The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by liewthitiporn123, 2022-09-16 00:12:33

สรุปปิโตรเลียม

CFA27A3C-56C9-471F-A82A-4D6A8FD384CB

ส รุ ป เ นื้ อ ห า

ปิ โตรเลียม
Petroleum

5.1 ปิ โตรเลียม
เกิดขึ้นได้อย่างไร ?????

ซากพืชซากสัตว์ ความร้อนเเละความดัน
ทับถมในชั้นดิน ที่เหมาะสม

กลายสภาพเป็ นชั้นหินต่างๆ

ปิ โตรเลียม

น้ำมันปิ โตรเลียมเป็ นสารผสมที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ซึ่ งเกิดจากการทับถมของ

ซากพืชและสัตว์เป็ น เวลานาน ๆ นับล้านปี ความดันของดินและหินทับถมกัน
อยู่ ทำให้สารอินทรีย์ในซากพืชซากสัตว์เหล่านี้ สลายตัวโดยเชื้อจุลินทรีย์กลาย
เป็ นน้ำมันปิ โตรเลียมซึ่ งอาจอยู่ในสภาพน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติแทรก อยู่
ในชั้นหินที่มีรูพรุ นซึ่ งปิ โตรเลียมจะเข้าไปเก็บสะสมอยู่ในแหล่งกักเก็บนั้น ๆ
จนกว่าจะมีผู้สำรวจพบและ ขุดเจาะขึ้นมาใช้ ซึ่ งเมื่อนำมากลั่นลำดับส่วนจะได้

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลาย ๆ ชนิด และต่าง สถานะเป็ นของแข็ง เช่น
พาราฟิ น ยางมะตอย เป็ นต้น ซึ่ งไปใช้ประโยชน์ ต่าง ๆ กัน ในน้ำมันดิบก็มีทั้ง
ไอ โดรคาร์บอนอิ่มตัว ซึ่ งอาจมีโครงสร้างแบบเส้นตรง แบบเป็ นสาขาหรือแบบ

เป็ นวงก็ได้ ซึ่ งจะมีมวลโมเลกุล ความหนาแน่น และจุดเดือดแตกต่างกันไป
ตามองค์ ประกอบของคาร์บอนที่มีอยู่ในโมเลกุลเหล่านั้น

5.1.1 การสํารวจแหล่งปิ โตรเลียม



1. การสํารวจทางธรณี วิทยา


ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม รายงานทางธรณี วิทยา

แผนที่



จากการสำรวจแบบนี้จะช่วยให้คาดคะเน ได้ว่าจะมีโอกาสพบโครงสร้าง
และชนิดของหินที่เอื้ออำนวยต่อการเก็บกักปิ โตรเลียมใน
บริเวณนั้นมากน้ อยแค่ไหน



2. การสำรวจทางธรณี ฟิ สิกส์

- จากการวัดคลื่นควา
มสั่นสะเทือน : ทำให้ทราบรูปร่างและลักษณะโครงสร้างของ

แหล่งชั้นหินอย่างละเอียด
- จากการวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็ก : ทำให้ทราบชนิด ความหนา ขอบเขต
ความกว้าง ของแอ่งความลึกของชั้นหิน
- จากการวัดค่าแรงโน้มถ่วงของโลก : ทำให้ทราบว่าชั้นหินบริเวณนั้นเป็ นหินชนิด
ใด

ผลการสำรวจทั้ง 2 แบบจะใช้เป็ นข้อมูลเบื้อง
ต้น สำหรับค้นหาแหล่งเก็บกักปิ โตรเลียมที่
แน่นอน เพื่อทำการขุดเจาะต่อไป ซึ่ งทั้งน้ำมัน

ดิบและก๊ าซธรรมชาติก่อนจะนำไปใช้
ประโยชน์ จะต้องนำมาผ่านกระบวนแยก สาร
ผสมเพื่อให้ได้สารที่มีสมบัติเหมาะสมกับการ

ใช้งาน

5.1.2 การกลั่นนํ้ามันดิบ

ไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการากลั่นลำดับส่วนของน้ำมันดิบ

น้ำมันปิ โตรเลียมหรือน้ำมันดิบมี
ลักษณะเป็ นของเหลวหนืดมีสีดำเป็ น

สารพวกไฮโดรคาร์บอนทั้งที่อิ่มตัว
และไม่อิ่มตัวหลายชนิดปนกัน ซึ่ งมี
จุดเดือดต่างกัน จึงสามารถแยกออก
จากกันโดยวิธีการกลั่นลำดับส่วน ซึ่ ง
จะได้สารต่าง ๆ ออกมาตามจุดเดือด
ของมันจากน้อยไปหามาก ดังภาพ

กระบวนผลิตเเละกลั่นน้ำมันดิบ

ส่วนประกอบต่างๆ ที่อยู่ในน้ำมันดิบ
จะประกอบด้วย ไฮโดรคาร์บอนที่มี
จุดเดือดใกล้เคียงกัน ซึ่ งการกลั่นไม่
ได้ทำให้แต่ละชนิดระเหยออกมา แต่
เป็ นการให้ความร้อนจนสารทั้งหมด

ระเหยออกมาพร้อมกันและเก็บ
ของเหลวที่ได้จากการควบแน่นเป็ น
ส่วนตามจุดเดือดที่แตกต่างกันโดยสาร
ที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่ นอยู่ตอนล่าง
ของหอกลั่น ส่วนสารที่มีจุดเดือดต่ำจะ
ระเหยขึ้นและไปควบแน่ นที่ส่วนบน

ของหอกลั่น

ในการกลั่นปิ โตรเลียมจะได้สารต่าง ๆ ออกมาจำนวนมาก ซึ่ งพบว่าพวกที่มี
โมเลกุลสูงจะมีประโยชน์ น้อยประกอบกับปริมาณน้ำมันเบนซิ นและน้ำมัน

ดีเซลได้มีการใช้ในปริมาณมากจึงมีการปรับโครงสร้างสารต่าง ๆ ให้มี
คุณภาพใกล้เคียงกับน้ำมันเบนซิ นและดีเซล ด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้ใช้

ประโยชน์ ได้มากขึ้นดังนี้

1.กระบวนการแตกสลาย (Cracking หรือ Pyrolysis)
เป็ นกระบวนการที่ทำให้สารไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่สลายตัวเป็ นโมเลกุลเล็กโดย
ใช้อุณหภูมิสูงประมาณ 500 องศาเซลเซี ยส ความดันต่ำและมีตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น

ซิ ลิก้า - อลูมิน่า (SiO2 - Al2O3) ดังสมการ

2. รีฟอร์มมิ่ง (reforming)
เป็ นการเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอนจากสายตรงให้เป็ นสาขาหรือไฮโดรคาร์บอน
แบบวง (Cycle) ให้เป็ นพวกอะโรมาติก (วงแหวน) โดยใช้ความร้อนและตัวเร่ง

ปฏิกิริยาเช่น

3. แอลคิเลชัน (Alkylation)
เป็ นการรวมโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนพวกอัลคีนเข้าด้วยกันเกิด

เป็ นสารที่มีสายสาขาซึ่ งต้องมีตัวคะตะไลส์ด้วย เช่น

4. โอลิโกเมอร์ไรเซชัน (Oligomerization)

เป็ นการนำเอาไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวโมเลกุลขนาดเล็กมารวมตัวกันเกิดเป็ นสาร
ใหม่ที่มีจำนวนเท่าของสารเดิมโดยมีความร้อนหรือคะตะไลส์

ในกระบวนการกลั่นน้ำมันจะได้น้ำมันเบนซิ นที่เป็ นแบบกิ่งก้านสาขา ซึ่ ง
พบว่าจะมีการเผาไหม้ชาซึ่ งจะดีกว่าพวกสายตรง ซึ่ งไม่เหมาะจะใช้กับ

