถือหุนเกินก่ึงจํานวนเงินทุนของนิติบุคคลน้ันและ
เปนผูประกอบวิสาหกิจในทางการคา การบริการ การประกอบวิชาชีพอิสระ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
การเงินหรือเศรษฐกิจ หรือเปนรัฐวิสาหกจิ สหกรณ หรอื หอการคาจังหวัด

หอการคา จงั หวดั ตองเปนสมาชกิ สามญั ของหอการคาไทย
สมาชกิ สามัญอน่ื ยกเวน หอการคาจงั หวัดจะตองมีภมู ิลาํ เนาอยใู นเขตกรุงเทพมหานคร
สมาชิกของหอการคาไทย จะเปน สมาชกิ สมทบของหอการคาจังหวัดอน่ื อกี ก็ได

*

มาตรา ๒๒ หอการคาตา งประเทศประกอบดว ยสมาชิกซ่ึงมีภูมิลําเนาในราชอาณาจักรและ
เปนบุคคลธรรมดาสัญชาติประเทศของหอการคาน้ัน หรือนิติบุคคลที่มีบุคคลธรรมดาสัญชาติประเทศของ
หอการคา นัน้ เปนหนุ สวนหรือผูถือหุนตั้งแตก่ึงจํานวนเงินทุนของนิติบุคคลนั้น รวมท้ังสาขาของนิติบุคคลที่
จดทะเบียนในประเทศของหอการคานั้นเกินก่ึงหน่ึงของจํานวนสมาชิกทั้งหมด และเปนผูประกอบวิสาหกิจ
ในทางการคา การบรกิ าร การประกอบวชิ าชพี อิสระ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ

หอการคา ตา งประเทศตองเปน สมาชกิ ของสภาหอการคา แหงประเทศไทย

* แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิหอการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗

*

มาตรา ๒๓ สภาหอการคาแหงประเทศไทยประกอบดวยสมาชิกซ่ึงเปนผูแทนหอการคา
ตางประเทศหอละหาคน ผูแทนสมาคมการคาสมาคมละสองคน ผูแทนรัฐวิสาหกิจแหงละสองคน ผูแทน
สหกรณแหงละสองคน และผูแทนหอการคาไทยมีจํานวนไมต่ํากวาก่ึงหน่ึงของจํานวนสมาชิกของสภา
หอการคา แหงประเทศไทย

ผูแทนหอการคาไทยตามวรรคหนึ่งตองประกอบดวยผูแทนหอการคาจังหวัดทุกจังหวัดที่
เปน สมาชกิ ของหอการคาไทย

บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งเปนสมาชิกของหอการคาไทย หอการคาจังหวัด หอการคา
ตา งประเทศ สมาคมการคา หรือสหกรณ จะเปนไดแตเ พียงสมาชกิ สมทบของสภาหอการคาแหงประเทศไทยเทา นน้ั

มาตรา ๒๔ ใหม คี ณะกรรมการหอการคา ดังตอไปน้ี
(๑) คณะกรรมการหอการคาจังหวัดประกอบดวยกรรมการซ่ึงที่ประชุมใหญเลือกตั้ง
จากสมาชิกสามัญ มีจํานวนตามขอบังคบั ของหอการคา จังหวัดนน้ั
(๒) คณะกรรมการหอการคาไทยประกอบดวยกรรมการซึ่งท่ีประชุมใหญเลือกต้ังจาก
สมาชิกสามัญ มีจํานวนตามขอบังคับของหอการคาไทย แตในจํานวนนี้ตองเลือกต้ังจากสมาชิกซ่ึงเปน
ผแู ทนหอการคา จังหวดั ตางๆ ดวยรวมกนั ไมน อ ยกวา สามคน
(๓) คณะกรรมการหอการคาตางประเทศประกอบดวยกรรมการซึ่งที่ประชุมใหญแหง
หอการคา ตางประเทศเลือกตงั้ จากสมาชกิ สามัญ มีจาํ นวนตามขอบงั คบั ของหอการคา ตางประเทศนนั้

