The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพื่อประโยชน์ทางสถิติและทราบหลักฐาน
การประกอบพาณิชยกิจที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็น
ประโยชน์ในการส่งเสริมการพาณิชย์และอุตสาหกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by legal.dbd.15, 2019-10-09 03:58:09

พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๙๙

เพื่อประโยชน์ทางสถิติและทราบหลักฐาน
การประกอบพาณิชยกิจที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็น
ประโยชน์ในการส่งเสริมการพาณิชย์และอุตสาหกรรม

พระราชบญั ญัติ
ทะเบียนพาณิชย์

พ.ศ. ๒๔๙๙

ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙

เปน็ ปีที่ ๑๑ ในรัชกาลปจั จุบนั

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศว่า
โดยท่เี ปน็ การสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าดว้ ยทะเบยี นพาณิชย์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา
ผู้แทนราษฎร ดงั ตอ่ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ ้เี รยี กว่า “พระราชบัญญตั ิทะเบยี นพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๙๙”

มาตรา ๒ พระราชบัญญตั นิ ี้ให้ใช้บงั คับตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ
(๑) พระราชบญั ญัติทะเบยี นพาณชิ ย์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) พระราชบญั ญัตทิ ะเบียนพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๙๐
(๓) บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนท่ีมีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซ่ึง
ขดั หรือแยง้ กับบทแห่งพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอานาจแต่งตั้ง
พนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกาหนดอัตราค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ี และกาหนด
กจิ การอ่นื ๆ เพอ่ื ปฏบิ ัติการให้เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

[ดปู ระกาศกระทรวงพาณชิ ย์ เร่อื ง แต่งตง้ั พนกั งานเจา้ หน้าที่และนายทะเบียนพาณิชย์ (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๒]
[ดูประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การต้ังสานักงานทะเบียนพาณิชย์ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และ
นายทะเบยี นพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๕๒]
[ดปู ระกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การต้งั สานักงานทะเบยี นพาณิชย์แตง่ ตั้งพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีและนาย
ทะเบยี นพาณชิ ย์ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๓]
กฎกระทรวงนัน้ เมือ่ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้
[ดกู ฎกระทรวง ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติทะเบียนพาณชิ ย์ พ.ศ. 2499]

หมวด ๑
บททั่วไป

มาตรา ๕ ในพระราชบญั ญัติน้ี

-๒-

(๑) “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
(๒) “นายทะเบยี นพาณชิ ย์” หมายความวา่ พนักงานเจา้ หน้าทซี่ ึง่ รฐั มนตรไี ด้แตง่ ต้ังใหเ้ ป็นผ้มู ีหนา้ ที่รบั
จดทะเบยี นตามพระราชบญั ญัติน้ี
(๓) “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคลซึ่งรัฐมนตรีได้แต่งต้ังให้เป็นผู้ปฏิบัติการตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี
(๔) “ผูป้ ระกอบพาณิชยกิจ” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนติ ิบคุ คลซึ่งประกอบพาณชิ ยกจิ เป็น
อาชพี ปกติ และให้หมายความรวมทั้งผู้เป็นหนุ้ สว่ นทไี่ ม่จากัดความรับผดิ กรรมการ หรือผู้จดั การดว้ ย
(๕) “สานกั งาน” หมายความวา่ สถานท่ซี ง่ึ ใชป้ ระกอบพาณิชยกิจเปน็ ปกติ
[ดูประกาศกระทรวงพาณชิ ย์ เรือ่ ง การตั้งสานักงานทะเบียนพาณิชย์ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหนา้ ทแ่ี ละ
นายทะเบยี นพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๕๒]
[ดูประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การต้งั สานักงานทะเบียนพาณิชยแ์ ต่งตงั้ พนักงานเจ้าหนา้ ท่แี ละนาย
ทะเบยี นพาณชิ ย์ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๓]