เครื่องยนต์ เนื่องจากเผาไหม้เร็วเกินไป จะทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่กระตุกแรง
เกิดการ “น็อค“


CH3CH2CH2CH2CH2CH 2CH3

สารตัวนี้เป็ นเชิงเพลิงที่เหมาะสมกับ

เครื่องยนต์ก๊าซโซลีน คือ เกิดการเผาไหม้ได้
ดี เครื่องยนต์ไม่กระตุกและสารประกอบ

ไฮโดรคาร์บอนที่ไม่เหมาะสมกับเครื่องยนต์
คือ n-heptane (C7H16) ที่คาร์บอนต่อกัน
เป็ นสายตรงไม่มีสาขา ซึ่ งมีโครงสร้างดังนี้

น้ำมันเบนซิ นที่จะใช้เป็ น C|H3 CH2—
ไฮโดรคาร์บอนที่ในโมเลกุลมีคาร์บอน CH3— C| — CH — CH3
|
5-10 อะตอม พบว่า ตัวที่เหมาะสม คือไอ CH3 CH3
โซออกเทน (C8H18) หรือ 2,2,4


- Trimethyl pentane มีโครงสร้างดังนี้

5.1.3 การกำหนดคุณภาพของน้ำมันเบนซิ น

เลขออกเทน (Octane no.) คือ ตัวเลขที่แสดงคุณภาพของน้ำมันเบนซิ นที่มี
ประสิทธิภาพการเผาไหม้เทียบกับปริมาณของไอโซออกเทนเป็ นกรัมที่ผสม

กับเฮปเทนในน้ำมัน 100 กรัม โดยมีข้อกําหนดว่า





เลขออกเทน = ไอโซออกเทน (C8H18) + เฮปเทน (C7H16)



เช่น เลขออกเทน = 100 จะมีไอโซออกเทน = 100 g
มีเฮปเทน = 0 g



สารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่เป็ นพวกไฮโดรคาร์บอนต่างก็จะมีเลขออกเทน
เฉพาะตัว ซึ่ งต่ำกว่า 0 หรือมากกว่า 100 ก็ได้ซึ่ งสารใดมีสมบัติการเผาไหม้ดี

กว่า ไอโซออกเทนก็จะเป็ นออกเทนเกิน 100 แต่ถ้าสารใดมีสมบัติการเผา
ไหม้น้อยกว่าเฮปเทนก็จะมีเลขออกเทนต่ำกว่า 0

ดังนั้นน้ำมันที่มีเลขออกเทนสูง แสดงว่าเป็ นน้ำมันเชื้อเพลิงที่ดีเหมาะแก่การ
เผาไหม้แก่เครื่องยนต์ก๊าซโซลีน (เบนซิ น) ทำให้เครื่องเดินเรียบไม่เกิด
การกระตุก

5.1.4 การกำหนดคุณภาพของน้ำมันดีเซล

เลขซี เทน (Certhane no.) คือ ตัวเลขที่แสดงคุณภาพของน้ำมันดีเซล

ที่มีประสิทธิภาพการเผาไหม้เทียบกับปริมาณของซี เทนเป็ นกรัมที่ผสม
กับ - เมธิลแนพทาลีนในน้ำมัน 100 กรัม โดยมีข้อกำหนดว่า



ซี เทน มีเลขซี เทน = 100 - เมธิลแนพทาลีน มีเลขซี เทน = 0

CH3— (CH2) 14— CH3 CH3

ซี เทน (เฮกซะเดกเคน) - เมธิบเเนพธาลีน
C 16H34 C11H10

5.1.5 การแยกก๊าซธรรมชาติ

ก๊าซธรรมชาติเป็ นแหล่งของ
พลังงานอีกอย่างหนึ่งนอกจาก
น้ำมันดิบได้กล่าวมาแล้วใช้เป็ น

เชื้อเพลิงและวัตถุดิบ

ในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีใน

ประเทศไทยมีแหล่งของก๊ าซ
ธรรมชาติ เช่น บริเวณอ่าวไทย
บริเวณอำเภอน้ำพอง จังหวัด

ขอนแก่น

แบ่งออกเป็ น 2 พวก คือ

พวกไฮโดรคาร์บอน


พวกนี้จะมีปริมาณมากและ พวกไม่ใช่
พบเป็ นส่วนใหญ่ เช่น มีเทน (CH4) ไฮโดรคาร์บอน พวกนี้จะ

อีเทน(C2H4) บิวเทน (C4H10) มีปริมาณน้อย เช่น
เพนเทน (C5H12) และ CO2 H2S N2 เเละอื่นๆ

ก๋าซเหลว (เฮกเซน) (ไอน้ำ ปรอท ฮีเลียม)

ในการขุดเจาะก๊าซธรรมชาติขึ้นมาจากพื้นดินจะมีทั้งส่วนที่เป็ น
ของเหลวเรียกว่าก๊าซเหลว และ ส่วนที่เป็ นก๊าซเรียกก๊าซ
ธรรมชาติการแยกทั้งสองส่วนนี้ทำได้โดยแยกก๊ าซเหลวโดยการ
ผ่านก๊าซธรรมชาติไปในส่วนแยกก๊าซเหลว แยก Hg โดยผ่าน
ก๊าซที่แยกได้ไปยังหน่วยกำจัดปรอท เพื่อป้ องกันการผุกร่อน
ของท่อการลด อุณหภูมิทำให้ H2O และ CO2 กลายเป็ น
ของแข็ง กำจัด CO2 โดยใช้สารละลาย K2CO3 ซึ่ ง CO2 ที่ได้
ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมน้ำแข็งแห้งน้ำยาดับเพลิง
และฝนเทียมกำจัด HO โดยใช้สารดูดซับที่มีรูพรุ นสูง Silica gel
ผ่านก๊าซที่เหลือจากการกำจัด CO2 และ H2O คือ
ไฮโดรคาร์บอนไปยังหน่วยเพิ่มความดัน และลดอุณหภูมิ ก๊าซ
เหล่านี้จะกลายเป็ นของเหลวเพื่อส่งต่อไปยังหอกลั่นเพื่อแยก
ก๊าซCHA, CH, CH3 โดยวิธีเพิ่มอุณภูมิและลดความดัน ส่วน
ก๊าซที่เหลือในหอกลั่นจะถูกแยก ออกเป็ นสองส่วน ได้แก่ ก๊าซ
ปิ โตรเลียมเหลว (C3 - C) และก๊าซโซลีนธรรมชาติหรือก๊าซ
ธรรมชาติเหลว (Cs - C) ซึ่ งแต่ละส่วนที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์
อย่างมาก

5.2 ปิ โตรเคมีภัณฑ์

ปัจจุบันได้มีการนำสารไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดที่ได้จากการ
กลั่นน้ำมันดิบและจากการแยกก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็ นวัตถุดิบ
ในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี ซึ่ งเป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกี่ยวข้อง
กับการผลิต สารปิ โตรเคมีและผลิตภัณฑ์จากสารปิ โตรเคมี ซึ่ งการ
สร้างอุตสาหกรรมประเภทนี้ต้องสร้างเครือข่ายซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2ขั้น
ตอน

1. อุตสาหกรรมขั้นต้น เป็ นอุตสาหกรรมที่ผลิตสารปิ โตรเคมีขั้นต้น คือ
การผลิตสารตั้งต้น (Monomer) เพื่อนำไปเป็ นสารตั้งต้นต่อไปใน

อุตสาหกรรมขั้นต่อเนื่อง เช่น พวกโอลิน เช่น เอทิลีน ไวนิลคลอไรด์
เป็ นต้น

Ethylene Vinylchloride

2. อุตสาหกรรมต่อเนื่อง เป็ นอุตสาหรรมที่ผลิตสารปิ โตรเคมีขั้นต่อเนื่องคือการ
ผลิตสารโมเลกุลใหญ่ (Polymer) เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ต่อไปในการผลิตชิ้น
ส่วนหรืออุปกรณ์ เครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น โพลีเอทิลีน โพลีไวนิลคลอไรด์ เป็ นต้น

