เมี่ยงญวน
ชุ มชนบ้านยางหั วลม
จังหวัดเพชรบูรณ์
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
คำนำ
หนั งสือฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวิชา ๒๗๕๑๔๙๔
ธุ รกิจศึ กษาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน คณะครุ ศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำขึ้นเพื่อให้นิ สิตได้ตระหนั ก
ถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของภูมิปั ญญาท้องถิ่นในชุมชน
ของตนเองและพัฒนาต่อยอดสิ นค้าให้ มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
โดยชุมชนของผู้จัดทำคือชุมชนบ้านยางหัวลม จังหวัด
เพชรบูรณ์ ซึ่งเป็ นจังหวัดหนึ่ งในภาคกลางตอนบนของ
ประเทศไทยและทางผู้จัดทำจะกล่าวถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ชุมชนที่ทำมาจาก ใบชา ซึ่งเป็ นพืชที่มีสรรพคุณหลากหลาย
โดยมีชื่อว่า เมี่ยงญวน
ทางผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.บุณฑริกา บูลภักดิ์
อาจารย์ประจำรายวิชาธุ รกิจศึ กษาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ชุ มชนที่ ให้ คำแนะนำและคำปรึกษาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
เมี่ยงญวน เพื่อนำมาต่อยอดและพัฒนาสินค้าที่อยู่ให้เกิด
คุณค่าต่อชุ มชนและสั งคม
นางสาวศิ ริลักษณ์ นงนุช
ผู้จัดทำ
สารบัญ
ประวัติชุ มชน ๑
โครงสร้างชุ มชน ๙
แผนที่เดินดิน ๑๑
ปฏิ ทินชุ มชน ๑๒
ต้นทุนทางสั งคม ๑๓
แผนที่ทรัพยากรและวัฒนธรรม ๑๕
SWOT แนวทางการส่งเสริมธุ รกิจในชุมชน ๑๖
วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๑๗
ประวัติสินค้า คุณสมบัติหรือจุดเด่นของสินค้า ๑๘
การผลิตสิ นค้า ๑๙
Business Model Canvas ๒๐
แผนการตลาด STP ๒๑
แผนการตลาด ๔P ๒๓
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน ๒๔
บรรจุภัณฑ์ ๒๙
การส่ งเสริมการขาย ๓๖
การประชาสั มพันธ์การขาย ๓๗
บรรณานุกรม ๓๘
๑
ประวัติชุ มชน
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู อำเภอเมือง
เพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์
ตำบลวังชมภู เดิมเป็ นหมู่บ้านวังชมภู ตั้งอยู่บนพื้นที่ทางแยกของถนน
สายสระบุรี-หล่มสัก เดิมเป็ นจุดพักผ่อนของคนเดินทางสมัยก่อน ตั้งเป็ น
หมู่บ้าน ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๙-๒๔๘๐ เดิมขึ้นกับตำบลนายม ในสมัย
สงครามโลกครั้งที่ ๒ กองทัพไทยได้มาตั้งหน่ วยทหาร ฝ่ ายสนั บสนุนกำลังพล
ขึ้นคือ หมู่บ้านสามแยกป่ าติ้ว (ตลาดเทศบาลตำบลวังชมภู ในปั จจุบัน) เหตุที่
ชื่อว่า “วังชมภู” ก็เพราะว่าเมื่อสมัยก่อนมีต้นชมพู่ต้นใหญ่อยู่ริมวังน้ำ จึงเรียก
ว่า วังชมพู่ ต่อมาเพี้ยน เป็ น วังชมภู ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลง
หมู่บ้านวังชมภูและหมู่บ้านป่ าติ้ว จึงได้รวมเป็ นหมู่บ้านเดียวกัน และตั้งชื่อ
หมู่บ้านว่า หมู่บ้านสามแยกวังชมภู ต่อมามีประชาชนอาศั ยจำนวนมาก ทาง
ราชการจึงได้ยกฐานะหมู่บ้านขึ้นเป็ น “ ตำบลวังชมภู ” เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๕
ตำบลวังชมภู ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ห่าง
จากตัวอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ระยะทาง ๒๑ กิโลเมตร พื้นที่ของตำบลวังชมภู
มีทั้งหมดประมาณ ๔๔,๕๖๘ ไร่ คิดเป็ นพื้นที่ ๗๑.๓๑ ตารางกิโลเมตร แยก
เป็ นพื้นที่ในเขตเทศบาลตำบลวังชมภู ๒,๖๘๗ ไร่ คิดเป็ นพื้นที่ ๔.๓๐ ตาราง
กิโลเมตร ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู ๔๑,๘๘๑ ไร่ คิดเป็ นพื้นที่