มาตรา ๖ ใหถ้ อื กจิ การดังต่อไปนีเ้ ป็นพาณิชยกจิ ตามความหมายแห่งพระราชบญั ญัติน้ี
(๑) การซ้ือ การขาย การขายทอดตลาด การแลกเปล่ียน
(๒) การใหเ้ ช่า การให้เชา่ ซอื้
(๓) การเปน็ นายหนา้ หรือตวั แทนค้าต่าง
(๔) การขนสง่
(๕) การหตั ถกรรม การอตุ สาหกรรม
(๖) การรบั จา้ งทาของ
(๗) การให้กู้ยมื เงิน การรับจานา การรับจานอง
(๘) การคลังสินค้า
(๙) การรับแลกเปลยี่ นหรอื ซ้ือขายเงนิ ตราต่างประเทศ การซ้ือ หรอื ขายตัว๋ เงนิ การธนาคาร การ
เครดติ ฟองซิเอร์ การโพยกว๊ น
(๑๐) การรับประกนั ภยั
(๑๑) กจิ การอื่นซึ่งกาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
[ดพู ระราชกฤษฎีกากาหนดกิจการเปน็ พาณชิ ยกจิ พ.ศ. ๒๕๔๖]

มาตรา ๗ พระราชบัญญัตนิ ้ีมิใหใ้ ชบ้ ังคบั แก่
(๑) การค้าเร่ การคา้ แผงลอย
(๒) พาณิชยกจิ เพ่ือการบารุงศาสนาหรือเพื่อการกศุ ล
(๓) พาณิชยกจิ ของนติ บิ ุคคลซงึ่ ไดม้ ีพระราชบญั ญัติหรอื พระราชกฤษฎกี าจัดต้ังขึน้
(๔) พาณชิ ยกิจของกระทรวง ทบวง กรม
(๕) พาณชิ ยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์

-๓-

(๖) พาณิชยกจิ ซ่ึงรัฐมนตรีได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
[ดปู ระกาศกระทรวงพาณิชย์ ฉบบั ที่ ๘๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕) เรอ่ื งกาหนดพาณชิ ยกิจที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับ
ของกฎหมายว่าด้วยทะเบยี นพาณิชย์]
[ดปู ระกาศกระทรวงพาณชิ ย์ ฉบับที่ ๙๓ (พ.ศ. ๒๕๒๐) เรอื่ ง กาหนดพาณิชยกิจท่ไี มอ่ ยู่ภายใตบ้ งั คับ
แหง่ พระราชบญั ญตั ทิ ะเบยี นพาณชิ ย์ พ.ศ. ๒๔๙๙]
[ดูประกาศกระทรวงพาณชิ ย์ เรอ่ื ง ใหผ้ ู้ประกอบพาณิชยกจิ ตอ้ งจดทะเบยี นพาณชิ ย์ (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๓]

หมวด ๒
การจดทะเบียนพาณิชย์

มาตรา ๘ ให้รัฐมนตรีมีอานาจกาหนดเป็นคร้ังคราวโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาว่า พาณิชยกิจ
ใดตามทรี่ ะบไุ ว้ในมาตรา ๖ ในทอ้ งทใี่ ด ผปู้ ระกอบพาณิชยกจิ จะต้องจดทะเบยี นพาณชิ ย์

มาตรา ๙๑ ให้กรมพัฒนาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ เป็นสานกั งานกลางทะเบียนพาณิชย์มหี น้าที่
กากบั ดแู ลการรับจดทะเบยี นพาณิชยต์ ามพระราชบัญญตั นิ ี้

ใหก้ รุงเทพมหานคร เมอื งพัทยา และองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดเป็นสานักงานทะเบียนพาณิชย์ เพือ่ รับ
จดทะเบียนพาณชิ ย์ในทอ้ งทขี่ องตน

ให้รัฐมนตรีมีอานาจกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นท่ีมีความพร้อมเป็นสานักงานทะเบียน
พาณิชย์เพ่ือรับจดทะเบียนพาณิชย์ในท้องท่ีของตนได้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในการนี้ให้องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดยังคงมีอานาจรับจดทะเบียนพาณิชย์เฉพาะในท้องที่นอกเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รัฐมนตรี
ประกาศกาหนด

เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมสถิติและทราบหลักฐานของผปู้ ระกอบพาณิชยกิจบางประเภท ให้รัฐมนตรี
มีอานาจกาหนดให้กรมพัฒนาธุรกจิ การคา้ เป็นสานักงานทะเบียนพาณิชย์ เพือ่ รับจดทะเบียนพาณิชยกิจตามประเภท
ทรี่ ฐั มนตรีประกาศกาหนดได้ โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

[ดปู ระกาศกระทรวงพาณิชย์ เรอ่ื ง การต้ังสานักงานทะเบียนพาณชิ ย์ แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่แี ละ
นายทะเบียนพาณชิ ย์ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๒]