Acythelene H2 —>

—> Polyethylene

Ethylene

HCL Polyvinylchloride

—> อุตสาหกรรมต่อเนื่อง

Vinylchloride

อุตสาหกรรมขั้นต้น

5.3 พอลิเมอร์ (Polymer)

พอลิเมอร์ เป็ นสารอินทร์โมเลกุลใหญ่มีมวลโมเลกุลสูง
มากเกิดจากสารอินทร์โมเลกุลเล็กที่เรียกว่า มอนอเมอร์
(Monomer) จํานวนมากหลายโมเลกุลมารวมตัวกันด้วย

พันธะโควาเลนต์เกิดเป็ นโมเลกุลใหญ่ ที่เรียกว่า
พอลิเมอร์ (Polymer) ซึ่ งพอลิเมอร์แต่ละชนิดจะมีขนาด
และโครงสร้างแตกต่างกันไปตามชนิด ของสารที่มารวมตัว

กันและการนำไปใช้ประโยชน์

5.3.1 การจำแนกพอลิเมอร์

1. จำแนกตามองค์ประกอบ





ข. โคพอลิเมอร์


(Copolymer) เป็ นพอลิเมอร์

ก. โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) ที่เกิดจากสารตั้งต้น
เป็ นพอลิเมอร์ที่เกิดจากสารตั้งต้น (monorner) ต่างชนิดกัน มา
(monomer) ชนิด เดียวกันรวมตัว รวมตัวกันเป็ นสารโมเลกุล

กันเป็ นสารโมเลกุลใหญ่ ใหญ่ (Polymer) เช่น
(Polymer) เช่น พอลิเอทิลีน โปรตีน
พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิสไตรีน

พอลิ โพรพิรีน เป็ นต้น



2. จําแนกตามที่เกิด

ก. พอลิเมอร์ธรรมชาติ เป็ นพอลิเมอร์ที่เกิดตาม

ธรรมชาติอาจเป็ นแบบโฮโมพอลิเมอร์หรือ

โคพอลิเมอร์ก็ได้ เช่น ยางธรรมชาติ โปรตีน
แป้ ง เซลลูโลส เป็ นต้น



ข. พอลิเมอร์สังเคราะห์ เป็ นพอลิเมอร์ที่เกิดโดย

การสังเคราะห์ขึ้นมาอาจเป็ นแบบ

โฮโมพอลิเมอร์ หรือ โคพอลิเมอร์ก็ได้
เช่น ยางสังเคราะห์ พลาสติก ไนลอน

พอลิเอสเทอร์ เป็ นต้น

5.3.2 โครงสร้างของพอลิเมอร์

เเบ่งออกเป็ น 3 ประเภท 2. โครงสร้างแบบกิ่ง เกิดจาก
มอนอเมอร์ที่เป็ นสายสาขาหรือ



กิ่งมารวมกันเกิดเป็ นพอลิเมอร์
1. โครงสร้างแบบเส้น เกิดจากมอนอ
เมอร์สร้างพันธะโควาเลนซ์ ต่อกัน ซึ่ งไม่สามารถจัดเรียงให้ชิดกัน
เป็ นโซ่ยาว ซึ่ งพอลิเมอร์แบบนี้จะ ได้มาก จึงมีความหนาแน่นน้อย
เรียงชิ ดกันมากกว่าโครงสร้าง จุดหลอมเหลวต่ำยืดหยุ่นได้ เช่น
แบบอื่น จึงมีความหนาแน่นมาก
จุดหลอมเหลวสูง แข็งและ เหนียว Poly U-ethylene ชนิดความ
มากกว่าแบบอื่น เช่น Polypropylene
, polystyrene , polyviny chloride หนาแน่ นต่ำ(LDPE)



3. โครงสร้างแบบร่างแห เกิดจากการ จากโครงสร้างทั้งสามจะพบ
เชื่อมโยงของโครงสร้างแบบเส้นและ ว่าใน 2 แบบแรกจะอ่อนตัว
เมื่อได้รับความร้อนและเมื่อ
กิ่งเข้าด้วยกันต่อเนื่องเป็ นร่างแห
พอลิเมอร์ประเภทนี้มีความแข็งมาก อุณหภูมิลดลง จะแข็งตัว

และไม่ยืดหยุ่น เช่น พอลียูเรีย เหมือนเดิม ส่วนแบบที่ 3
ฟอร์มาลดีไฮด์ (เมลามีน) เมื่อได้รับความร้อนจะไม่
หลอมเหลวและไม่สามารถ
โพลีฟี นอลฟอร์มาลดีไฮด์ (เบคา เปลี่ยนแปลง รูปร่างได้

ไลท์) ใช้ทำประเภทถ้วยและภาชนะ
ใส่อาหาร เป็ นต้น

เเบบเส้น เเบบร่างเเห เเบบกิ่ง

การเกิดพอลิเมอร์ซึ่ งเกิดจากมอนอเมอร์มารวมตัวกันจํานวนมากโดยต้องใช้ความ
ร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยาเข้าช่วยด้วย เรียกปฏิกิริยาในการเกิดว่า ปฏิกิริยาพอลิเม

อร์ไรเซชัน (Polymerization Rection) ซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท



1. พอลิเมอร์ไรเซชันชนิดรวมตัวหรือแบบเดิม (Addition Polymerization)

คือ ปฏิกิริยาเกิดจากมอนอเมอร์ ชนิดเดียวกันมารวมตัวกันได้โมเลกุลใหญ่ โดย
ไม่มีการกำจัดหรือควบแน่นส่วนใดออกจากโมเลกุลของมอนอเมอร์ เช่น การเกิด

พอลิเอทิลีนโดยใช้พอลิเอทิลีนเป็ นสารตั้งต้น

CH2 = CH2 + CH2 = CH2 P—, C —at.> CH3-CH2-CH-CH3

มอนอเมอร์ ไดเมอร์

หลายโมเลกุล CH3-(CH2)n-CH=CH2
——————> พอลิเมอร์

CH2 = CH2

ตัวอย่างพอลิเมอร์
ชนิดรวมตัว

2. พอลิเมอร์ไรเซชันชนิดควบแน่น (Condensation Polymerization)
คือปฏิกิริยาทีเกิดจากมอนอเมอร์เดียวกันหรือต่างชนิดมารวมกันหลาย
โมเลกุลแล้วเกิดสารโมเลกุลใหญ่ คือ เกิดพอลิเมอร์ซึ่ งมอนอเมอร์พวกนี้

มักจะมีหมู่ฟังก์ชันแตกต่างกันในโมเลกุล ขณะเดียวกันจะมีการ
ควบแน่นโมเลกุลบาง ชนิดออกมาด้วย อาจเป็ น H2O NH3 CH3OH

หรือ HCL เช่น การเกิดในลอน 6,6 จะมี H2O เกิดขึ้น

ตัวอย่างพอลิเมอร์ชนิดควบแน่ น

5.4 พลาสติก

เป็ นสารสังเคราะห์ที่เป็ น
พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งมีมวลโมเลกุลสูง

ซึ่ งเกิดจากกระบวนการ พอลิเมอ-
ไรเซชัน มีลักษณะอ่อนตัวหรือแข็งตัว
ได้ตามชนิดของพลาสติกนั้นๆ เเละมี

คุณสมบัติพิเศษ เช่น อ่อนนุ่ม แข็ง
เหนียว ยืดหยุ่น ทนสารเคมี หนืด และ
เป็ น ฉนวนไฟฟ้ าที่ดี เป็ นต้น จึงจัดได้
ว่าพลาสติก เป็ นสิ่งจำเป็ นและสำคัญ
ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในทุกด้าน

