The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 การลงทุน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by su.chuseng, 2019-06-04 04:00:37

หน่วยที่ 3 การลงทุน

หน่วยที่ 3 การลงทุน

หน่วยที่ 3
การลงทนุ

“การลงทนุ (Investments)” การลงทนุ เป็นการนาเอาทรพั ยส์ นิ ที่บคุ คลมอี ยูไ่ ปดาเนนิ การในทางทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ
ประโยชน์ ซง่ึ จะใหผ้ ลตอบแทนกลบั คนื มาในชว่ งเวลานนั้ ซง่ึ การลงทุนแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คอื

1) การลงทุนในสนิ ทรพั ย์ทมี่ ตี วั ตน (Tangible Investment)
2) การลงทนุ ในสนิ ทรพั ยท์ ไี่ มม่ ตี วั ตน (Intangible Investments)

ทางเลอื กใหต้ ดั สนิ ใจหลายวธิ สี ามารถหาขอ้ มลู การลงทุนไดด้ งั น้ี
1. แหล่งขอ้ มลู ภายในกจิ การ เชน่ งบการเงนิ รายงานทางการเงนิ โครงการตา่ งๆ รวมทงั้ การ

วเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางการเงนิ เป็นตน้
2. การใหค้ าปรกึ ษาดา้ นการลงทนุ จากหน่วยงานอ่นื เชน่ ปรกึ ษาผเู้ ชย่ี วชาญ การสมั มนา

เป็นตน้
3. หน่วยงานทเี่ สนอบรกิ ารข่าวสารทางการเงนิ และขอ้ มลู การลงทุน เชน่ ตลาดหลกั ทรพั ยฯ์

เป็นตน้
4. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การลงทุนทเ่ี สนอลงในสง่ิ ตพี มิ พ์ต่างๆ เชน่ หนงั สอื พมิ พ์ เป็นตน้
5. เอกสารและขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากนายหนา้ และตวั แทน เป็นตน้

ผลตอบแทนจากการลงทนุ มหี ลายรปู แบบ ไดแ้ ก่
1.รายไดต้ ามปกติ (Current Income) ไดแ้ ก่ ดอกเบย้ี เงนิ ปันผลในกรณที บี่ ุคคลซอ้ื พนั ธบตั รหรอื ลงทนุ ใน

หนุ้ ตา่ งๆ ซงึ่ กาหนดเวลากจ็ ะไดร้ บั ดอกเบย้ี หรอื เงนิ ปันผลตามทรี่ ะบไุ ว้
2 กาไรจากการซ้อื ขายหนุ้ (Capital Gains) ในกรณีหนุ้ สามญั ทบี่ ุคคลลงทุนซ้อื ไวม้ รี าคาสงู ขน้ึ เมอ่ื ขาย

ออกไปแลว้ จะไดก้ าไร
3. คา่ เชา่ (Rent) ในการลงทุนซอ้ื ทรพั ยส์ นิ เชน่ ทดี่ นิ บา้ น คอนโดมเิ นยี ม ทอ่ี ยู่อาศยั อ่นื ๆ เมอ่ื นาไปให้

ผอู้ น่ื เชา่ กจ็ ะมรี ายไดค้ ่าเชา่ ซงึ่ เป็นรายไดท้ กี่ ลบั คนื มาสเู่ จา้ ของ
4. ผลตอบแทนอน่ื ๆ (Others) เชน่ ซ้อื หนุ้ สามญั จะมสี ทิ ธอิ อกเสยี งเลอื กคณะกรรมการบรษิ ทั และถา้ ถอื หนุ้

ไวม้ ากจะมโี อกาสไดร้ บั เลอื กเป็นผบู้ รหิ ารซง่ึ สามารถกาหนดนโยบายบรษิ ทั ได้ หรอื สทิ ธใิ นการซ้อื ขายหนุ้ ใหมใ่ น
ราคาพเิ ศษ เป็นตน้ ผลู้ งทนุ ควรนึกถงึ ผลตอบแทนทจี่ ะไดร้ บั เป็นอตั รากเ่ี ปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยคานึงถงึ อตั ราเงนิ เฟ้อไว้
ดว้ ย เพราะมผี ลกระทบตอ่ ผลตอบแทนในการลงทนุ ดงั นนั้ ผลู้ งทุนควรใหค้ วามสนใจกบั อตั ราตอบแทนทแ่ี ทจ้ รงิ
(Real rate of return) มากกวา่ อตั ราผลตอบแทนปกติ (Nominal rate of return) เชน่ การลงทนุ เสนอให้