**

(๔)คณะกรรมการสภาหอการคา แหง ประเทศไทย ประกอบดว ย
(ก) ประธานกรรมการหอการคา ไทยเปนประธานกรรมการโดยตาํ แหนง
(ข) รองประธานกรรมการสี่คน โดยใหคณะกรรมการสภาหอการคาแหงประเทศไทย

เลือกตั้งจากกรรมการฝายหอการคาไทย หอการคาจังหวัด หอการคาตางประเทศ และสมาคมการคา ฝาย
ละหน่งึ คน

(ค) กรรมการตามจํานวนท่ีกําหนดไวในขอบังคับ โดยที่ประชุมใหญสมาชิกเลือกตั้งมา
จากผูแทนหอการคา ไทย หอการคาจงั หวดั หอการคา ตางประเทศ และสมาคมการคา ฝา ยละเทากัน

(ง) กรรมการซง่ึ กระทรวงพาณิชยแ ตงต้งั จากผูแ ทนรัฐวิสาหกิจและสหกรณรวมกัน
จาํ นวนหกคน

หมวด ๔
การดําเนนิ กจิ การของหอการคา

***

มาตรา ๒๕ ใหหอการคามีคณะกรรมการเปนผูดําเนินกิจการของหอการคา และเปน
ผูแทนของหอการคาในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก เพื่อการนี้คณะกรรมการจะมอบหมายใหกรรมการ
หรือเจา หนา ทีบ่ รหิ ารของหอการคา ในระดบั ผอู าํ นวยการหรือรองผอู าํ นวยการทําการแทนกไ็ ด

* แกไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั หิ อการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗
** แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิหอการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘

***

แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหอการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๙ กําหนดใหผูซ่ึงดํารง
ตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการสภาหอการคาแหงประเทศไทยตามพระราชบัญญัติหอการคา พ.ศ. ๒๕๐๙ อยูในวันท่ี
พระราชบัญญัติหอการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ใชบังคับดํารงตําแหนงตอไปจนครบวาระการดํารงตําแหนงตามท่ี
กําหนดไวใ นขอบงั คบั ของสภาหอการคา แหง ประเทศไทย

มาตรา ๒๖ นอกจากการออกจากตําแหนงกรรมการตามขอบังคับของหอการคาแลว ให
กรรมการหอการคาออกจากตําแหนงเมื่อเปนบุคคลลมละลายหรือเมื่อตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษ
ตามพระราชบัญญัติน้ี และไมมีสิทธิเปนกรรมการหอการคาใดๆ อีก เวนแตจะพนกําหนดสามปนับแตได
พนจากการเปน บุคคลลม ละลาย หรือนบั แตว นั พน โทษ

*

ในกรณีท่ีกรรมการที่มิใชกรรมการซึ่งกระทรวงพาณิชยแตงต้ังออกจากตําแหนงกอนครบ
วาระและวาระของกรรมการเหลือไมนอยกวาสองเดือน ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลตามมาตรา ๒๔ แลวแตกรณี
เขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการแทน และใหบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนน้ัน อยูในตําแหนงไดเพียงเทา
วาระท่ียังเหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน

มาตรา ๒๗ สมาชิกของหอการคามีสิทธิขอตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของหอการคา
ได โดยยืน่ คาํ ขอเปนหนังสือตอหอการคา

มาตรา ๒๘ หอการคา มีหนาทด่ี ังตอไปนี้

**

(๑) สงเสริมการคา การบริการ การประกอบวิชาชีพอิสระ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
การเงินหรือเศรษฐกิจโดยท่ัวไป เชน รวบรวมสถิติ เผยแพรขาวสารการคา วิจัยเกี่ยวกับการคาและการ
เศรษฐกิจ สง เสริมการทองเท่ียว การออกใบรับรองแหลงกําเนิดของสินคา การวางมาตรฐานแหงคุณภาพของ
สินคา การตรวจสอบมาตรฐานสินคา จัดตั้งและดําเนินการสถานการศึกษาท่ีเกี่ยวกับการคาและเศรษฐกิจ
พพิ ธิ ภณั ฑสนิ คา การจดั งานแสดงสนิ คา การเปนอนุญาโตตุลาการช้ีขาดขอพพิ าททางการคา