แต่ในที่นี้จะกล่าวถึง พลาสติกเพียง 2 ชนิด เท่านั้น
คือ พลาสติกพอลิเอทิลีน (PE) และพลาสติกพอลิไวนิลคลอไรด์

(PVC) เท่านั้น ซึ่ งจะมี ลักษณะและคุณสมบัติดังกล่าว

ชนิดของพลาสติก

1. เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) 2. เทอร์โมพลาสติก (Thremoplastic)

คือ พลาสติกที่ไม่อ่อนตัว เมื่อได้รับ คือพลาสติกที่สามารถทำให้หลอมเหลว
และอ่อนตัวได้เมื่อได้รับความร้อน
ความร้อนแต่จะลุกไหม้ สมบัติการเป็ น
พลาสติกจะเปลี่ยนไป พอลิเมอร์ประเภท โดยสมบัติการเป็ นพลาสติกไม่เปลี่ยน
นี้มีโครงสร้างเป็ น โมเลกุลแบบร่างแห พอลิเมอร์ประเภทนี้ โมเลกุลมีการเชื่อม
มีการเชื่อมต่อระหว่างโมเลกุลมากจึงไม่
โยงเป็ นโซ่ตรง จึงไม่สามารถนำมา
สามารถหลอมเหลวได้ เช่น ฟอร์ไมกา หลอมเหลวได้ เช่น พอลิเอทิลีน
เบคเคไลต์ ยูเรียฟอร์มาลีดไฮด์ เป็ นต้น พอลิไวนิล คลอดไรด์ พอลิโพรพิลีน

การเกิดพอลิเอทิลีน (PE) การเกิดพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)

สมบัติของพอลิเอทิลีน(PE) และ พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)

5.5 เส้นใย

- เส้นใยเป็ นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
ซึ่ งมีโครงสร้างโมเลกุลซึ่ งสามารถ

นำมาใช้ปั่นให้เป็ นเส้นด้าย
ซึ่ งพบในธรรมชาติและจากการ

สังเคราะห์ ขึ้นมา

เส้นใยธรรมชาติ

(เป็ นเชื้อราได้ง่ายเมื่อถูกความชื้นบางชนิดจะหดตัวเมื่อได้รับความร้อน)




1.3 เส้นใยพวกใยหิน
1.1 เส้นใยเซลลูโลส 1.2 เส้นใยโปรตีนจากขนสัตว์
ซึ่ งจะพบอยู่ในส่วนต่างๆของ เช่น ขนแพะ ขนแกะ

พืช เช่น ฝ้ าย (เส้นใยที่หุ้ม ซึ่ งเส้นใยพวกนี้เมื่อถูกน้ำ
เมล็ด) เส้นใยสับปะรด ความหนาวและ
(เส้นใยจากใบไม้) ลินิน
(เส้นใยจากเปลือกไม้)

2. เส้นใยสังเคราะห์
เป็ นเส้นใยที่ทำขึ้นจากสารเคมีโดยไม่ใช้เส้นใยจากธรรมชาติเลย เส้นใย
พวกนี้จะมีความทนทานต่อเชื้อรา จุลินทรีย์ไม่ยับง่ายไม่ดูดน้ำ ทนสารเคมี

ซักง่ายแห้งเร็ว เช่น อะครีลิค พอส เอสเทอร์ เป็ นต้น
เส้นใยสังเคราะห์ชนิดแรกที่ถูกค้นพบคือ ในลอน เส้นใยไนลอนจัด
เป็ นทอลิเอไมด์ (Polyamide) เกิดจาก กระดิฟิ ก (HOOC(CH2)4COOH]

กับเกม โนไดอะมีน (NH2(CH2)6NH2]





เส้นใยไนลอนแบ่งออกเป็ น 3ชนิด


1. ชนิดเส้นเดี่ยว เป็ นเส้นใยไนลอน
เส้นเดียวเหมาะสำหรับทอถุงเท้าสตรี
ผ้าคลุมผมและเสื้อ มีความอ่อนนุ่ม

เบาและแข็งแรง



2. ชนิดเส้นด้าย
ใช้เส้นใยไนลอน
เดี่ยวมาปั่นเข้าด้
วยกัน เพื่อให้เป็ น

เส้นด้ายใช้สำหรับทอผ้า



3. ชนิดเส้นสั้น ช
นิดนี้มีความยาว
0.5 -5 นิ้ว หยิกเป
็ นลอนคล้ายขน
แกะ เมื่อเอาไปทอ
จะมีลักษณะเป็ น
ลูกฟูก ใช้ปั่นเป็ นด้ายไว้ทอถุงเท้า

ชาย

5.6 ยาง

ยาง (Rubber) เป็ นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งซึ่ งประกอบ
ด้วยมอนอเมอร์หลายโมเลกุล ซึ่ งยางเป็ นสารที่มี
สมบัติพิเศษคือ ยืดหยุ่นได้และทำให้เป็ นรูปร่าง
ต่างๆ ได้ตามที่ต้องการ ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 ประเภท



1. ยางธรรมชาติ (Natural rubber) เป็ นพอลิเมอร์ที่
มีมวลโมเลกุลสูงเกิดจากมอนอเมอร์ที่เรียกว่า ไอโซ

ปรีน (Isoprene) ซึ่ งมีสูตรโครงสร้างดังนี้

Isoprene wa Pentadiene
(2-methyl-1,3-butadiene)

ยางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเรียกว่า พอลิไอโซปรีน (Polyisoprene) ซึ่ งมีสูตรโครงสร้างดังนี้

ยางธรรมชาติที่กล่าวถึงมี 2 ชนิด คือ ยางพารากับยางกัตตาซึ่ งเป็ น
Polyisoprene เหมือนกันตา ต่างกันตรงโครงสร้างกล่าวคือ ยางพาราจะ

เป็ น cis - isomer ส่วนยางกัตตาจะเป็ น tran-somer ดังรูป

ข้อสังเกต ให้ดูที่กลุ่ม CH2 ถ้าอยู่ฝั่งเดียวกันของคาร์บอนอะตอมจะเป็ น
cis-isomer อยู่คนละฝั่งถึงจะเป็ น tran - somer

ยางพารา (Cis-isomer)

ยางกัดตา (Tran-somer)

cis-isomer (ฝั่งเดียวกัน) tran-somer (ตรงข้ามก้น)

ยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางจะมีลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนมซึ่ งมีสารหลาย
ชนิดผสมกันเมื่อทิ้งไว้จะมีกลิ่นเหม็นบูดและเน่าได้ จึงมีการเติมแอมโมเนีย
ลงไปเป็ น สารกันบูด การแยกเนื้อยางจากน้ำยางทำได้โดยเติมกรดอะซิ ติก
(CH3COOH) หรือกรดฟอร์มิก (HCOOH) จะทำให้เนื้อยางรวมตัวตกตะกอน
ออกมา จากนั้นนำไปรีดให้เป็ นแผ่น ล้างน้ำให้สะอาดแล้วตากแดดให้แห้ง จาก
นั้นไปอบความร้อนเพื่อป้ องกันเชื้อรา ยางที่ได้จะทนต่อการขัดถู แรงดึงสูง ทน

น้ำแต่ไม่สามารถ ทนน้ำมันเบนซิ นและตัวทำลายอินทรีย์



ยางธรรมชาติที่ได้จะมีการเปลี่ยนแปลงคืออ่อนนุ่ม เมื่อได้รับความร้อนและเมื่อ
เย็นตัวลงจะเปราะ แตกง่าย ซึ่ งใช้ประโยชน์ ได้น้อย แต่ถ้านำยางธรรมชาติไป
เผารวมตัวกับกำมะถันโดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาด้วย จะเกิดพันธะยึดระหว่างโมเลกุล