[ดปู ระกาศกระทรวงพาณชิ ย์ เรอ่ื ง การตั้งสานักงานทะเบยี นพาณิชย์แต่งตัง้ พนักงานเจา้ หน้าที่และนาย
ทะเบียนพาณิชย์ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๓]

มาตรา ๑๐ การจดทะเบียนนั้น ผู้ประกอบพาณชิ ยกิจต้ังสานกั งานแหง่ ใหญ่อยู่ในทอ้ งท่ีใด ใหจ้ ดทะเบียน
ณ สานกั งานทะเบียนพาณชิ ย์ในท้องท่ีนั้น

ถา้ สานักงานแห่งใหญ่ต้ังอยู่ในต่างประเทศ และมาประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย สานักงานสาขา
ใหญต่ ้ังอยูใ่ นท้องท่ีใด ใหจ้ ดทะเบยี น ณ สานกั งานทะเบยี นพาณิชยใ์ นท้องท่ีนน้ั

๑ มาตรา ๙ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั ทิ ะเบียนพาณชิ ย์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

-๔-

ในกรณีที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้ารับจดทะเบียนพาณิชยกิจประเภทใด ให้
ผ้ปู ระกอบพาณิชยกิจประเภทดังกล่าวจดทะเบียน ณ สานกั งานทะเบียนพาณิชย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในท้องที่ที่
สานกั งานแหง่ ใหญ่หรือสานักงานสาขาใหญ่ตัง้ อยู่ แลว้ แตก่ รณี๒

มาตรา ๑๑ ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจยื่นคาขอจดทะเบียนพาณิชย์ ณ สานักงานทะเบียนพาณิชย์แห่ง
ท้องท่ตี ามแบบท่กี าหนดในกฎกระทรวง ภายในสามสิบวันนับแต่วันทีร่ ฐั มนตรไี ด้ประกาศตามมาตรา ๘

[ดูกฎกระทรวง ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.
2499]

ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดประกอบพาณิชยกิจภายหลังวันท่ีรัฐมนตรีได้ประกาศตามมาตรา ๘ ให้ยื่น
คาขอจดทะเบียนพาณชิ ยภ์ ายในสามสิบวันนับแต่วนั ทเี่ ริ่มประกอบพาณิชยกจิ น้นั

กาหนดเวลาทีก่ ลา่ วในมาตราน้ี ถ้ารัฐมนตรเี ห็นเปน็ การสมควรกใ็ หม้ ีอานาจประกาศขยายเวลาตอ่ ไปอีกได้

มาตรา ๑๒ การจดทะเบียนพาณชิ ย์นั้น ใหม้ ีรายการ ดังต่อไปนี้
(๑) ช่ือ อายุ เชอ้ื ชาติ สัญชาติ และตาบลทอี่ ยู่ของผ้ปู ระกอบพาณิชยกจิ
(๒) ชื่อทใ่ี ชใ้ นการประกอบพาณชิ ยกจิ
(๓) ชนิดแห่งพาณิชยกจิ
(๔) จานวนเงินทุนซ่งึ นามาใชใ้ นการประกอบพาณชิ ยกิจเปน็ ประจา
(๕) ท่ตี ั้งสานักงานแห่งใหญ่ สาขา โรงเกบ็ สินคา้ และตัวแทนคา้ ต่าง
(๖) ชื่อ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ ตาบลที่อยู่ และจานวนทุนลงหุ้นของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน และ
จานวนเงนิ ทนุ ของหา้ งห้นุ ส่วน
(๗) จานวนเงินทุน จานวนหุ้น และมูลค่าหุ้นของบริษัทจากัด จานวน และมูลค่าหุ้นท่ีบุคคลแต่ละ
สญั ชาติถืออยู่
(๘) วันที่เร่มิ ต้นประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย
(๙) วันขอจดทะเบยี นพาณชิ ย์
(๑๐) ชื่อที่ใช้ในการประกอบพาณิชยกิจ ชอ่ื สญั ชาติ และตาบลที่อยู่ของผโู้ อนพาณิชยกิจให้ วนั ท่ี และ
เหตทุ ่ไี ดร้ บั โอน

มาตรา ๑๓ การเปล่ยี นแปลงรายการใด ๆ ตามทรี่ ะบุไว้ในมาตรา ๑๒ กด็ ี การเลิกประกอบพาณิชยกิจ
โดยเหตุใด ๆ กด็ ี ให้ย่นื คาขอจดทะเบียน ณ สานักงานทะเบียนพาณิชย์แหง่ ท้องที่ตามแบบท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
ภายในสามสบิ วนั นับแตว่ ันเปลยี่ นแปลงหรือเลิก