**

(๒) รับปรึกษาและใหขอแนะนําแกสมาชิกเกี่ยวกับการคา การบริการ การประกอบวิชาชีพ
อิสระ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ และชวยอํานวยความสะดวกตางๆ ในการดําเนิน
ธุรกจิ ของสมาชกิ

(๓) ใหค าํ ปรกึ ษาและเสนอขอ แนะนาํ แกรัฐบาลเพ่อื พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
(๔) ประสานงานในทางการคา ระหวางผปู ระกอบการคา กับทางราชการ
(๕) ปฏิบัติกิจการอื่นๆ ตามแตจะมีกฎหมายระบุใหเปนหนาท่ีของหอการคา หรือตามท่ีทาง
ราชการมอบหมาย

มาตรา ๒๙ ภายใตบ ังคับมาตรา ๒๘ หา มมิใหหอการคา กระทาํ การใดๆ ดงั ตอไปนี้

***

(๑) ประกอบวิสาหกิจโดยหอการคาน้ันเอง หรือเขาดําเนินการในการประกอบวิสาหกิจ
ของสมาชิกหรือเขามีสวน ถือหุน เปนหุนสวน หรือรวมทุนในการประกอบวิสาหกิจกับบุคคลใดๆ เวนแต
เปน การถอื ตราสารหนี้ หรือเขา ถือหนุ ในบริษัทท่ีจดทะเบยี นในตลาดหลักทรพั ยท ่ีมีผบู ริจาคหรือมอบใหแก
หอการคา

(๒) ดําเนินการดวยประการใดๆ ในอันที่จะกดราคาสินคาหรือคาบริการใหตกต่ําเกิน
สมควร หรือทําใหส งู เกินสมควร หรือทาํ ใหเกิดปนปว นเก่ยี วกบั ราคาสินคาหรือคา บรกิ าร

* แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตหิ อการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐
** แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิหอการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑
*** แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั หิ อการคา (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๒

*

(๓) ใหเงิน หรือใหกูยืมเงินแกสมาชิกหรือบุคคลอ่ืนใด เวนแตเปนการใหเพื่อการกุศล
สาธารณะ หรือตามหนาท่ีศีลธรรม หรือตามควรแกอัธยาศัยในสังคม หรือเพื่อเปนสวัสดิการแกพนักงาน
ของหอการคา

(๔) ดาํ เนินการดวยประการใดๆ เพ่ือเพ่ิม ลด หรือกํากัดปริมาณการผลิต ปริมาณสินคา
ที่จําหนายหรือบริการอื่น และการดําเนินการดังกลาวน้ันเปนผลเสียหายแกตลาดการคา การเงิน ภายใน
หรอื ภายนอกประเทศ หรอื เศรษฐกจิ ของประเทศ

(๕) ดําเนนิ การดว ยประการใดๆ อันเปนการทําลายการแขงขันอันพึงมีตามปกติวิสัยของ
การประกอบวิสาหกิจ เวนแตจะเปน การปฏบิ ัตติ ามนโยบายหรือระเบียบของทางราชการ

(๖) ดําเนินการดวยประการใดๆ อันอาจเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศ
หรอื ตอ ความสงบเรยี บรอ ยหรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน

(๗) กีดกันหรือขัดขวางมิใหผูใดซึ่งมีคุณสมบัติท่ีจะเปนสมาชิกไดตามขอบังคับของ
หอการคาเขาเปนสมาชิก หรือบังคับดวยประการใดๆ ใหเขาเปนสมาชิกโดยผูน้ันไมสมัครใจ หรือให
สมาชิกออกจากหอการคาโดยเจตนาอนั ไมสุจรติ หรือขัดตอขอ บงั คบั ของหอการคา

(๘) เปดเผยสถิติ เอกสาร หรือขอความอันเกี่ยวกับประโยชนสวนไดเสีย โดยเฉพาะของ
สมาชิกผใู ด เวน แตจะไดรบั ความยนิ ยอมเปนหนงั สือจากสมาชกิ ผนู ัน้

**

(๙) ให หรือยอมใหบุคคลอ่ืนซ่ึงมิใชกรรมการดําเนินกิจการในหนาที่ของกรรมการ เวน
แตผซู ่งึ คณะกรรมการมอบหมายตามมาตรา ๒๕