ของยางเข้าด้วยกัน เรียกกระบวนการนี้ว่า วัลคาไนเซชัน/การรมควัน
(Valcannization) ซึ่ งยางที่ได้จากการทำกรรมวิธีเช่นนี้จะได้ยางที่มีความ

ยืดหยุ่นสูง ทนความร้อนได้ดีกว่า เดิมดังภาพ และสมการด้านล่าง

โครงสร้างยางธรรมชาติผ่านกระบวนการวัลคาไนซัน
ที่มา : https://slideplayer.in.th/slide/16161763/

สมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาวัลคาไนเซชัน

2. ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber)

จากการที่ยางได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ อย่างมากมาย เช่น ในการ
คมนาคมและขนส่ง ผลิตโดยขบวนการพอลิเมอร์ไรเซชันของบิวตะไดอีน

(CH2 = CH - CH = CH2) ซึ่ งพบว่า ยางสังเคราะห์จะมีความยืดหยุ่น
น้ อยกว่ายางธรรมชาติ

ยางสังเคราะห์ พอลิคลอโรพรีนมีสมบัติดีกว่ายางธรรมชาติคือทนต่อสภาพที่ต้องสัมผัส
กับน้ำมัน เบนซิ นและน้ำมันอื่นๆ ทนไฟ




ต่อมาได้มีการผลิตยางสังเคราะห์ซึ่ งส่วนใหญ่เป็ นพอลิเมอร์ที่เกิดจาก
บิวตะไดอีนกับสไตรีน เรียกว่าโคพอลิเมอร์ (Copolymer) และมีการใช้กันในปัจจุบัน

มาก ซึ่ งยางประเภทนี้มีสมบัติทนต่อการขัด ถูและปฏิกิริยากับ 02ได้
ยากกว่ายางธรรมชาติ แต่มีความยืดหยุ่นน้อยส่วนใหญ่ใช้เป็ นส่วนผสมใน

การผลิต ยางรถยนต์

บิวตะไดอีน สไตรีน

ปฏิกิริยาแสดงการเกิดโคพอลิเมอร์

อย่างไรก็ตามก็ได้มีการนำเอาสารที่เรียกว่า ไอโซปรีนมาผลิตยาง
สังเคราะห์เหมือนกัน ซึ่ งยางสังเคราะห์ที่ได้เรียกว่า พอลิไอโซปรีน หรือ

กุตตาเปอร์ชา (Gutta purcha) แต่สมบัติไม่เหมือนกันยางธรรมชาติ
คือแข็งแรงและเปราะกว่า ซึ่ งจากการศึกษาพบว่า ยางสังเคราะห์เป็ นพอ

ลิไอโซปรีนแบบทราน (tran-somer)
ในภาวะปัจจุบันการผลิตยางสังเคราะห์ได้น้อยลง เนื่องจากวัตถุดิบที่
ใช้ได้มาจากอุตสาหกรรมปิ โตรเลียมทั้งสิ้น ซึ่ งความไม่แน่นอนเกี่ยวก้
บราคาและปริมาณน้ำมัน ทำให้โรงงานอุตสาหกรรมยางต่างๆหันมา
สนใจยางธรรมชาติโดยนำไปผสมด้วย ดังนั้นปริมาณการใช้ยางจึงมี

แนวโน้ มเพิ่มขึ้น

5.7 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของ
ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์

การผลิตโพลิเมอร์มีการใช้ - เติมสีให้มีความสวยงาม
เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมทำให้

เกิดความก้าวหน้ าและมีการพัฒนา
อย่าง รวดเร็ว เเละเพื่อให้ได้ชิ้นงาน - เติมใยแก้วเพื่อเพิ่มความ
ที่มีรู ปร่างตามต้องการอาจมีการเติม แข็งแรงทนทานซึ่ งเรียกว่า
สารบางอย่างลงไปเพื่อให้เกิดสมบัติ
ไฟเบอร์กลาส
ดีขึ้น เช่น



- เติมผงกราไฟต์เพื่อให้มี
การนำไฟฟ้ าได้



ในปัจจุบันได้ใช้ประโยชน์ ของพลาสติก
เป็ นอย่างมาก เช่น
- ทางการแพทย์

- ใช้ PVC ผลิตถุงใส่เลือด เส้นเลือดเทียม
- ใช้ PS ทําหลอดฉีดยา

- ใช้ PP ทำกระดูกเทียม เอ็นเย็บแผล
- ใช้ PE ทำอวัยวะเทียม เช่น ฟันปลอม ลิ้นหัวใจ

กระเพาะปัสสาวะและท่อน้ำดี
- ใช้พอลิเมทิลเมทาคริเลต ทำเลนส์

โฟม

เป็ นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่เป็ นพลาสติกที่
ผ่านขบวนการเติมก๊ าซเพื่อให้เกิดฟอง
อากาศจำนวนมากแทรกอยู่ระหว่างเนื้อ

พลาสติก
- โฟมชนิดแรกคือโฟมน้ำยางทำได้ โดย

ผสมโซเดียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต
(NaHCO3หรือผงฟู) ลงในน้ำยางแล้วให้
ความร้อนจะเกิดก๊าซ CO2 แทรกอยู่ในเนื้อ

ยางทำให้เนื้อยางมีรูพรุ น

โฟมทุกชนิดจะต้องมีสารที่ทำให้เกิดโฟม เช่นอากาศหรือสารเคมี
ที่สลายให้ก๊าซเมื่อได้รับความร้อนทำให้โฟมมีน้ำหนัก มีความ
ยืดหยุ่น โฟมบางชนิดเป็ นฉนวนความร้อนและไฟฟ้ าที่ดี เช่น สาร
CFC ที่ แทรกในเนื้อโฟมพอลิเมอร์สไตรีนที่ใช้ทำกล่องบรรจุอาหาร
ใช้บุฝาผนังห้องเย็นอีกด้วย แต่ในปัจจุบันก็ทราบว่าสาร CFC ก่อให้
เกิดภาวะมลพิษในอากาศเกิดปรากฏการณ์ เรือนกระจกและทำลาย
โอโซนในชั้นของบรรยากาศ ซึ่ งการวิจัยพบว่ามีการใช้ก๊าซเพนเทน
และบิวเทนแทนการใช้สาร CFC ได้ ในปัจจุบันมีการ ใช้โฟมจาก
สารอื่นเช่นโฟมจากพีวีซี พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน เป็ นต้น

5.8 ภาวะมลพิษที่เกิดจากการใช้
และการผลิตจากปิ โตรเลียม

จากกระบวนการแยกน้ำมันปิ โตเลียม การแยกก๊าซธรรมชาติและอุตสาหกรรมต่างๆ
ที่ได้ใช้ผลิตผลจากปิ โตรเลียมมาเป็ นวัตถุดิบในรูปของโรงงานต่างๆ ย่อมก่อให้เกิด
ผลเสียต่อภาวะแวดล้อมไม่ว่า จะเป็ นกระบวนการผลิต การขนส่ง การกำจัดของเสีย

ซึ่ งภาวะแวดล้อมจะเกิดสภาพเป็ นพิษขึ้นมาอาจเป็ น มลพิษทางน้ำ มลพิษทาง
อากาศ มลพิษทางดิน เป็ นต้น จากภาวะดังกล่าวจะก่อให้เกิดปัญหาต่อชีวิต มนุษย์

สัตว์ และพืช







สาเหตุการเสื่อมของสิ่งแวดล้อม
จากสภาพแวดล้อมที่เป็ นพิษต่างๆ ดังกล่าวมาแล้วน่าจะมีสาเหตุมาจาก 2 ประการ








2. เกิดจากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์

1. เกิดจากการเพิ่มของประชากร
และเทคโนโลยี
จากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว
อย่างรวดเร็ว
ทำให้มนุษย์พยายามหาวิธีการต่างๆ เพื่อให้
เมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นความ