๖๗.๐๑ ตารางกิโลเมตร ตำบลวังชมภูตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอำเภอเมือง
เพชรบูรณ์ มีสภาพเป็ นพื้นที่เป็ นที่ราบ สลับเนิ นเขา ด้านทิศตะวันตกเป็ น
ภูเขา มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ป่ าไม้เขียวขจี มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง มี
โบราณสถาน มีน้ำตกตามธรรมชาติ
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู ได้จัดตั้งเป็ นองค์การบริหารส่วนตำบล
วังชมภู ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วน
ตำบล เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ และได้ประกาศในราชกิจจานุ
เบกษา เล่มที่ ๑๑๓ ตอนที่ ๙ ง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙
๒
ประวัติชุ มชน
ภูมิประเทศ
ตำบลวังชมภูตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอำเภอเมืองเพชรบูรณ์มีสภาพเป็ นพื้นที่ราบ
หุบเขา ด้านทิศตะวันตกเป็ นภูเขา มีอาณาเขตคิดต่อดังนี้
ทิศเหนื อ ติตต่อกับ ตำบลบ้านโตก อำเภอเมืองเพชรบูรณ์
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลห้วยละแก อำเภอมืองเพชรบูรณ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอชนแดน อำเภอเมืองเพชรบูรณ์
จำนวนหมู่บ้าน
ตำบลวังชมภูมีจำนวนทั้งสิ้น ๑๔ หมู่บ้าน แยกเป็ น
๑. หมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลวังขมภูเต็มหมู่บ้าน มีจำนวน
๘ หมู่บ้าน ได้แก่
- หมู่ที่ ๑ บ้านยาวีเหนื อ
- หมู่ที่ ๒ บ้านห้วยโป่ ง
- หมู่ที่ ๔ บ้านวังทอง
- หมู่ที่ ๖ บ้านหลุง
- หมู่ที่ ๗ บ้านยางหัวลม
- หมู่ที่ ๑๐ บ้านยาวีใต้
- หมู่ที่ ๑๓ บ้านยาวีพัฒนา
- หมู่ที่ ๑๔ บ้านห้วยโป่ งพัฒนา
๒. หมู่บ้านที่อยู่ในเขตองศ์ การบริหารส่วนตำบลวังชมภู บางส่วน มีจำนวน ๕
หมู่บ้าน ได้แก่
- หมู่ที่ ๕ บ้านชับข่อย
- หมู่ที่ ๘ บ้าน ก.ม.๒
- หมู่ที่ ๙ บ้านโนนโรงเลื่อย
- หมู่ที่ ๑๑ บ้านงามประทีป
- หมู่ที่ ๑๒ บ้านวังเจริญ
- หมู่ที่ ๓๓ บ้านงามประทีป
๓. หมู่บ้านที่อยู่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลวังขมภู เต็มหมู่บ้าน มีจำนวน
๑ หมู่บ้าน
ใต้แก่ หมู่ที่ ๓ บ้านสามแยกวังชมภู
๓
ประวัติชุ มชน
ชุ มชนบ้านยางหั วลม
มีวิถีชุมชนอันเรียบง่ายและมีประวัติศาสตร์ความเป็ นมาตั้งแต่เมื่อ ครั้ง
ไทยรบกับพม่าใน พ.ศ. ๒๓๑๘ อีกทั้งมีสำเนี ยงภาษาอันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ
ตัวต่างจากภาษาของชาวเมืองเพชรบูรณ์ ที่สำคัญบ้านยางหัวลมยังเป็ น "ประตูสู่
เมืองเพชรบูรณ์" ที่ต้องมาทำความรู้จักเพื่อจะคูณความสุขเมื่อมาเยือน พร้อม
แวะกราบสักการะหลวงพ่อทบ พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง อริยสงฆ์แห่งลุ่มน้ำป่ าสัก
ณ วัดช้างเผือกเพื่อความเป็ นสิริมงคล
ชุ มชนบ้านยางหั วลม
ดั้งเดิมตั้งขึ้นตั้งแต่ยังเป็ นมณฑล ซึ่งเป็ นมณฑลที่มีชื่อว่า มณฑลราชสีมา
และเปลี่ยนเป็ นมณฑลเพชรบูรณ์ หลังจากเปลี่ยนเป็ นมณฑลเพชรบูรณ์ ชุมชน
บ้านยางหัวลมจึงเป็ นส่วนหนึ่ งของตำบลนายม ซึ่ง พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้ตั้งเป็ นตำบล
วังชมภู
ประชากร
จำนวนคนในชุมชนมีประมาณ ๘00 กว่าคน
ทรัพยากร
- แต่เดิมการปลูกต้นยาง ทำสวนยาง (ยางนา) เห็นได้จากต้นยาง ๓๐๐ ปี ในวัด
ช้างเผือก
- ในปั จจุบันมีการเพาะปลูกเพิ่มมากขึ้น โดยปลูกข้าวโพด การทำนา การทำไร่
และมีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทานตามบ้าน
๔
ประวัติชุ มชน
ที่ ตั้งชุ มชน