มาตรา ๓๐ หามมิใหหอการคาแบงปนผลกําไรหรือรายไดใหแกสมาชิก หรือดําเนินการ
ในทางการเมือง

หมวด ๕
ควบคมุ หอการคา

มาตรา ๓๑ ใหนายทะเบียนมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหกรรมการหรือสมาชิกมาช้ีแจง
ขอเท็จจริงเก่ียวกับกิจการของหอการคา หรือใหสงเอกสารเก่ียวกับการดําเนินงานหรือรายงานการประชุม
ของหอการคาได

มาตรา ๓๒ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ใหนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาท่ี
มีอํานาจเขาไปตรวจสอบในสาํ นักงานของหอการคาไดใ นระหวา งเวลาทํางานของหอการคา

ในการปฏิบัติการตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่แสดงบัตรประจําตัวพนักงาน
เจา หนาที่ตอ ผซู ่ึงเกยี่ วขอ ง

บตั รประจําตัวพนกั งานเจาหนา ที่ใหเปนไปตามแบบทีร่ ัฐมนตรีกาํ หนด
ในการปฏิบัติการของนายทะเบียนหรอื พนกั งานเจาหนา ทตี่ ามวรรคหนึง่ ใหผูซ่งึ เกยี่ วของอาํ นวย
ความสะดวกหรอื ชวยเหลือตามสมควร หรอื ใหค ําช้แี จงแกน ายทะเบียน หรอื พนักงานเจา หนา ทต่ี ามท่ขี อรอ ง

* แกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติหอการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๓
** แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิหอการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔

มาตรา ๓๓ ใหหอการคาจัดทําทะเบียนสมาชิกเก็บรักษาไวที่สํานักงานของหอการคาและ
ใหสงสําเนาทะเบียนสมาชิกนั้นแกนายทะเบียนภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันท่ีไดรับใบอนุญาตและจด
ทะเบยี นเปนหอการคา ทะเบียนสมาชิกน้ันอยางนอ ยใหม รี ายการดังตอไปนี้

(๑) ชือ่ และสัญชาติของสมาชิก
(๒) ช่ือที่ใชใ นการประกอบวิสาหกจิ และประเภทของวิสาหกิจ
(๓) ทตี่ ัง้ สาํ นกั งานของสมาชกิ
(๔) วันที่เขา เปน สมาชกิ
เมื่อมีการรับสมาชิกใหมหรือมีการเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับทะเบียนสมาชิก ใหหอการคาแจง
การรับสมาชิกใหม หรือการเปลี่ยนแปลงน้ันตอนายทะเบียนภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่รับสมาชิก
ใหมห รือมกี ารเปล่ียนแปลง

มาตรา ๓๔ ใหหอการคาจัดทํางบดุลอยางนอยครั้งหนึ่งทุกรอบสิบสองเดือน อันจัดวา
เปน รอบปในทางบัญชขี องหอการคา น้นั

งบดุลน้ันตองมีรายการแสดงจํานวนสินทรัพยและหนี้สินของหอการคา กับท้ังบัญชีรายรับ
รายจาย งบดุลตองทําใหแลวเสร็จและจัดใหมีผูสอบบัญชีตรวจสอบแลวนําเสนอเพื่ออนุมัติตอที่ประชุม
ใหญของหอการคาภายในกําหนดหน่งึ รอ ยยส่ี บิ วันนบั แตว ันท่ีสิ้นปการบัญชี

มาตรา ๓๕ ใหหอการคาจัดทํารายงานประจําป แสดงผลการดําเนินกิจการของหอการคา
เสนอตอท่ีประชุมใหญในคราวที่เสนองบดุล และใหสงสําเนารายงานกับงบดุลไปยังนายทะเบียนภายใน
กาํ หนดสามสบิ วนั นับแตว ันทม่ี ีการประชุมใหญ