ได้มาซึ่ งปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็ นสำหรับการดำรง
ต้องการปัจจัยต่างๆ ต่อการดำรงชีวิต
ย่อมมากขึ้นจึงทำให้เกิดมีขยะ
ชีวิต ให้มีปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ
จึงทำให้ ขาดความระมัดระวังในเรื่องของการ
มูลฝอย ของเสียหรือสิ่งปฏิกูลต่างๆ
ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ และการทำให้
มากขึ้น ซึ่ งก่อให้เกิดปัญหากับ
สิ่งแวดล้อมได้
สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมซึ่ งเรื่องนี้เกิดจาก



พฤติกรรมของมนุษย์ที่ขาดความรับผิดชอบ

ต่อสังคมที่ตนเองดำรงอยู่







จากที่กล่าวมาแล้วพบว่าเกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อมได้หลายทาง ในที่นี้จะกล่าวถึง
มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน โดยจะกล่าวถึงสาเหตุของการเกิด

มลพิษ การควบคุมและการป้ องกัน ดังนี้

5.8.1 มลพิษทางน้ำ (Water pollution)

สารมลพิษที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ แบ่งเป็ น 4 ประเภท คือ

1. พวกสารแขวนลอย 2. ปริมาณของออกซิ เจนในน้ำ

ได้แก่ พวกฝุ่ นละออง ตลอด จากข้อมูลต่างๆ พบว่า เมื่ออุณหภูมิ
จนสารต่างๆ ที่ไม่ละลายหรือ สูงขึ้นการละลายของก๊าซ 02 ในน้ำ
แขวนลอยอยู่ในน้ำไม่ว่าจะ จะลดลง ซึ่ งก๊าซ O2 จะถูกใช้ในรูป
แบบต่างๆ เช่น การสลายสารอินทรีย์
เป็ นสารอินทรีย์หรือสาร พวกจุลินทรีย์บาง ชนิด การหายใจ

อนินทรีย์ก็ตาม ของพืช เป็ นต้น

3. สารเคมีต่างๆที่ละลายในน้ำ 4. เชื้อโรค
พวกสารต่างๆ ที่ละลายในน้ำอาจ
พวกเชื้อโรคที่เป็ นสาเหตุของ
ทำให้น้ำเสีย หรือสารบางอย่าง
ทำให้น้ำมีสมบัติเป็ นกรด ซึ่ งไม่ โรคระบาด เช่น บิด ไข้รากสาด
เหมาะต่อการที่สิ่งมีชีวิตจะดำรง อหิวาตกโลก เป็ นต้น ทำให้เกิด

อยู่ในน้ำได้ ความเป็ นพิษของน้ำได้

จากสิ่งต่างๆ ที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ พบว่ามีแหล่งที่มาต่างๆกัน
เช่น จากธรรมชาติ จากบ้านเรือน จากโรงงานอุตสาหกรรม จาก
การเกษตรกรรม จากการขนส่งทางน้ำ ซึ่ งสิ่งมาจากที่ต่างๆ ที่เกิด
มลพิษ พบว่า ปริมาณ O2 ในน้ำและสารเคมีจะเป็ นสาเหตุสำคัญที่

ทำให้เกิดน้ำเสีย

แฟคเตอร์ที่ควบคุมการละลายของ O2 ในน้ำ







2. ปริม1า. ณอุณขหองภูพมืิ

ชขสอีเงขนีย้ำวในน้ำ

3. ปริมาณของสารอินทรีย์ที่ต้องใช้ O2 ในการสลายตัว
4. กระแสคลื่นที่ทำให้น้ำมีการเคลื่อนไหวและถ่ายเท
5. ความขุ่นของน้ำที่จะยอมให้แสงผ่าน








สารมลพิษโดยทั่วไปอาจแบ่งเป็ น 2 ประ
เภท คือสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์




1.สารอนินทรีย์
จากน้ำทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น โรงงานแบตเตอรี่ โรงงานชุบ
โลหะ โรงงานทำโซดาแอช โรงงานปูนซี เมนต์ โรงงานทำสี ฯลฯ มักจะมีการ

บางชนิด เช่น Fe Cd Pb Mn Sn Sb Hg As และอื่นๆ ซึ่ งอาจจะอยู่ในรูปของ
โลหะหรือสารประกอบก็ได้ สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนแต่ทำให้น้ำเสีย และเป็ น
อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
2.สารอินทรีย์
จากที่เคยทราบมาแล้วว่าสารอินทรีย์ประกอบด้วย C, H, 0,N และ S เป็ นส่วน
ใหญ่ สารอินทรีย์ที่เป็ นมลพิษทางน้ำ ได้แก่ สิ่งต่างๆ จากโรงงาน
อุตสาหกรรมบางชนิด เช่น โรงงานปลาป่ น โรงงานอาหารกระป๋ อง โรงงาน
ผลิตโซดาไฟ โรงงานสุรา เป็ นต้น นอกจากนี้อาจมาจากอาคาร บ้านเรือน
เช่น ผงซักฟอก น้ำมัน ไขมัน เศษอาหาร เป็ นต้น

สารอินทรีย์เมื่อไหลลงสู่แม่น้ำลำคลอง จะถูกย่อยโดยจุลินทรีย์ หรือ
แบคทีเรียที่อยู่ในน้ำ ซึ่ ง พบว่าการย่อยสลายมี 2 วิธีคือ

1. การย่อยสลายโดยใช้
ออกซิ เจน การย่อยสลายแบบ
นี้จะมีแบคทีเรียชนิดแอโรบิก

(Acrobic dacteria) จะใช้ O2
ที่อยู่ในน้ำไปย่อยสลายสารอิน
ทรย์ ซึ่ งจะได้สารต่างๆ จะพบ
ว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะ ละลายน้ำ
ได้ดี และไม่มีกลิ่นรุ นแรง ดัง

สมการ

2. การย่อยสลายโดยไม่ใช้ออกซิ เจน
การย่อยสลายแบบนี้จะมีแบคทีเรีย

ชนิดแอนาโรบิก (Anaerobic

bacteria) จะใช้ O2 ที่มีอยู่ใน
สารประกอบ เช่นจาก NO3- และ SO
4^2- ไปย่อยสลาย สารอินทรีย์ ซึ่ งจะ
ได้สารต่างๆ และพบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้
จะละลายน้ำได้น้อย และได้ก๊าซที่มี

กลิ่นเหม็น รุ นแรง ดังสมการ

โดยเฉพาะ HS จะสลายน้ำได้น้อยและมีกลิ่นเหม็น นอกจากนี้อาจจะ
เกิดสารประกอบซัลไฟด์ ของโลหะบางชนิด เช่น Fes (ไอร์ออน (II)

ซัลไฟด์) จะทำให้น้ำมีสีดำ

การกำหนดคุณภาพของน้ำ มักจะใช้ค่าความต้องการ O, เป็ นตัวกำหนด มี 3 วิธี






1. DO ( Dissolved oxygen)
2. BOD (Biochemical Oxygen demand)
เป็ นค่าปริมาณการละลายของ
เป็ นการวัดปริมาณออกซิ เจนที่ต้องการทาง
O2 ในน้ำ ซึ่ งพบว่า ถ้าค่า D.O.
ชีวเคมีซึ่ งเป็ นการวัดปริมาณ O2 (mg/l) ที่ใช้
น้อยกว่า 3 mg/l จัดเป็ นน้ำเสีย

ไปในเวลา 5 วัน ที่ 20 °C ถ้าพบว่า น้ำที่มี
3. COD (Chemical Oxygen demand)
BOD สูง แสดง ว่าน้ำนั้นมีสารอินทรีย์อยู่มาก
เป็ นการวัดปริมาณก๊าซออกซิ เจนที่ต้องการ ขณะที่แบคทีเรียย่อยสลายสารอินทรีย์จะใช้
ทางเคมีแทนที่จะใช้ออกซิ เจนในการย่อย
ก๊าซ O2 ในน้ำทำให้น้ำมี O2 เหลืออยู่น้อย
หรือทำลาย การวัดนี้จะใช้ตัวออกซิ ไดส์ที่
และหมดไปได้ซึ่ งก็คือน้ำจะเสียนั่นเอง ซึ่ ง
รุ นแรง เช่น K2Cr207 ใน H2SO4 การ
ออกซิ ไดส์นี้ จะสมดุลกับปริมาณของ O2ที่มี
B.O.D. มากกว่า 100 mg/l จัดเป็ นน้ำเสีย
อยู่ในน้ำ ซึ่ งวิธีนี้สารอินทรีย์ทุกชนิดไม่ว่า



แบคทีเรียจะย่อยได้หรือไม่ก็ตามจะถูก
B.O.D. = D.0 ใน 5 วัน
ออกซิ ไดส์หมด = D.O - D.O.



















