The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Donotus Soter, 2019-09-09 04:38:30

ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพิวเตอร์

1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)

การ เขยี นโปรแกรมเพ่ือสง่ั ให้คอมพิวเตอร์ทํางานในยคุ แรก ๆ จะต้องเขยี นด้วยภาษาซ่ึงเป็นท่ยี อมรบั ของ
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทเ่ี รียกวา่ “ภาษาเคร่ือง” ภาษานีป้ ระกอบด้วยตวั เลขล้วน ทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถทํางานได้ทนั ที ผ้ทู จ่ี ะเขยี นโปรแกรมภาษาเคร่ืองได้ ต้องสามารถจํารหสั แทนคําสง่ั ตา่ ง ๆ ได้ และ
ในการคาํ นวณต้องสามารถจําได้วา่ จํานวนตา่ ง ๆ ท่ีใช้ในการคํานวณนนั้ ถกู เก็บไว้ท่ีตาํ แหนง่ ใด ดงั นนั้
โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดในการเขยี นโปรแกรมจงึ มมี าก นอกจากนีเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ ะระบบมี
ภาษาเคร่ืองที่แตกตา่ งกนั ออก ทําให้เกิดความไมส่ ะดวกเมื่อมกี ารเปล่ยี นเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะจะต้อง
เขียน โปรแกรมใหมท่ งั้ หมด

2 ภาษาระดบั ตา่ํ (Low Level Language)

เน่ือง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาท่ีมีความย่งุ ยากในการเขยี นดงั ได้กลา่ วมาแล้ว จงึ ไมม่ ผี ้นู ิยมและมกี ารใช้
น้อย ดงั นนั้ ได้มกี ารพฒั นาภาษาคอมพิวเตอร์ขนึ ้ อกี ระดบั หนงึ่ โดยการใช้ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั
แทนการทํางาน การใช้และการตงั้ ชื่อตวั แปรแทนตําแหนง่ ท่ีใช้เกบ็ จํานวนตา่ ง ๆ ซ่งึ เป็นคา่ ของตวั แปรนนั้ ๆ
การใช้สญั ลกั ษณ์ช่วยให้การเขยี นโปรแกรมนีเ้ รียกวา่ “ภาษาระดบั ตา่ํ ”ภาษาระดบั ตา่ เป็นภาษาที่มี
ความหมายใกล้เคยี งกบั ภาษาเครื่อง มากบางครงั้ จึงเรียกภาษานีว้ า่ “ภาษาอิงเคร่ือง” (Machine –
Oriented Language) ตวั อย่างของภาษาระดบั ตาํ่ ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาท่ีใช้คําใน
อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นคําสงั่ ให้เครื่องทํางาน เชน่ ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นต้น การ
ใช้คําเหลา่ นีช้ ่วยให้การเขียนโปรแกรมงา่ ยขนึ ้ กวา่ การใช้ภาษาเคร่ืองซึ่ง เป็นตวั เลขล้วน ดงั ตารางแสดง
ตวั อย่างของภาษาระดบั ตา่ํ และภาษาเครื่องที่สงั่ ให้มกี ารบวกจํานวน ที่เกบ็ อยใู่ นหนว่ ยความจํา

3 ภาษาระดบั สงู (High Level Language)

ภาษา ระดบั สงู เป็นภาษาที่สร้างขนึ ้ เพื่อช่วยอํานวยความสะดวกในการเขยี นโปรแกรม กลา่ วคอื ลกั ษณะ
ของคําสง่ั จะประกอบด้วยคาํ ตา่ ง ๆ ในภาษาองั กฤษ ซึ่งผ้อู า่ นสามารถเข้าใจความหมายได้ทนั ที ผ้เู ขียน
โปรแกรมจงึ เขยี นโปรแกรมด้วยภาษาระดบั สงู ได้ง่ายกวา่ เขียนด้วยภาษาแอ สเซมบลีหรือภาษาเครื่อง
ภาษาระดบั สงู มมี ากมายหลายภาษา อาทิเชน่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล
(COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก(BASIC) ภาษาวชิ วลเบสกิ (Visual Basic)
ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เป็นต้น โปรแกรมทีเ่ ขยี นด้วยภาษาระดบั สงู แตล่ ะภาษาจะต้องมี
โปรแกรมที่ทําหน้าท่ีแปล ภาษาระดบั สงู ให้เป็นภาษาเคร่ือง เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรนเป็น
ภาษาเคร่ือง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเคร่ือง คาํ สง่ั หนึ่งคําสง่ั ในภาษาระดบั สงู จะถกู แปลเป็น
ภาษาเครื่องหลายคาํ สง่ั

4. ภาษาระดับสูงมาก (Very high - Level Language)

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ที่ 4 ซงึ่ เป็นภาษาระดบั สงู มาก จดั เป็นภาษาไร้กระบวนคาํ สง่ั หมายความวา่ ผ้ใู ช้
เพียงบอกแตว่ า่ ให้คอมพิวเตอร์ทําอะไร โดยไมต่ ้องบอกคอมพิวเตอร์วา่ ส่งิ นนั้ ทําอยา่ งไร เรียกวา่ เป็นภาษา
เชิงผลลพั ธ์ คือเน้นวา่ ทําอะไร ไมใ่ ช่ทําอยา่ งไร ดงั นนั้ จงึ เป็นภาษาโปรแกรมที่เขยี นง่าย

5. ภาษาธรรมชาติ

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซึ่งคล้ายกบั ภาษาพดู ตามธรรมชาติของคน การเขียนโปรแกรมง่ายที่สดุ คือ
การเขยี นคาํ พดู ของเราเองวา่ เราต้องการอะไร ไมต่ ้องใช้คาํ สงั่ งานใดๆ เลย


Click to View FlipBook Version