ทิศเหนื อ ติดต่อกับ หมู่ ๙ บ้านโนนโรงเลื่อย
ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่ ๖ บ้านหลุง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลนายม
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ ๘ บ้าน ก.ม.๒
ศาสนา
ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่นั บถือ พระพุทธศาสนาและปั จจุบันเริ่มมีการ
นั บถือ ศาสนาคริสต์เพิ่มเข้ามา
ความผู กพันระหว่างชุ มชนบ้านยางหั วลมและวัดช้ างเผือก
ดั้งเดิมมีการสร้างวัดไว้ก่อน โดยที่วัดนี้ มีมานานแล้วซึ่งมีหลักฐานจาก
การขุดพบโบสถ์เก่าสันนิ ษฐานอายุประมาณ ๓๐๐ ปี ในสมัยกรุ งศรีอยุธยา
จากหลักฐานที่ขุดพบเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๗ คือซากปรักหักพังของ
โบสถ์เก่าและมีการบูรณะตกแต่งด้วยการสร้างพระพุทธรู ปปางประทานพรไว้
ตรงกลางอย่างสวยงาม
การจัดงานประจำปี ของชุมชน
ชุมชนบ้านยางหัวลม จะมีการจัดประเพณีบวงสรวงหลวงพ่อทบ
วันที่ ๑๔ มีนาคมของทุกปี ซึ่งเป็ นวันมรณภาพของหลวงพ่อ
๕
สถานที่ ในชุ มชน
วัดช้างเผือก
วัดช้างเผือก ตั้งอยู่เลขที่ ๓๑๓ บ้านยางหัวลม หมู่ที่ ๗ ตำบลวังชมภู
อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคระสงฆ์มหานิ กาย มีที่ดินตั้ง
วัดเนื้ อที่ ๑๔ ไร่ ๒ งาน ๑๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนื อยาว ๘o เมตร
ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศใต้ยาว ๑๖๐ เมตร ติดต่อกับที่นาของนางแล่ม
ชีพราม ทิศตะวันออกยาว ๑๗๐ เมตร ติดต่อกับที่ตั้งบริษัทของนายจุน คุ้มวงศ์
ทิศตะวันตกยาว ๑๙* เมตร ติดต่อกับที่ดินของนายชู ชาวใต้ ซึ่งมี น.ส๓ เลขที่
๒๑๙ เป็ นหลักฐาน พื้นที่ตั้งวัดเป็ นที่ราบ อาคารเสนาสนะต่างๆ มีศาลา
การเปรียญกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๕ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๑๗ หอสวดมนต์
กว้าง ๙ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้าง พ.ศ.๒๕๒๒ กุฏิสงฆ์ จำนวน ๒ หลัง วัด
ช้างเผือก สร้างขึ้นเป็ นวัดนั บตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๘๓ ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมาในราว พ.ศ.๒๔๔๗ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๑๖ เมตร ยาว ๒๐
เมตร ปั จจุบัน พ.ศ.๒๕๕๒ มีพระครู พิมลพัชรกิจเป็ นเจ้าอาวาส วัดช้างเผือก
ตั้งอยู่ก่อนถึงตัวเมืองเพชรบูรณ์ประมาณ ๒๔ กิโลเมตร บริเวณปากทางเข้าวัด
จะเห็นรู ปปั้ นช้างเผือกเป็ นสัญลักษณ์บริเวณทางเข้าไปวัดช้างผือก
จะมองเห็นช้างเผือกตัวใหญ่ยืนเด่นเป็ นสง่าเฝ้ าอยู่หน้ าประตูจากประตูทางเข้า
ไปอีกประมาณ ๗๐๐ เมตร ก็จะถึงวัดช้างเผือกมีซุ้มประตูทางเข้าวัดสวยงาม
ด้านบนซุ้มประตูประดิษฐานรู ปหล่อหลวงพ่อทบองค์ใหญ่ บริเวณวัดมีลาน
กว้างขวางร่มรื่นไปด้วยต้นไม้จอดรถได้สะดวกสบาย ภายในลานกลางวัด
ประดิษฐานรู ปหล่อองค์หลวงพ่อทบขนาดใหญ่ ซึ่งลูกศิ ษย์และทางวัดร่วมกัน
จัดสร้างขึ้นหลังจากที่หลวงพ่อมรณภาพลงสำหรับให้ผู้จิตศรัทธาได้เข้ามา
สักการบูชาเพื่อเป็ นสิริมงคลต่อตนเองหรือครอบครัวและร่วมระลึกถึงองค์หลวง
พ่อทบพระผู้เต็มไปด้วยความเมตตาและบุญบารมีด้านหน้ ามีบาตรน้ำมนต์
หลวงพ่อทบขนาดใหญ่ คนที่เข้าทำบุญส่วนมากมักจะนำมาพรมศรีษะหรือใส่
ขวดนำกลับบ้านไปผสมน้ำอาบและพรมรอบบ้านเรือนของตนเอง
๖
สถานที่ ในชุ มชน
วัดช้างเผือก
ด้านข้างรู ปหล่อหลวงพ่อเป็ นมณฑปหลังสวย ตกแต่งด้วยปูนปั้ นลายไทย
ปิ ดทองประดับกระจกสีสันงดงามด้านในโดยรอบจะมีภาพวาดฝาผนั งเกี่ยวกับ