มาตรา ๓๖ การแกไขหรือเพ่ิมเติมขอบังคับของหอการคาจะกระทําไดก็แตโดยมติของ
ที่ประชุมใหญ และตองนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนภายในกําหนดสามสิบวัน นับแตวันที่ท่ีประชุม
ใหญล งมติ แตถานายทะเบียนเหน็ วาการแกไ ขหรอื เพ่ิมเติมขอบังคับน้ันขัดตอวัตถุท่ีประสงคของหอการคา
หรือขัดตอ กฎหมาย หา มมิใหน ายทะเบยี นรบั จดทะเบยี นการแกไขหรอื เพม่ิ เตมิ ขอ บังคับน้ัน

ถานายทะเบียนไมรับจดทะเบียนการแกไขหรือเพิ่มเติมขอบังคับ ใหนํามาตรา ๑๐ วรรคสอง
มาใชบังคบั โดยอนุโลม

มาตรา ๓๗ การต้ังกรรมการหรือการเปล่ียนตัวกรรมการของหอการคา ตองนําไปจด
ทะเบียนตอ นายทะเบียนภายในกําหนดสามสบิ วันนับแตว นั ต้ังหรอื เปล่ยี นตวั กรรมการ

*

ถานายทะเบียนเห็นวาผูไดรับการตั้งใหเปนกรรมการนั้นเปนผูซ่ึงมีความประพฤติเสื่อม
เสียหรอื มีเหตอุ ันควรสงสัยวา อาจเปนภยั ตอ เศรษฐกิจ ความมัน่ คงของประเทศ หรอื ตอ ความสงบเรียบรอย
หรอื ศีลธรรมอันดขี องประชาชน นายทะเบียนมีอํานาจไมร ับจดทะเบียนผนู ้นั เปนกรรมการของหอการคาได

มาตรา ๓๘ ผูใดประสงคจะขอตรวจหรือคัดเอกสาร หรือขอใหคัดและรับรองสําเนา
เอกสารเกีย่ วกับหอการคา ใหย ืน่ คําขอตามแบบที่นายทะเบยี นกลางหอการคากําหนด

มาตรา ๓๙ เมื่อปรากฏวาคณะกรรมการ กรรมการหรือสมาชิกของหอการคากระทํา
การใดๆ อนั อาจเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความมนั่ คงของประเทศ หรอื ตอความสงบเรียบรอ ยหรอื ศีลธรรมอนั ดี

* แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิหอการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๕

ของประชาชน ใหนายทะเบียนมีอํานาจส่ังเปนหนังสือใหคณะกรรมการ กรรมการหรือสมาชิกนั้นระงับหรือ
จัดการแกไขการกระทํานัน้ ภายในระยะเวลาทน่ี ายทะเบยี นกําหนด

มาตรา ๔๐ เมอ่ื หอการคา กระทําการอนั เปนการฝา ฝนมาตรา ๒๙ รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งให
กรรมการทง้ั คณะหรือเปนรายบุคคลออกจากตําแหนงได ในกรณีเชนน้ี คณะกรรมการหรือกรรมการน้ันไม
มีสิทธเิ ปน กรรมการหอการคาอีก เวน แตจ ะพนกําหนดสามปนบั แตวนั ทถ่ี ูกรฐั มนตรสี ั่งใหออกจากตาํ แหนง

มาตรา ๔๑ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาหอการคาใดจะดําเนินการไมชอบดวยกฎหมาย หรือ
อาจเปนภัยตอเศรษฐกิจ ความม่ันคงของประเทศ หรือตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ใหนายทะเบียนมอี ํานาจสง่ั เปนหนงั สือใหหอการคาน้ันแจงวันเวลาประชุมทุกคราวมาใหนายทะเบียนทราบ
ลว งหนา ไมน อ ยกวาสามวนั ในกรณเี ชน นี้ ใหน ายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนา ที่มอี าํ นาจเขาไปฟง การประชุมได

หอการคาใดไมแจงวันเวลาประชุมตามคําส่ังของนายทะเบียน ใหนายทะเบียนมีอํานาจสั่ง
ใหหอการคา น้นั งดการประชมุ ไดค ร้งั หน่ึงไมเ กินเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทีน่ ายทะเบยี นสงั่

ในกรณที ีน่ ายทะเบยี นมีคาํ สงั่ ใหงดการประชุม ใหนาํ มาตรา ๑๐ วรรคสอง มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