ผลตอบแทน (Nominal rate of return) 10% ซง่ึ คาดคะเนวา่ อตั ราเงนิ เฟ้อจะเกดิ ขน้ึ ปีละ 6% ดงั นนั้ ผลตอบแทน
แทจ้ รงิ ทไ่ี ดร้ บั จะเป็น 4% เทา่ นนั้

หลกั การลงทนุ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเสยี่ งนอ้ ยทส่ี ดุ กค็ วรจะมหี ลกั ในการลงทุน ดงั น้ี
1) ความปลอดภยั ของเงนิ ลงทนุ
2) เสถยี รภาพของรายได้
3) ความเจรญิ เตบิ โตของเงนิ ลงทนุ
4) ความคลอ่ งตวั ในการซอ้ื ขาย
5) การกระจายเงนิ ลงทุน
6) หลกั เกย่ี วกบั ภาษี

ธนาคารพาณิชย์มหี น้าทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นการเงนิ ตา่ งๆ ดงั น้ี
1) การรบั ฝากเงนิ อาจจะแบง่ การรบั ฝากเงนิ ของธนาคารพาณชิ ย์ไดด้ งั น้ี
1.1 เงนิ ฝากกระแสรายวนั (Current Account หรอื Ahecking Account) หรอื เงนิ ฝากเผอ่ื เรยี ก (Demand

Deposit)
1.2 เงนิ ฝากออมทรพั ย์ (Savings Deposit)
1.3 เงนิ ฝากประจา (Time Deposit)

2) การใหก้ ยู้ มื อาจแบง่ ได้ 3 ลกั ษณะ
2.1 การใหก้ ยู้ มื โดยตรง (Loan)
2.2 การใหเ้ บกิ เงนิ เกนิ บญั ชี หรอื O.D. (Overdraft)
2.3 การซ้อื ลดตวั ๋ เงนิ (Discounting Bill)

3) การโอนเงนิ มหี ลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การโอนเงนิ ภายในทอ้ งถน่ิ เดยี วกนั และการโอนเงนิ จากทอ้ งถน่ิ หน่ึง
มายงั อกี ทอ้ งถนิ่ หนง่ึ หรอื การโอนเงนิ จากประเทศหนง่ึ มายงั อกี ประเทศหนง่ึ ไมว่ า่ จะเป็นการโอนไปเพอ่ื ตวั เอง
หรอื โอนไปใหบ้ คุ คลอ่นื กต็ าม ธนาคารสามารถใหบ้ รกิ ารไดห้ ลายรปู แบบดว้ ยกนั เชน่ แบบธรรมดา เป็นการโอน
ผา่ นดว้ ยเชค็ หรอื ดราฟต์ธนาคาร และการโอนเงนิ แบบเรว็ ทนั ใจเป็นการโอนเงนิ ทางโทรศพั ทท์ างไกล และการโอน
โดยผา่ นศนู ย์คอมพวิ เตอรแ์ บบออนไลน์

4) การเรยี กเกบ็ เงนิ เป็นหน้าทเ่ี กย่ี วเน่อื งกบั การโอนเงนิ ธนาคารจะเรยี กเกบ็ เงนิ ตามเชค็ ตวั ๋ เงนิ หรอื
ดราฟต์ทค่ี รบกาหนด ซงึ่ เป็นการอานวยความสะดวกใหแ้ กล่ กู คา้ เพอ่ื ทลี่ ูกคา้ จะไดไ้ มต่ อ้ งเสยี เวลาไปเกบ็ เงนิ ดว้ ย
ตนเอง เพราะธนาคารสว่ นมากมตี วั แทนหรอื สาขาอยูใ่ นจงั หวดั ต่างๆ รวมทงั้ ในตา่ งประเทศดว้ ย ทาใหส้ ามารถ
เรยี กเกบ็ เงนิ ไดโ้ ดยสะดวกรวดเรว็ และประหยดั

5) การใหเ้ ช่าตนู้ ริ ภยั ปกตธิ นาคารจะมหี อ้ งมนั ่ คงไว้ เพ่อื เกบ็ รกั ษาของมคี า่ ของธนาคาร และเพ่อื ใหล้ กู คา้
เชา่ สาหรบั เกบ็ ของมคี า่ หรอื ของสาคญั ๆ โดยลกู คา้ สามารถทาสญั ญาเชา่ ตนู้ ิรภยั เพ่อื เกบ็ ทรพั ย์สนิ อนั มคี ่า เชน่
เครอ่ื งเพชร ทองรปู พรรณ โฉนด สญั ญาตา่ งๆ