จากข้อมูลเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ จะพบว่าค่า COD จะมากกว่า
BOD เสมอ เนื่องจากค่า COD จะต้องใช้ออกซิ เจนในปฏิกิริยาทั้งหมด ไม่ว่าแบคทีเรีย

นั้นจะย่อยสลายได้ หรือไม่ก็ตาม ดังข้อมูลต่อไปนี้



โรงงาน BOD (mg/l). COD (mg/l)

โรงงานกระดาษ 667. 1817

โรงงานน้ำตาล. 74 117

การหาปริมาณ O2 ในน้ำ (ค่า D.O)






การหาปริมาณ 02ในน้ำ มีวิธีการดังนี้




1. เก็บน้ำตัวอย่างใส่
4. บรรจุ H2SO4 เข้มข้น 2
ขวด 300 cm^3 ปิ ดฝา
cm^3 ในกระบอกฉีดยา จาก
ให้แน่นมิให้ O2 นั้นฉีดลงในขวดน้ำตัวอย่าง
ละลายอีก
สังเกตผล


2. บรรจุสารละลาย

MnSO2 2 cm^3 ลง
ในกระบอกฉีดยาจาก

นั้นฉีดลงในขวดน้ำ
ตัวอย่าง สังเกตผล



5.ตวงสารละลายใสมา 50


3. บรรจุสารละลาย KL cm^3 ใส่ในขวดรูปกรวย จาก
ใน NaOH 2 cm^3 ลง นั้นนำมาไตเตรตกับสารละลาย
ในกระบอกฉีดยาจาก Na2S2O3 0.005 mol/l จน
นั้นฉีดลงในขวดน้ำ
ตัวอย่างสังเกตผล กระทั่งได้สีเหลืองอ่อน









6. เติมน้ำแป้ ง 1 cm^3 เพื่อใช้
เป็ นอินดิเคเตอร์ แล้วไตเตรต
ต่อไปได้สารละลายเปลี่ยนจาก

สีน้ำเงิน เป็ นไม่มีสี บันทึก
ปริมาตรของ Na2S2O3 ที่ใช้

ทั้งหมด




ปริมาณ O2 = 800/V x [Na2S2O3] x V Na2S2O3
หน่วยเป็ น mg/l

การทดสอบฟอสเฟต




1. นำผงซักฟอกตัวอย่างมาละลายน้ำให้เป็ นสารละลาย
2. เติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต [(NH4)2MoO4] และ HNO3

อย่างละ 10 หยดลงในสารละลายตัวอย่าง
3. นำสารละลายดังกล่าวไปอุ่นในน้ำเดือด จากนั้นตั้งทิ้งไว้ จากนั้นตั้งทิ้ง

ไว้ สังเกตการ เปลี่ยนแปลง
จากการศึกษาจะพบว่ามีฟอสเฟตในผงตัวอย่างแน่นอนซึ่ งพบว่าจะเกิด
ตะกอนเหลืองของแอมโมเนียมฟอสโฟโมลิบเดต [(NH4)3PO412MoO3]

ดังปฏิกิริยา



3NH4^+ + 12MoO4^2- + PO 4^3- + 24H —> (NH4)3 PO4 +

12MoO3 + 12H2O




ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำ จะต้องมีการวัดค่าต่างๆ หลายอย่าง เช่น pH
BOD อุณหภูมิ สารแขวนลอยและปริมาณของสารต่างๆ ซึ่ งทางกระทรวง

อุตสาหกรรมได้มีการกำหนดมาตรฐานของน้ำทิ้งดังตาราง

การควบคุมและป้ องกันมลพิษทางน้ำ



มลพิษทางน้ำในแหล่งต่างๆ อาจเกิดจากสาเหตุไม่เหมือนกัน ดังนั้น
ในการแก้ปัญหาต้องทำให้ ตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการกำจัดสิ่ง
เจือปนหรือสารมลพิษออกก่อนที่จะเกิดมลพิษทางน้ำ จากนั้นจึง
ค่อยระบายสู่แม่น้ำลำคลองต่อไป การกำจัดมีได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับ

ชนิดของสิ่งเจือปน เช่นถ้าเป็ นประเภท ที่ไม่ละลายน้ำอาจใช้
ตะแกรงแยกออก หรือใช้การกรอง ส่วนถ้าเป็ นประเภทที่ละลายน้ำ
อาจทำโดยการเติมสารเคมีทำให้เกิดตะกอนหรือใช้แบคทีเรียย่อย

สลาย
ก็ได้
ในทางอุตสาหกรรมจะมีกระบวนการ ดังแผนภาพ




การป้ องกันน้ำเสียมีวิธีการต่างๆ ดังนี้
1. การให้การศึกษาแก่ประชา
ชนทั่วไปให้ทราบถึง

ผลร้ายที่เกิดจากน้ำเสีย
2. กำหนดมาตรฐานน้ำทิ้งใช้บังคับแก่โรงงานอุตสาหกรรม

และผู้ทำให้น้ำเสีย
3. ออกกฎหมายควบคุมการปล่อยน้ำเสียจากโรงงาน
อุตสาหกรรมและมีบทลงโทษอย่างหนักต่อโรงงานที่ฝ่ าฝืน

4. ตั้งหน่วยงานรับผิดชอบเกี่ยวกับการป้ องกัน
ควบคุมดูแลและแก้ไขเกี่ยวกับน้ำเสีย

5.8.2 มลพิษทางอากาศ (Air pollution)

ภาวะมลพิษทางอากาศ หมายถึง สภาวะของอากาศที่ผิดปกติไปกว่าธรรมดา
ซึ่ งจะมีสารมีพิษ มากมาย เช่น ควัน ฝุ่ นละออง ไอของสารพวกโลหะหนัก
ไฮโดรคาร์บอน หรือสารอินทรีย์อื่นๆ ออกไซด์ของ C.N.S นอกจากนี้อาจเป็ น

พวกสารกัมมันตรังสี เป็ นต้น ซึ่ งเจือปนอยู่ในอากาศ
ในที่นี้จะกล่าวเป็ นประเภทดังนี้



1. ก๊าซ ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ

1.1 ก๊าซที่เป็ นสารอนินทรีย์ 1.2 ก๊าซหรือไอของสารอินทรีย์
ได้แก่ พวกออกไซด์ของ N, ได้แก่ พวกไฮโดรคาร์บอน
อัลดีไฮด์ คีโตน กรดอินทรีย์
S,C เช่น NO,
NO2,CO,SO2,อื่นๆ แอลกอฮอล์ นอกจากนี้

อาจเป็ นอนุพันธ์ของสารอินทรีย์

ก็ได้

1.2.1 ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ เป็ นก๊าซที่เกิดจากการเผา
ไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่ งก๊าซนี้จะเป็ นก๊าซพิษ ไม่มีสีและกลิ่น จะ

ฟุ้ งกระจายปะปนในอากาศ

1.2.2 ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็ นก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้
ของถ่านหิน น้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่ ง พบว่าในถ่านหิน และน้ำมันเชื้อ