พุทธประวัติของพระพุทธเจ้า และมีภาพถ่ายของหลวงพ่อทบในสมัยที่ท่านยังมี
ชีวิตอยู่ตั้งอยู่หลายภาพ ตรงกลางมณฑปเป็ นที่เก็บสรีระร่างกายของหลวงพ่อที่
ไม่เน่ าเปื่ อยเอาไว้ ใส่ไว้ในโลงแก้วขนาดใหญ่ เมื่อเราเข้าไปดูแบบใกล้ ๆ
สังขารของหลวงพ่อไม่เน่ า ไม่เปื่ อย จะเป็ นลักษณะของผิวหนั งแห้งติดกระดูก
ตามร่างกายจะติดแผ่นทองทั้งหมด มีประชาชนเข้ามากราบไหว้
สังขารของหลวงพ่อเป็ นจำนวนมากในทุก ๆ วันภายในวัดช้างเผือกมีกุฏิกาของ
หลวงพ่อทบ ที่ท่านอาศั ยอยู่ในสมัยที่ยังมีชีวิตบนกุฏิมีภาพเก่า ๆ และประวัติ
ของหลวงพ่อ มีรู ปหล่อเหมือนหลวงพ่อเพื่อให้เราได้กราบไหว้บูชา บริเวณลาน
กว้างภายในกุฏิ จัดแสดงเกี่ยวกับวัตถุมงคลรุ่นต่างๆ ของหลวงพ่อทบ ที่ทางวัด
จัดสร้างขึ้น มีวัตถุมงคลมากมายหลายรุ่น ทั้งรู ปหล่อ ผ้ายันต์ เหรียญ วัตถุ
มงคลหลวงพ่อทบนั้ นมีพุทธคุณแทบทั้งสิ้น และในเดือนมีนาคมจะมีการ
จัดงานประจำปี ครบรอบวันมรณภาพของหลวงพ่อทบเป็ นประจำทุกปี ที่วัดช้าง
เผือกแห่งนี้
๗
สถานที่ ในชุ มชน
ตลาดต้นยาง ๓๐๐ ปี
ปี ๒๕๖๑ ทางรัฐบาลได้เลือกชุมชนบ้านยางหัวลมเป็ นชุมชน
หมู่บ้านท่องเที่ยว มีงบประมาณจากภาครัฐให้พัฒนาชุมชน โดย
กิจกรรมก็จะมีการจัดตั้งร้านค้าเปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านในชุมชนมา
ค้าขายสินค้ากันซึ่งแต่เดิมทางวัดช้างเผือกก็ได้เปิ ดพื้นที่ให้ค้าขายอยู่
แล้ว แต่เมื่อมีโครงการจากรัฐบาลเมื่อปี ๒๕๖๑ ทำให้ได้รับงบ
ประมาณในการปรับปรุ งและพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวมากขึ้น
โดยที่ชาวบ้านจะระดมพลังทำตลาดให้ดีขึ้น และตั้งชื่อว่า ตลาดต้น
ยาง ๓๐๐ ปี ซึ่งมีที่มาจาก ต้นยางที่ปลูกมานานและมีอายุกว่า ๓๐๐ ปี
ในวัดช้างเผือกนั่ นเอง สินค้าที่ชาวบ้านนำมาจำหน่ าย ได้แก่ พืชผักที่
ชาวบ้านปลูกเอง และมีผลิตภัณฑ์ที่ชาวบ้านทำเองอีกด้วย เช่น ขนม
ใส่ไส้ ขนมพันไส้ กล้วยหินใบมะขาม และเมี่ยงญวน
เนื่ องจากภายในบริเวณวัดข้างเอกมีความร่มรื่น และอุดม
สมบูรณ์ไปด้วยต้นไม้น้ อยใหญ่หลากหลายสายพันธุ์ โดยเฉพาะต้น
ยางยักษ์ที่มีอายุมากกว่า ๓๐๐ ปี ซึ่งเป็ นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นของ
ชุมชนบ้านยางหัวลม ประกอบกับมีนั กท่องเที่ยวเดินทางมากราบไหว้
หลวงพ่อทบ กันอย่างไม่ขาดสาย โดยเฉพาะในช่วงวันหยุดเสาร์-
อาทิตย์ และวันหยุดนั กขัตฤกษ์ นายประสิทธิ์ พิมพูล "ผู้ใหญ่อิ่ง"
ผู้ใหญ่บ้านยางหัวลม จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งตลาดชุมชนขึ้นภายใต้
ชื่อว่า "ตลาดต้นยาง ๓๐๐ ปี "
๘
สถานที่ ในชุ มชน
ตลาดต้นยาง ๓๐๐ ปี
เพื่อเป็ นการสร้างรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน โดยให้ชาว
บ้านนำพืชผลทางการเกษตรที่ปลูกเองและปลอดสารพิษมาวางขาย อีกทั้งยังมี
ผลิตภัณฑ์แปรรู ปทางการเกษตร เช่น กล้วยหิน มะขาม มะม่วง มะละกอ
กล้วยหอม หน่ อไม้สด ผักกูด ผักปรัง ผักไห่ ฯลฯ เสื้อผ้ามัดย้อมจากกลุ่มแม่
บ้านยางหัวลม อาหารและขนมพื้นบ้านอร่อยๆ ไว้บริการแก่นั กท่องเที่ยว
คุณประสิทธิ์ เพิ่มพูล
ผู้ใหญ่บ้าน
ชุ มชนบ้านยางหั วลม
พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อทบหรือ
หลวงปู่ ทบ ธัมมปั ญโญภิกขุ
จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิต
ชุมชนและความเป็ นมาของหลวงพ่อทบ
ธัมมปั ญโญภิกขุหรือท่านพระครู วิชิต
พัชราจารย์
๙
โครงสร้างองค์การบริหาร
ส่ วนตำบลวังชมภู
นายกองค์การบริหาร ประธานสภา
ส่ วนตำบลวังชมภู อบต.วังชมภู
รองนายก อบต. รองนายก อบต. รองประธานสภาอบต.
เลขานุการสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
โครงสร้างส่ วนราชการ
๑๐
โครงสร้างชุ มชนบ้านยางหั วลม
กำนั น
ผู้ใหญ่บ้าน
คุณประสิทธิ์ เพิ่มพูล
ผู้ใหญ่บ้าน
ชุ มชนบ้านยางหั วลม
แผนที่เดินดิน ๑๑
บ้านแดงอังคาร วัดช้างเผือก
สายฝนโฮมสเตย์
ส่ วนองตคำ์กบาลรวบังรชิหมภาูร ถนนสาธารณะ สถานี เครื่องส่ง
ถนนสระบุ รี-หล่มสั ก
สั ญญาณทีวีดิ จิตอล
จังหวัดเพชรบูรณ์
๑๒
ปฏิ ทินชุ มชน
เดือนมกราคม วันขึ้นปี ใหม่
เดือนกุมภาพันธ์ วันมาฆบูชา
เดือนมีนาคม วันครบรอบวัน
มรณภาพหลวงพ่อทบ**
เดือนเมษายน วันสงกรานต์
เดือนพฤษภาคม วันวิสาขบูชา
เดือนกรกฎาคม วันอาสาฬหบูชา
วันเข้าพรรษา
เดือนตุลาคม วันออกพรรษา
เดือนพฤศจิกายน วันลอยกระทง
เดือนธันวาคม
วันสิ้ นปี
**วันครบรอบวันมรณภาพ
หลวงพ่อทบจัดกิจกรรมพิธี
บวงสรวงหลวงพ่อทบ ในวัน
ที่ ๑๔-๑๖ มีนาคมของทุกปี
๑๓
ต้นทุนทางสั งคม
ความสามัคคีเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของชุมชน
ผู้นำชุ มชนมีการปกครองแบบธรรมาภิบาล
เป็ นกันเอง ช่วยเหลือชาวบ้านทุกเรื่อง และ
เป็ นนายทะเบียนของชุมชน
ต้นทุนมนุษย์
คนในชุมชนมีประมาณ ๘๐๐ กว่าคน คนส่วน
ใหญ่ประกอบอาชีพทำไร่ ทำนาและทำสวน
ต้นทุนกายภาพ
ทางวัดช้างเผือกมีการให้ชาวบ้านสามารถเข้ามา
ใช้พื้นที่วัดได้ฟรีในการขายพืชผลทางการ
เกษตรและสิ นค้าที่ ชาวบ้านทำเอง
๑๔
ต้นทุนธรรมชาติ
ในพื้นที่ ชุ มชนมีการปลูก
ข้าวโพด ปลูกข้าว และมี
ต้นยางที่มีอายุกว่า ๓๐๐ ปี
ต้นทุนภูมิปั ญญาและวัฒนธรรม
สื บสานประเพณี อันดีงาม
จากอดีตจนถึงปั จจุบันคือ
งานประเพณีกิจกรรมพิธี
บวงสรวงหลวงพ่อทบ
ต้นทุนทางการเงิน
งบประมาณจากทางภาครัฐ
(องค์การบริหารส่ วนตำบล)
สนั บสนุนให้มีการพัฒนา
ชุมชนให้กลายเป็ นชุมชน
ท่องเที่ยว
ถนนสาธารณะ ๑๕
แผนที่ทรัพยากรและวัฒนธรรม
ถนนสระบุ รี-หล่มสั ก
๑๖
SWOT แนวทางการส่งเสริมธุ รกิจชุมชน
S คือ จุดแข็ง O คือ โอกาส
(Strengths) (Opportunities)
- ความสามัคคีของคนในชุมชน - มีเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้นมา
- ผู้ใหญ่บ้านปกครองแบบ สามารถประชาสั มพันธ์ได้ อย่าง
ทั่วถึง
ธรรมาภิบาลไม่เลือกปฏบัติ
- ประวัติ ความเชื่อ และ - มีงบประมาณสนั บสนุนจากรัฐบาล
ประเพณีมีประวัติอันยาวนาน - ปั จจุบันคนส่วนใหญ่หันมารับ
ประทานพืชผักที่ปลอดสารพิษ
และผักสดกันมากขึ้น
W คือ จุดอ่อน T คือ อุปสรรค
(Weaknesses) (Threats)
- มีทรัพยากรธรรชาติหลาก - สถานการณ์การแพร่ระบาด
หลายน้ อย และปลูกพืชผักใน ของเชื้อไวรัสโคโรนา
วงจำกัด (covid-๑๙)
- ภาวะเงินเฟ้ อ ข้าวของแพงขึ้น
สิ่ งแวดล้อมภายใน - ราคาน้ำมันสูงขึ้น
สิ่ งแวดล้อมภายนอก
๑๗
วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อสนั บสนุนให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและ
นำทรัพยากรในชุ มชนที่ มีอยู่นำมาใช้ ในเกิดประโยชน์
๒. เพื่อตระหนั กให้เห็นคุณค่าของสินค้าและบริการ
เห็นคุณค่าของคนในชุมชน รวมถึงการเห็นคุณค่าใน
ตนเอง
๓. เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจของคนในชุมชน
เป้ าหมาย
๑. ส่งเสริมและสนั บสนุนให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาสิ นค้าของชุ มชนตนเอง