6) การซอ้ื ขายเงนิ ตราตา่ งประเทศ หมายถงึ การทธี่ นาคารทาหน้าทซี่ อ้ื ขายแลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศ
เมอ่ื ประชาชนตอ้ งการเงนิ ตราตา่ งประเทศกซ็ อ้ื ไดจ้ ากธนาคารพาณชิ ย์ตามเงอ่ื นไขทร่ี ะบไุ ว้ ถา้ ผใู้ ดตอ้ งการขาย
เงนิ ตราตา่ งประเทศทตี่ นมใี นครอบครอง กส็ ามารถนาไปขายใหแ้ กธ่ นาคารพาณิชย์ได้

7) การบรกิ ารอน่ื ๆ ธนาคารพาณชิ ยย์ งั ใหบ้ รกิ ารอ่นื ๆ แกล่ กู คา้ อีก เชน่ บรกิ ารบตั รเครดติ บรกิ ารหนงั สอื
คา้ ประกนั บรกิ ารใหค้ าปรกึ ษาดา้ นธุรกจิ และการลงทุน บรกิ ารรบั ชาระค่าสาธารณูปโภค เป็นตน้

ตราสารหน้ี (Debt Instrument) คอื ตราสารทางการเงนิ ทผี่ อู้ อกเรยี กวา่ ผกู้ ู้ (ลกู หน้ี) มขี อ้ ผกู พนั ทาง
กฎหมายจะจา่ ยผลตอบแทนในรปู ดอกเบย้ี และเงนิ ตน้ หรอื ประโยชน์อ่นื ๆ ใหแ้ กผ่ ซู้ อ้ื เรยี กวา่ ผใู้ หก้ ู้ (เจา้ หน้ี) เมอ่ื
ครบเวลาท่กี าหนด จะมที งั้ ระยะสนั้ ปานกลางและระยะยาว แบง่ ออก 2 แหล่งคอื

1) ตราสารหน้ีภาครฐั ไดแ้ ก่ พนั ธบตั รรฐั บาล (Government Bond) พนั ธบตั รรฐั วสิ าหกจิ พนั ธบตั ร
ธนาคารแหง่ ประเทศไทย พนั ธบตั รกองทุนเพอ่ื การฟ้ืนฟูและพฒั นาระบบสถาบนั การเงนิ ตวั ๋ เงนิ คลงั ตราสารหน้ี
ภาครฐั จะมคี วามเสยี่ งต่า และมอี ตั ราผลตอบแทนต่า โดยจะมอี ายุการลงทุนระยะยาว เพ่อื มใิ หเ้ ป็นภาระของรฐั ใน
การบรหิ ารและจดั การหน้ี ยกเวน้ ตวั ๋ เงนิ คลงั ซง่ึ รฐั บาลออกเพอ่ื ใชใ้ นการกยู้ มื เงนิ ระยะสนั้ ไมเ่ กนิ 180 วนั หรอื
เพ่อื รกั ษาสภาพคลอ่ งสว่ นเกนิ ในตลาดเงนิ เพ่อื รกั ษาระดบั อตั ราดอกเบย้ี เท่านนั้

2) ตราสารหน้ีภาคเอกชน ไดแ้ ก่
2.1 หนุ้ กู้ (Debenture) มลี กั ษณะและคุณสมบตั ติ ามสถานะของการเป็นเจา้ หน้ี
2.2 หนุ้ กมู้ ปี ระกนั (Secured Debt) มกี ารค้าประกนั หน้ีโดยบคุ คลทส่ี าม หรอื มกี ารวางหลกั ทรพั ย์ไวเ้ ป็น

ประกนั การชาระหน้ี ผลู้ งทุนทรงสทิ ธขิ องความเป็นเจา้ หน้ีเหนือกวา่ เจา้ หน้ีรายอน่ื
2.3 หนุ้ กไู้ มม่ ปี ระกนั (Non-secured Debt) ปลอดการค้าประกนั และปลอดหลกั ทรพั ยท์ วี่ างไวเ้ ป็น