*

มาตรา ๔๒ ถาท่ีประชุมใหญของหอการคาลงมติอันเปนการฝาฝนกฎหมาย หรือขอบังคับ
ของหอการคา เม่ือสมาชิกคนหนึ่งคนใดหรือพนักงานเจาหนาที่รองขอ ใหศาลเพิกถอนมติของที่ประชุมใหญ
น้นั เสีย แตใ นกรณที ีส่ มาชิกรอ งขอใหเ พิกถอนใหก ระทาํ ภายในกําหนดสามสบิ วนั นับแตว ันท่ีไดล งมตนิ นั้

มาตรา ๔๓ ใหร ัฐมนตรีมีอาํ นาจสั่งใหเ ลกิ หอการคา ไดในกรณดี ังตอไปน้ี
(๑) เมื่อปรากฏวาการกระทําของหอการคาผิดตอกฎหมายหรือเปนภัยตอเศรษฐกิจ
ความม่นั คงของประเทศ หรอื ตอ ความสงบเรียบรอ ยหรอื ศลี ธรรมอันดีของประชาชน
(๒) เม่ือหอการคา ปฏบิ ตั กิ ารอนั เปน การฝา ฝนมาตรา ๒๙ และการกระทาํ น้ันเปน การ
เสียหายอยา งรา ยแรง
(๓) เมือ่ หอการคา ไมสามารถดําเนนิ กิจการตอ ไป หรือหยุดดาํ เนนิ กิจการตัง้ แตส องปข นึ้ ไป

**

(๔) เมอ่ื ปรากฏวาหอการคา ให หรอื ยอมใหบ ุคคลอ่นื ซงึ่ มิใชกรรมการดําเนนิ กจิ การใน
หนาทข่ี องกรรมการ เวน แตผ ูซ่งึ คณะกรรมการมอบหมายตามมาตรา ๒๕

กรรมการของหอการคา ทร่ี ฐั มนตรีสงั่ ใหเลกิ ตาม (๑) (๒) หรือ (๔) ผใู ดซงึ่ มสี วนในการ
กระทําอันเปนเหตุใหห อการคานน้ั ถกู รฐั มนตรีสงั่ ใหเ ลกิ ไมมีสิทธิเปน กรรมการหอการคา อีก เวน แตจ ะพน
กําหนดสามปน บั แตว นั ทร่ี ัฐมนตรีส่ังใหเ ลกิ หอการคา นน้ั

หมวด ๖
การเลิกหอการคา

มาตรา ๔๔ หอการคายอมเลิกดวยเหตุใดเหตุหน่งึ ดังตอ ไปน้ี
(๑) เมอ่ื ท่ปี ระชมุ ใหญลงมตใิ หเลิก

* แกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตหิ อการคา (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๖
** แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั หิ อการคา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๗

(๒) เมื่อลมละลาย
(๓) เมอื่ รัฐมนตรสี ง่ั ใหเ ลกิ ตามมาตรา ๔๓
ใหห อการคา ทเ่ี ลิกตาม (๑) หรอื (๒) แจง ใหนายทะเบยี นทราบภายในกําหนดสบิ หา วัน
นบั แตว นั ทีเ่ กดิ มเี หตุทีท่ ําใหเลิก

มาตรา ๔๕ ภายใตบ งั คบั มาตรา ๑๐ วรรคสาม เมอ่ื หอการคา ใดเลิกไปเพราะเหตุใดเหตุ
หนึง่ ตามท่ีระบไุ วใ นมาตรา ๔๔ ใหน ายทะเบียนเพกิ ถอนใบอนุญาตและขีดชอื่ หอการคา นน้ั ออกจากทะเบียน
ในกรณีเชน น้ี ใหถือวาหอการคานนั้ คงดาํ เนินการตอไปไดเ พยี งเทา ที่จาํ เปน เพือ่ การชาํ ระบญั ชเี ทา น้นั