๒. ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความคิดสร้างสรรค์และ
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
๓. ส่งเสริมชุมชนให้เป็ นชุมชนที่แข็งแกร่งอยู่บนหลัก
ธรรมาภิบาล
๑๘
ประวัติสิ นค้า
คุณสมบัติหรือจุดเด่นของสิ นค้า
“เมี่ยง” เป็ นอาหารว่างของชาวล้านนาในอดีต เมี่ยง เป็ นภาษาถิ่น
ของภาคเหนื อแปลว่า ใบชา เป็ นพืชที่มีสรรพคุณหลากหลาย ในอดีต
นั้ นทุกบ้านในภาคเหนื อจะมีเมี่ยงไว้เป็ นของว่าง และใช้ต้อนรับแขก
หรือญาติที่มาเยี่ยมเยือน ปั จจุบันไม่นิ ยมและเด็กรุ่นใหม่ก็แทบจะไม่รู้
จัก
เมี่ยงหมัก จะนำไปกินเป็ นของว่าง เคี้ยวเล่นเพลินๆ เป็ นของกิน
เล่นของคนภาคเหนื อ ลองชิมใบเมี่ยงที่หมักแล้วรสชาติจะออกเปรี้ยวๆ
ฝาดๆ คล้ายกับของหมักดองทั่วไป จะกินใบเมี่ยงเปล่าๆ หรือจะใส่ไส้
ลงไปกินคู่กันด้วยก็ได้ ไส้เมี่ยงแบบดั้งเดิมจะใส่แค่เกลือเม็ดและขิง
เท่านั้ น แต่ในปั จจุบันใส่ มะพร้าวคั่ว และถั่วลิสงคั่ว แถมยังมีการห่อ
เป็ นคำๆ ขายทั้งแบบเปรี้ยวและแบบหวาน สามารถเคี้ยวกลืนได้
ทั้งหมด ไม่ต้องคายกากทิ้งหรือบ้วนน้ำทิ้งเหมือนกินหมาก
เมี่ยงญวน คุณยายหนาด
เจ้าของเมี่ยงญวน
๑๙
การผลิตสิ นค้า
วิธีทำเมี่ยง
๑. เก็บใบชาแก่ไปนึ่ งแล้วหมัก
๒. วิธีการหมักจะนำใบเมี่ยงมามัดรวมกัน เมื่อมัดแล้ว
จะเรียกเป็ น “แหนบ”
๓. นำไปหมักกับน้ำเปล่า ใช้เวลาประมาณ ๒ เดือน
จะได้ที่
๔. นำใบชาที่หมักเสร็จมาห่อทีละคำด้วยใบตอง โดย
ใส่ถั่วลิสงคั่ว ใส่มะพร้าวคั่วและใส่น้ำตาล จากนั้ นใช้ทาง
มะพร้าวมัด นำมาร้อยกันเป็ นพวง
ประโยชน์ ของใบเมี่ยง
ใบเมี่ยงมีสรรพคุณช่วยรักษาโรคหวัดทำให้หายใจ
คล่อง มีกลิ่นหอม ระงับกลิ่นเหงื่อ กลิ่นกาย กลิ่นหอม
ของใบช่วยทำให้ร่างกายผ่อนคลาย คลายเครียด
ช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตดีขึ้น
๒๐
Business Model Canvas
Key partners Key activities Value Customer Customer
propositions relationship segments
- องค์การบริหาร - การจัดทำตลาด
ส่ วนตำบล ต้นยาง ๓๐๐ ปี - เมี่ยงโบราณ - ประชาสัมพันธ์ - กลุ่มนั ก
- เข้าร่วมงานประจำ หายากและอร่อย ผ่านสื่ อออนไลน์ ท่องเที่ยวแบบ
- กลุ่มแม่บ้าน ปี ประจำจังหวัด - วัตถุดิบมาจาก และหน้ าร้าน เดี่ยว
- วัดช้างเผือก - การส่งเสริมการ ธรรมชาติ - เน้ นให้ความรู้
ขายออนไลน์ - สามารถนำมา ด้านวิธีการทำและ - กลุ่มนั ก
รับประทานเป็ น ประโยชน์ ที่ได้รับ ท่องเที่ยว
Key resources ของว่างช่วยใน แบบครอบครัว
การผ่อนคลาย Channels
- วัตถุดิบจาก - คนที่อยู่ใน
ท้องถิ่น - Facebook page จังหวัดเดียวกัน
- Instagram
- ผู้เชี่ยวชาญใน - เบอร์โทร
เรื่องประวัติศาสตร์
และพิธีกรรมทาง
ศาสนา
Cost structure Revenue streams
- ค่าแรง - ค่าบรรจุภัณฑ์ - รายได้จากการขายสินค้า (เมี่ยงญวน)
- ค่าวัตถุดิบ
- ค่าขนส่ง - ค่าโปรโมทผ่านเพจต่าง ๆ
- ค่าตกแต่งร้านเพิ่มเติม
๒๑
แผนการตลาด STP
เป้ าหมายทางการตลาด
เป้ าหมายระยะสั้น
เพิ่มเอกลักษณ์ให้กลุ่มเป้ าหมายหรือกลุ่มลูกค้าจดจำได้ง่าย ทั้ง
โลโก้และชื่อแบรนด์
เพิ่มช่องทางจัดจำหน่ ายให้ครอบคลุมพื้นที่ให้ตัวอำเภอเมือง
เพชรบูรณ์
รักษาคุณภาพของเมี่ยงญวน มีรถชาติคงที่ และเพิ่มปริมาณใน
การผลิตต่อวัน