ประกนั การชาระหน้ี ผลู้ งทุนทรงสทิ ธขิ องความเป็นเจา้ หน้ีดอ้ ยกวา่ หนุ้ กมู้ ปี ระกนั
2.4 หนุ้ กไู้ มด่ อ้ ยสทิ ธิ (Senior Debt) ผลู้ งทุนทรงสทิ ธขิ องความเป็นเจา้ หน้ีเท่าเทยี มกบั เจา้ หน้ีรายอน่ื แต่

ดอ้ ยกว่าหนุ้ กมู้ ปี ระกนั
2.5 หนุ้ กดู้ อ้ ยสทิ ธิ (Subordinated Debt) ผลู้ งทุนทรงสทิ ธขิ องความเป็นเจา้ หน้ี เป็นรองเจา้ หน้ีรายอน่ื ท่ี

ไมด่ อ้ ยสทิ ธิ คอื ไดร้ บั ชาระหน้ีคนื หลงั สดุ
2.6 ตวั ๋ แลกเงนิ (Bill of Exchange) คอื ตราสารการเงนิ ระยะสนั้ ทบี่ คุ คลรายหนึ่งสงั ่ ใหบ้ คุ คลอกี รายหนง่ึ

จา่ ยเงนิ ตามจานวนทรี่ ะบไุ วใ้ นตวั ๋ แลกเงนิ นนั้ ใหแ้ กบ่ คุ คลอกี รายหนง่ึ ในวนั ทก่ี าหนดบนหนา้ ตวั ๋ แลกเงนิ นนั้ ตวั ๋
แลกเงนิ สามารถซอ้ื ขายเปลย่ี นมอื ไดใ้ นตลาดเงนิ สว่ นใหญ่จะมธี นาคารหรอื สถาบนั การเงนิ คา้ ประกนั หรอื รบั รอง
หรอื รบั อาวลั หรอื สลกั หลงั อยา่ งไมม่ เี งอ่ื นไข

2.7 ตวั ๋ สญั ญาใชเ้ งนิ (Promissory Note) คอื ตราสารการเงนิ ระยะสนั้ ทอี่ อกโดยบคุ คลรายหน่งึ สญั ญากบั
บคุ คลอกี รายหนึง่ วา่ จะใชเ้ งนิ จานวนทรี่ ะบบุ นหนา้ ตวั ๋ สญั ญาใชเ้ งนิ พรอ้ มดว้ ยดอกเบย้ี ใหใ้ นวนั ทกี่ าหนด ตวั ๋
สญั ญาใชเ้ งนิ โดยส่วนใหญ่จะแลกเปลยี่ นมอื ไมไ่ ด้ (Non-Negotiable) และแสดงขอ้ ความไวบ้ นหนา้ ตวั ๋ แต่ถา้ ไมม่ ี

การแสดงไวด้ งั กล่าว และตวั ๋ สญั ญาใชเ้ งนิ นนั้ มธี นาคารหรอื สถาบนั การเงนิ ค้าประกนั หรอื รบั รอง หรอื รบั อาวลั ตวั ๋
สญั ญาใชเ้ งนิ นนั้ กส็ ามารถนามาซ้อื ขายในตลาดเงนิ ได้

2.8 บตั รเงนิ ฝากแลกเปลย่ี นมอื ได้ (Negotiable Certificate of Deposit) คอื ตราสารแสดงการฝากเงนิ กบั
ธนาคาร สามารถแลกเปลยี่ นมอื ไดใ้ นตลาดรอง หากพจิ ารณาจากความสามารถในการชาระหน้ี ตราสารหน้ี
ภาคเอกชนจะมคี วามเสยี่ งมากกวา่ ตราสารหน้ีของภาครฐั แตต่ ราสารหน้ีภาคเอกชนจะมอี ตั ราผลตอบแทนสงู กวา่
และมอี ายกุ ารลงทนุ ใหเ้ ลอื กมาก ทงั้ ระยะสนั้ ปานกลางและระยะยาว

ลงทุนในตราสารทุน โดยตราสารทนุ (Equity Instruments) คอื ตราสารทบี่ รษิ ทั ออกใหแ้ กผ่ ถู้ อื หนุ้ เพ่อื
แสดงสทิ ธขิ องความเป็นเจา้ ของในกจิ การนนั้ แบง่ เป็น

1) หนุ้ สามญั (Common Stocks หรอื Ordinary Shares)
2) หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ (Preferred Stocks)


Click to View FlipBook Version