เพลิงจะมีกำมะถันและสารประกอบของกำมะถันเป็ นองค์ประกอบซึ่ ง
เมื่อ เผาไหม้พวกเชื้อเพลิง กำมะถันและสารประกอบของกำมะถัน
(FeS) จะถูกออกซิ ไดส์กลายเป็ นก๊าซ SO ดังสมการ

ในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทต้องใช้พลังงานจากการเผาเชื้อเพลิง
ส่วนใหญ่จะมีก๊าซ SO2 เกิดขึ้น ก๊าซนี้จะไม่มีสี มีกลิ่นฉุน ซึ่ งจะเป็ นอันตราย
โดยตรงต่อมนุษย์ สัตว์และพืช ก๊าซชนิดนี้จากการศึกษาพบว่าถ้ามีเพียง 0.03
ส่วนในล้านส่วนจะฟอกสีของใบไม้ทำให้สังเคราะห์แสงไม่ได้ ก๊าซ SO2 อาจ
ถูกออกซิ ไดซ์ ในอากาศเกิดเป็ น SO3ซึ่ งเมื่อละลายน้ำ จะเกิดเป็ นกรดซัลฟุริก

(H2SO4) ได้ ซึ่ งถ้าไปอยู่ตามผิวดินจะทำให้ดินเกิดกรด ซึ่ งเป็ นภาวะที่ไม่
เหมาะสมได้

1. ออกไซด์ของไนโตรเจน 2. โลหะหนัก

อาจเป็ น NO หรือ NO3 ซึ่ งจะ ได้แก่ โลหะหรือ
สารประกอบของโลหะ
เป็ นก๊าซพิษ จะทำลายเยื่อจมูก
และหลอดลมอักเสบ นอกจากนี้ หนัก เช่น ตะกั่ว
แคดเมียม ปรอท
ก๊าซ NO2 ยังทำปฏิกิริยากับ
02 ในอากาศ โดยใช้พลังงาน ทองแดง สังกะสี
จาก รังสีอุลตร้าไวโอเลตจะได้
ก๊าซโอโซน (O3) หรือถ้ามีก๊าซ แมงกานีส นิเกิล เป็ นต้น
โลหะเหล่านี้ได้ถูกนำมา
ไฮโดรคาร์บอนอยู่ด้วยจะได้
P.A.N. (Peroxy acy nitrate) ใช้ในโรงงาน
อุตสาหกรรมหลาย
ซึ่ งทั้ง O3 และ P.A.N. จะมีพิษ
ประเภท
ต่อพืชกล่าวคือจะทำให้การ
สังเคราะห์ แสงของพืชลดลง

การควบคุมและการป้ องกันมลพิษทางอากาศ

1. การลดปริมาณของก๊าซ SO2




1.1 ใช้เชื้อเพลิงที่มี S ปนอยู่ให้น้อยลง หรือกำจัดก่อนนำมาใช้



1.2 ผ่านไปยัง Cao หรือ CaCO3 ที่ขึ้นหรือนำไปเผาจะได้ CaSO3

หรือ CaSO4 ซึ่ งนำไปใช้เป็ นปุ๋ ยได้



2. การลดปริมาณก๊าซ CO และก๊าซไฮโดรคาร์บอน




2.1 ใช้เครื่องแปลงที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่ งทำด้วยออกไซด์ของโลหะ
บางชนิด (Catalytic convertor) เช่น Ni, Fe,V,Co ต่อกับเครื่องยนต์

ซึ่ งจะช่วยให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น



22 ควบคุมการเผาไหม้เชื้อเพลิงให้เกิดปมาในเครื่องซึ่ งร่าง

สมบูรณ์




วิธีการป้ องกันมลพิษทางอากาศโดยทั่วไป

1. ออกกฎหมายควบคุมอย่างจริงจังเกี่ยวกับการปล่อยควันด้วยการจัด
ความเร็วของรถยนต์ การค้นคิดน้ำมันที่มีประสิทธิภาพสูงโดยไม่ต้องใช้
สารประกอบของตะกั่ว

2. ออกแบบโรงงานให้เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยแก่คนงานตลอดจน
การกำจัดสารพิษก่อน ปล่อยสู่อากาศ

5.8.3 มลพิษทางดิน (soil pollution)

สาเหตุของดินเสีย




1. เกิดจากการกระทำของมนุษย์

เช่น การตัดไม้ทำลายป่ าทำให้หน้าดิน
สึกกร่อน การกำจัด สารมลพิษในดิน
การอุปโภคบริโภคของมนุษย์โดยการปล่อย

ของเสียลงในดิน




2. มาจากน้ำเสียซึ่ งไหลไปตามดิน

ซึ่ งเกิดจากการระบายน้ำ ซักล้าง
จากผงซักฟอกลงสู่ดิน









3. ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม เช่น ผงซักฟอก ยาฆ่าแมลง ปุ๋ ยเคมีพวก
ยาฆ่าแมลงหรือยาปราบศัตรูพืชมีประเภทต่างๆ ดังนี้




1. คลอริเนตเตด
ไฮโดรคาร์บอน เช่น ดีดีที อัลดริน
พวก
นี้จะมีพิษตกค้างมาก






2. ออร์แกนโนฟอสเฟต เช่น พาราไธออน มาลาไธออน ซึ่ งมี
ประสิทธิภาพดีในการฆ่าแมลงสลายตัวง่าย มีพิษตกค้างน้อย







3. คาร์บาเมต เช่น คาร์บาริลหรือเซวิล เป็ นสารมีพิษน้อยแยก
สลายได้เร็วกว่าสารประกอบอื่น






4. สารอื่นๆ อีก เช่น สารหนู พาราควอท ซึ่ งพาราควอทจะเป็ น
สารทำลายวัชพืชที่นิยมมากมีประสิทธิภาพสูง และเมื่อถูกแสง

จะสลายตัว

วิธีการควบคุมและป้ องกัน

ถั่วลิสงเถา ห้ามตัดไม้ทำลายป่ า ปุ๋ ยอินทรีย์ ทิ้งสารพิษลงดิน

1. ปลูกพืชคลุมดิน 2. ไม่ตัดไม้ทำลาย 3.ปรับปรุ งดิน 4.ไม่ระบายสารที่
และพืชหมุนเวียน ป่ าปลูกป่ าเลื่อนลอย โดยใส่ปุ๋ ยบำรุ ง เป็ นพิษลงบนดิน
เพื่อรักษาหน้ าดิน
เช่น ปุ๋ ยอินทรีย์

สรุ ป

จากปัญหาส่งแวดล้อมเป็ นพิษดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จะต้องมีการ
ศึกษาวิจัยในการแก้ปัญหา ดังกล่าวซึ่ งต้องอาศัยการวางแผนกัน
ในทุกระดับตั้งแต่ระดับโลกจนถึงระดับบุคคล ต้องอาศัยความ
รู้สึก รับผิดชอบของแต่ละคนในสังคมในการที่เห็นต่อประโยชน์

ส่วนร่วมมากกว่าประโยชน์ สวนตัว ซึ่ งเรื่องนี้ ต้องอาศัยการวาง
พื้นฐานด้านการศึกษาของคนในสังคมให้รู้จักสำนึกและรับผิด

ชอบในฐานะเป็ นคนหนึ่งใน สังคม ปัญหา
ดังกล่าวที่เกิดขึ้นจะลดน้ อยลงจนกระทั่งหมดไป

รายชื่อผู้จัดทำ

นางสาว ฐิติพร ตันศิริชัยกุล ม.4/1 เลขที่ 5

นายดนุสรณ์ ภาระเวช ม.4/1 เลขที่ 8

นายวิชยุตม์พันธุ์ หงษ์สายพิน ม.4/1 เลขที่ 29


Click to View FlipBook Version