[ดูกฎกระทรวง ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.
2499]

๒ มาตรา ๑๐ วรรคสาม เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตทิ ะเบียนพาณิชย์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

-๕-

มาตรา ๑๔ เม่อื นายทะเบียนพาณิชย์ได้รับคาขอจดทะเบียน และเห็นว่าคาขอนั้นถูกต้องตามพระราชบัญญัติ
กฎกระทรวง และประกาศซ่ึงออกตามพระราชบัญญัติน้ีแล้ว ก็ให้รับจดทะเบียนไว้และให้ออกใบทะเบียนพาณิชย์
ให้แกผ่ ้ขู อ

ถ้าใบทะเบียนพาณิชย์สูญหาย ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจย่ืนคาขอรับใบแทนใบทะเบียนพาณิชย์ภายใน
สามสิบวนั นบั แต่วนั ที่สูญหาย

ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจแสดงใบทะเบยี นพาณิชย์ หรอื ใบแทนใบทะเบยี นพาณิชย์ไว้ ณ สานักงานในที่
เปดิ เผยซ่ึงอาจเหน็ ไดง้ ่าย

มาตรา ๑๕ เมื่อได้จดทะเบียนพาณิชย์แล้ว ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจจัดให้มีป้ายช่ือท่ีใช้ในการประกอบ
พาณชิ ยกจิ ไวท้ ห่ี นา้ สานกั งานแห่งใหญ่และสานกั งานสาขาโดยเปิดเผย ภายในสามสิบวนั นับแต่วันทีไ่ ดจ้ ดทะเบยี น

ป้ายชื่อนใี้ ห้เขยี นเป็นอักษรไทย อ่านไดง้ ่ายและชดั เจน และจะมีอักษรตา่ งประเทศด้วยกไ็ ด้ ทง้ั น้ี ไมว่ ่า
จะกระทาบนแผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นกระจก กาแพง หรือผนงั

ชือ่ ในป้ายก็ดี ในเอกสารใด ๆ ก็ดี ต้องใชใ้ ห้ตรงกับชือ่ ที่จดทะเบียนไว้ และถ้าเป็นสานกั งานสาขา ต้อง
มคี าว่า “สาขา” ไว้ด้วย

มาตรา ๑๖ ให้มีกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง มีจานวนไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรี
แต่งตั้ง มีอานาจหน้าท่ีพิจารณาและให้คาแนะนาแก่รฐั มนตรีในการถอนใบทะเบียนพาณิชย์ของผู้ประกอบพาณิชยกิจ
ซึ่งกระทาการฉ้อโกงประชาชนปนสินค้าโดยเจตนาทุจริต ปลอมสินค้า หรือกระทาการทุจริตอื่นใดอย่างร้ายแรงใน
การประกอบพาณิชยกจิ และใหม้ อี านาจพจิ ารณาและให้คาแนะนาในการรบั จดทะเบยี นพาณิชย์ใหม่ดว้ ย

[ดูประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการถอนใบทะเบียนพาณิชย์ของ
ผู้ประกอบพาณชิ ยกจิ ]

เมื่อรัฐมนตรีได้รับคาแนะนาของคณะกรรมการตามความในวรรคแรก รัฐมนตรีจะถอนใบทะเบียน
พาณิชย์ หรอื สงั่ ใหร้ บั จดทะเบียนพาณชิ ย์ใหมก่ ไ็ ด้ แล้วแต่กรณี

หา้ มมิให้ผู้ถูกสั่งถอนใบทะเบียนพาณิชยป์ ระกอบพาณิชยกิจต่อไป เวน้ แต่รัฐมนตรจี ะส่ังให้รับจดทะเบียน
พาณิชยใ์ หม่

มาตรา ๑๗ ใหน้ ายทะเบียนพาณิชยม์ ีอานาจออกคาสั่งเรียกผปู้ ระกอบพาณิชยกิจมาสอบสวนข้อความ
อันเก่ียวกับการจดทะเบียน และในระหว่างเวลาทางานให้นายทะเบียนพาณิชย์ หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจเข้า
ไปทาการตรวจสอบในสานักงานของผู้ประกอบพาณิชยกิจ เพื่อให้การเป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี ผู้ประกอบ
พาณชิ ยกจิ ตอ้ งอานวยความสะดวกแกน่ ายทะเบียนพาณชิ ยแ์ ละพนักงานเจ้าหนา้ ทตี่ ามสมควร