มาตรา ๔๖ การชําระบัญชีหอการคาซ่ึงเลิกตามมาตรา ๔๔ ใหนําบทบัญญัติแหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยอันวาดวยการชําระบัญชีหางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัด
มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๗ เม่ือไดชําระบัญชีแลว ถามีทรัพยสินเหลืออยูเทาใดจะแบงใหแกสมาชิกของ
หอการคาไมได ทรัพยสินทั้งน้ันจะตองโอนไปใหแกนิติบุคคลอื่นท่ีมีวัตถุที่ประสงคเกี่ยวกับการกุศลสาธารณะ
ตามที่ระบุไวในขอบังคับของหอการคา หรือถาไมไดระบุไวก็ใหเปนไปตามมติของที่ประชุมใหญวาจะโอนไป
ใหแกนิติบุคคลใดท่ีมีวัตถุที่ประสงคเก่ียวกับการกุศลสาธารณะ ในกรณีนอกจากที่กลาวมาแลว
ใหท รพั ยส นิ ทเ่ี หลอื น้นั ตกเปน ของรฐั

หมวด ๗
บทกําหนดโทษ

มาตรา ๔๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๘ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรับไมเกินหน่ึง
หมื่นบาท หรือทัง้ จําท้งั ปรบั

มาตรา ๔๙ ผูใดเปนสมาชิกของหอการคาท่ีมิไดรับอนุญาตตามมาตรา ๘ ตองระวางโทษ
ปรบั ไมเ กนิ สองพันบาท

มาตรา ๕๐ ผใู ดฝาฝนมาตรา ๑๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินหน่ึงพันบาท และปรับอีกไมเกิน
วนั ละหา สบิ บาทจนกวา จะไดจ ัดการแกไ ขใหถูกตอ ง

มาตรา ๕๑ ผใู ดฝาฝนมาตรา ๑๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท และปรับอีกไมเกิน
วนั ละหาสบิ บาทจนกวาจะเลกิ ใช

มาตรา ๕๒ ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของนายทะเบียนตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๓๑ หรือ
ไมป ฏิบตั ติ ามมาตรา ๓๒ วรรคสี่ ตอ งระวางโทษปรับไมเ กินหน่งึ พันบาท

มาตรา ๕๓ หอการคาใดไมยอมใหสมาชิกตรวจสอบกิจการและทรัพยสินของหอการคา
น้ันตามมาตรา ๒๗ ตองระวางโทษปรบั ไมเ กินหนงึ่ พันบาท

มาตรา ๕๔ หอการคาใดฝา ฝน มาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๐ ตอ งระวางโทษปรับไมเกนิ หาหม่นื บาท

มาตรา ๕๕ กรรมการของหอการคาผูใดฝาฝนมาตรา ๒๙ หรือกระทําการอันเปนการผิด
วัตถุที่ประสงคของหอการคาและการกระทํานั้นเปนภัยตอเศรษฐกิจความม่ันคงของประเทศหรือตอความ
สงบเรียบรอ ยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกนิ สามหมืน่ บาท

มาตรา ๕๖ หอการคาใดฝาฝนมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๗
วรรคหนึง่ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนง่ึ พันบาท

มาตรา ๕๗ ผใู ดไมปฏบิ ตั ิตามคําสัง่ ของนายทะเบียนตามมาตรา ๓๙ หรือมาตรา ๔๑ วรรคหน่ึง
หรอื วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกนิ สองพันบาท

มาตรา ๕๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๐ หรือยังขืนเปนกรรมการหรือสมาชิกของหอการคาท่ีเลิก
ตามมาตรา ๔๔ หรือตามมาตรา ๖๑ วรรคสามแลว ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหม่ืน
บาท หรอื ท้ังจาํ ท้งั ปรับ

มาตรา ๕๙ หอการคาใดฝาฝนมาตรา ๔๔ วรรคสอง หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ ตอง
ระวางโทษปรับไมเกนิ หน่ึงพันบาท

มาตรา ๖๐ ผูใดฝา ฝนมาตรา ๔๗ ตอ งระวางโทษจําคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรบั ไมเกินหนึ่งหม่ืน
บาท หรือทง้ั จาํ ท้งั ปรบั