เป้ าหมายระยะยาว
สร้างความยั่งยืนให้เป็ นที่รู้จักของจังหวัด
ส่งจำหน่ ายนอกอำเภอและตัวเมืองไปยังต่างจังหวัดหรือต่าง
อำเภอ
ยอดขายเพิ่มขึ้นทุกเดือน
การแบ่งส่ วนตลาด
ตลาดท้องถิ่น (Local Market) ประมาณ ๖๐%
เป็ นการทำให้คนในจังหวัดหรือท้องถิ่นรู้จักเมี่ยงญวนมากยิ่งขึ้น
เนื่ องจากเป็ นการวางรากฐานที่สำคัญและสามารถบอกกันปากต่อ
ปาก (Word of Mouth Marketing)ได้ นอกจากนี้ คนในจังหวัด
สามารถสร้างเครือข่ายกันระหว่างอำเภอทำให้กระตุ้นยอดขายให้
กับเมี่ยงญวนได้อีกด้วย
ตลาดมวลชน (Mass Market) ประมาณ ๔๐%
เป็ นการส่งเสริมให้นั กท่องเที่ยวรู้จักและรู้สึกทราบซึ้งกับ
ประวัติศาสตร์อันยาวนานของการทำเมี่ยงญวน และสามารถนำมา
เป็ นของฝากหลังกลับจากการท่องเที่ยวได้
๒๒
แผนการตลาด STP
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย
กลุ่มเป้ าหมาย ได้แก่
คนที่อยู่ในจังหวัดเดียวกัน เป็ นกลุ่มเป้ าหมายหลัก เนื่ องจาก
ต้องทำให้เมี่ยงญวนเป็ นที่รู้จักให้จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็ นของขึ้นชื่อ
ที่มีเอกลักษณ์และคนในท้องถิ่นจดทำได้ นอกจากนี้ ยังทำให้เกืด
ความยั่งยืนในเศรษฐกิจเนื่ องจากพอเมี่ยงญวนติดตลาดก็จะทำให้
เป็ นที่ต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น
นั กท่องเที่ยวแบบกลุ่มและนั กท่องเที่ยวแบบเดี่ยว เป็ นกลุ่ม
เป้ าหมายรอง เนื่ องจากกลุ่มนั กท่องเที่ยวจะมาท่องเที่ยวตามฤดู
กาลกรือวันหยุดต่าง ๆ และส่วนใหญ่ที่จะมาท่องเที่ยวจังหวัด
เพชรบูรณ์ คือ ฤดูหนาว และใน ๑ ปี มีฤดูหนาวครั้งเดียวทำให้
นั กท่องเที่ยวมีจำนวนมากในช่วงนี้ การสร้างการตระหนั กรู้ให้กับ
กลุ่มนั กท่องเที่ยวจะทำให้นั กท่องเที่ยวมีการซื้อเมี่ยงญวนไปเป็ น
ของฝากมากยิ่งขึ้น
การวางตำแหน่ งผลิตภัณฑ์
จะเห็นได้ว่า เมี่ยงญวนไม่ค่อยเป็ นที่รู้จักมากนั ก และ เป็ น
ขนมโบราณที่หายากในปั จจุบัน การสร้างการตระหนั กให้กลุ่ม
เป้ าหมายสามารถจดจำชื่อและแบรนด์ของเมี่ยงญวน นอกจากนี้
สามารถใส่เรื่องราวประวัติศาสตร์ที่นำมาถ่ายทอด เพื่อจะได้
ทราบประวัติและความเป็ นมาของเมี่ยงญวนได้
เมี่ยงญวนที่จำหน่ ายที่วัดช้างเผือกนี้ มีความแตกต่างจากเจ้าอื่น คือ
การบรรจุภัณฑ์ที่ไม่ทำให้เลอะเทอะ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และ
ยังสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้นาน เหมาะที่จะนำไปเป็ นของฝาก
สำหรับกลุ่มเป้ าหมายที่ห่างไกลได้
๒๓
แผนการตลาด ๔p
Product
เมี่ยงญวณ เป็ นของทานเล่นที่ทำให้ผู้รับประทานเกิดการผ่อนคลาย ซึ่ง
เมี่ยงญวนทำมาจากใบชาหมัก เมื่อหมักเสร็จนำมาห่อด้วยใบตองและใส่มะพร้าว
คั่ว ถั่วลิสงคั่ว และน้ำตาลทราย จากนั้ นห่อด้วยทางมะพร้าวและสานเป็ นพวง
Price
เมี่ยงญวณ สามารถตั้งราคาขายจากต้นทุนได้ราคาประมาณ ๓๕ ต่อกล่อง
ซึ่ง ๑ กล่อง ได้เมี่ยงประมาณ ๔ อัน
Place
สถานที่จัดจำหน่ าย ได้แก่
ตลาดต้นยาง ๓๐๐ ปี
เข้าร่วมงานประเพณีประจำจังหวัด
ช่องทางการขายออนไลน์
Facebook page
Instagram
Promotion
โพสต์ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็ นทาง Facebook
หรือ Instagram
จัดโปรโมชั่นส่งเสริมการขาย ถ้าซื้อเมี่ยงญวน ๓ กล่องจะได้รับราคา