มาตรา ๑๘ ผู้ใดประสงค์จะตรวจดู หรือขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่คัดสาเนาและรับรองสาเนาเอกสาร
เกีย่ วกบั การจดทะเบียนตามพระราชบญั ญตั ินี้ มีสทิ ธิทจ่ี ะทาได้ในเมื่อเสียค่าธรรมเนยี มตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวงแล้ว

-๖-

หมวด ๓
บทลงโทษ

มาตรา ๑๙ ผปู้ ระกอบพาณชิ ยกจิ ผู้ใด
(๑) ไมจ่ ดทะเบียนตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
(๒) แสดงรายการเทจ็ หรอื
(๓) ไม่มาให้นายทะเบยี นพาณิชย์สอบสวน ไมย่ อมให้ถ้อยคา หรอื ไม่ยอมใหน้ ายทะเบยี นพาณชิ ยห์ รือ
พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีเข้าไปตรวจสอบตามมาตรา ๑๗
มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท และในกรณีตาม (๑) อันเป็นความผิดต่อเนื่องกัน
ใหป้ รบั อกี วนั ละไมเ่ กินหน่งึ ร้อยบาท จนกวา่ จะได้ปฏิบัตใิ ห้เป็นไปตามพระราชบญั ญัตินี้
มาตรา ๒๐ ผปู้ ระกอบพาณิชยกิจผูใ้ ดละเลยไม่ปฏิบัตติ ามมาตรา ๑๔ วรรคสอง หรอื วรรคสาม หรือ
มาตรา ๑๕ มีความผดิ ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ สองร้อยบาท และในกรณีอันเปน็ ความผดิ ต่อเนอ่ื งกนั ให้ปรับอกี วัน
ละไมเ่ กนิ ยสี่ บิ บาท จนกวา่ จะได้ปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้
มาตรา ๒๑ ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๖ วรรคสาม มีความผิดต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกนิ หนึ่งหมนื่ บาท หรือจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรอื ทง้ั ปรบั ท้ังจา

หมวด ๔
บทเฉพาะกาล

มาตรา ๒๒ การประกอบพาณิชยกิจซ่ึงจดทะเบียนไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้เป็นอัน
ใช้ได้ จนกว่ารัฐมนตรีจะได้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาให้ยกเลิกการจดทะเบียนน้นั และเม่ือได้ประกาศยกเลิกการ
จดทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่ใดแล้ว ให้ผู้ประกอบพาณิชยกิจซึ่งถูกยกเลิกการจดทะเบียนพาณิชย์ในท้องที่น้ันยื่น
คาขอจดทะเบียนใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่วนั ประกาศ

กาหนดเวลาดงั กล่าวขา้ งต้นนัน้ ถา้ รฐั มนตรีเหน็ เปน็ การสมควร กใ็ หม้ ีอานาจประกาศขยายเวลาต่อไปอีกได้

ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม
นายกรฐั มนตรี

-๗-

อัตราคา่ ธรรมเนยี ม

เลขที่ รายการ บาท
๕๐
๑ คา่ ธรรมเนียมการจดทะเบียนพาณิชย์ ๒๐
๒๐
๒ ค่าธรรมเนยี มการจดทะเบยี นเปลย่ี นแปลงรายการ ครงั้ ละ ๓๐

๓ ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนเลกิ ประกอบพาณชิ ยกจิ ๒๐

๔ คา่ ธรรมเนียม ขอใหพ้ นักงานเจา้ หนา้ ท่ีออกใบแทนใบทะเบียนพาณิชย์ ฉบับละ ๓๐

๕ คา่ ธรรมเนยี มขอตรวจดูเอกสารเกีย่ วกบั การจดทะเบียนพาณชิ ย์ของผปู้ ระกอบพาณชิ ยกิจราย ครง้ั ละ
หน่ึง

๖ ค่าธรรมเนยี มขอให้พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีคัดสาเนาและรับรองสาเนาเอกสารเกี่ยวกับการจด ฉบบั ละ
ทะเบยี นพาณิชย์ ของผปู้ ระกอบพาณชิ ยกิจรายหนง่ึ


Click to View FlipBook Version