*

มาตรา ๖๐/๑ บรรดาความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ท้ี ี่มโี ทษปรับสถานเดียว ใหอ ธบิ ดกี รม
พัฒนาธุรกิจการคาหรือผูซึ่งอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการคามอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบไดและเม่ือ
ผูกระทําความผิดไดชําระคาปรับตามท่ีไดเปรียบเทียบแลว ใหคดีเปนอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญา

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๑ บรรดาหอการคา สภาการคา หรือสมาคมท่ีมีลักษณะหรือวัตถุท่ีประสงค
อยางเดียวกับหอการคาที่ไดจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยอยูกอนวันท่ี
พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ หากประสงคจะเปนหอการคาตามพระราชบัญญัตินี้ตองขออนุญาตเปนหอการคา
ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับและเม่ือไดรับอนุญาตใหเปนหอการคาตาม
พระราชบัญญัติน้ีแลว ใหนายทะเบียนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยขีดช่ือหอการคา สภา
การคา หรอื สมาคมนัน้ ออกเสยี จากทะเบียนสมาคม

บรรดาทรัพยสินและหน้ีสินของหอการคา สภาการคา หรือสมาคมที่มีลักษณะหรือ
วัตถุประสงคอยางเดียวกับหอการคาท่ีไดรับอนุญาตและจดทะเบียนเปนหอการคาตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหโ อนมาเปนของหอการคา ที่ไดจ ัดต้ังขึ้นใหม

ถาหอการคา สภาการคา หรือสมาคมที่มีลักษณะหรือวัตถุท่ีประสงคอยางเดียวกับหอการคา
ท่ีไดจดทะเบียนเปนสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมขออนุญาตเปนหอการคาตาม
พระราชบัญญัตินี้ ภายในกาํ หนดเวลาดงั กลาวในวรรคหนง่ึ ใหถ ือวาเปนอันเลกิ และใหน ายทะเบยี นสมาคมตาม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยขีดชอ่ื หอการคา สภาการคา หรอื สมาคมนั้นออกเสยี จากทะเบยี นสมาคม

* แกไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตหิ อการคา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘

ถาหอการคา สภาการคา หรือสมาคมที่มีลักษณะหรือวัตถุท่ีประสงคอยางเดียวกับ
หอการคาไมพอใจในคําสั่งของนายทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยท่ีใหขีดชื่อออกจาก
ทะเบยี นสมาคม ก็มีสิทธิอุทธรณคําสั่งนั้นได โดยย่ืนอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรี ภายในกําหนดสิบหาวัน
นับแตว นั ทีไ่ ดรับแจงคาํ สัง่ คําวนิ จิ ฉัยของรฐั มนตรีใหเ ปน ท่สี ุด

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ถนอม กติ ตขิ จร
นายกรัฐมนตรี

คา ธรรมเนียม

(๑) คาํ ขอ ฉบับละ ๒ บาท
(๒) ใบอนญุ าตหอการคา ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท
(๓) ใบแทนใบอนญุ าตหอการคา
(๔) การจดทะเบยี นแกไ ขหรือเพม่ิ เตมิ ๕๐ บาท

ขอ บังคับ หรอื การจดทะเบียน คร้ังละ ๕ บาท
ตั้งหรือเปลย่ี นตัวกรรมการ ครั้งละ ๕ บาท
(๕) การขอตรวจหรอื คัดเอกสาร
(๖) การขอใหค ดั และรับรอง ฉบับละ ๒๐ บาท
สําเนาเอกสาร

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในเวลาน้ีไมมีกฎหมายท่ีวาง
ระเบียบการจัดตั้งและการดําเนินงานของหอการคาไวโดยตรง หอการคาตางๆ รวมทั้งสภาการคาตองจด
ทะเบียนเปนสมาคมธรรมดาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และแมวารัฐบาลจะไดเสนอราง
พระราชบัญญัติสมาคมการคาข้ึนเปนเอกเทศ โดยแยกสมาคมการคาออกจากสมาคมธรรมดาก็ดี แต
เนื่องจากหอการคามีลักษณะแตกตางกับสมาคมการคาทั้งในสวนประกอบและหนาที่ จึงสมควรตรา
กฎหมายวา ดว ยหอการคาข้ึนโดยเฉพาะ


Click to View FlipBook Version