๑๐๐ บาท
๒๔
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน
การออกแบบโลโก้
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
โลโก้สี เข้ม
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
โลโก้สี อ่อน
๒๕
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน
การออกแบบโลโก้
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
Font: Font: Sarabun
Sriracha
รู ปวาดสินค้า
พวงเมี่ยงญวน
ออกแบบให้มีจุดเด่นโดยใช้สีเขียวเป็ นสีของแบรนด์ สื่ อถึงความเป็ น
ธรรมชาติและผ่อนคลาย
สร้างโลโก้ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะโดยการวาดพวงเมี่ยง ซึ่งเป็ นรู ป
ลักษณ์ ของสิ นค้า
เลือกใช้แบบอักษรที่มีความทันสมัยสวยงาม
ตั้งชื่อแบรนด์ให้ง่าย อ่านแล้วเข้าใจนึ กถึงผลิตภัณฑ์
๒๖
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน
#๔๖๒F๑A สี Olive Drab7 ให้ความ
รู้สึ กแข็งแรงและมั่นคง
#๖๐๔๙๒C สี Dark Brown ให้ความ
รู้สึ กเรียบง่ายและมั่งคง
#๘๘๙๕๕๖ สี Moss Green ให้ความ
รู้สึกที่เป็ นธรรมชาติและสดชื่น
๒๗
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน
#ABB๕๕๗ สี Middle Green Yellow
ให้ ความรู้สึ กอบอุ่นและบริสุ ทธิ์
#BED๕๕๘ สี June Bud ให้ความรู้สึก
ตื่นตัวพร้อมผจญภัยพบกับสิ่ งใหม่ๆ
#DDE๖๙๔ สี Key Lime ให้ความรู้สึก
สดชื่น สดใส และปลอบประโลมให้
จิตใจสงบ
๒๘
ผลิตภัณฑ์ ชุ มชน
บรรจุภัณฑ์แบบดั้งเดิม
มีการใช้ใบตองและทางมะพร้าว
เป็ นส่วนประกรอบ ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปจะ
ทำใ้ห้ใบตองและทางมะพร้าวแห้งและ
เหี่ ยวได้
๒๙
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
ภายนอกกล่อง
สำหรับการกั้น
เมี่ยงให้ไม่ไหล
สำหรับการ
ใส่ โลโก้
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
๓๐
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
ภายในกล่อง
สำหรับการกั้น
เมี่ยงให้ไม่ไหล
สำหรับการ ส่วนประกอบ
ใส่ ฉลากส่ วน
ประกอบหรือ ใ บ เ มี่ ย ง ๓ - ๔ ใ บ
ส่ วนผสม ม ะ พ ร้ า ว คั่ ว ๒ ช้ อ น ช า
ถั่ ว ลิ ส ง คั่ ว ๑ ช้ อ น ช า
น้ำ ต า ล ท ร า ย ๑ ช้ อ น ช า
โทร. ๐๘๑-๒๐๓-๓๐๐๒ (คุณยายหนาด)
๓๑
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
เมืจเอามกีง่ชุยเมพงช นญชบ้ ารวนบยนูารงณหั ว์ล ม
รู ปบรรจุภัณฑ์ที่มีโลโก้สีอ่อน
๓๒
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
ภายนอกและในกล่อง
ส่วนประกอบ
ใ บ เ มี่ ย ง 3 - 4 ใ บ
ม ะ พ ร้ า ว คั่ ว 2 ช้ อ น ช า
ถั่ ว ลิ ส ง คั่ ว 1 ช้ อ น ช า
น้ำ ต า ล ท ร า ย 1 ช้ อ น ช า
โทร. 081-203-3002 (คุณยายหนาด)
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
ภายในกล่องมีการใส่ ส่ วนประกอบของ
เมี่ยงญวนและเบอร์โทรติดต่อ
ภายนอกกล่องมีการใส่ โลโก้ให้ จดจำได้
ง่ายและบ่งบอกถึงผลิตภัณฑ์
๓๓
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
เมืจเอามกีง่ชุยมเพชงนญชบ้ ารวนบยนูารง ณหั ว์ล ม
ส่วนประกอบ
ใ บ เ มี่ ย ง 3 - 4 ใ บ
ม ะ พ ร้ า ว คั่ ว 2 ช้ อ น ช า
ถั่ ว ลิ ส ง คั่ ว 1 ช้ อ น ช า
น้ำ ต า ล ท ร า ย 1 ช้ อ น ช า
โทร. 081-203-3002 (คุณยายหนาด)
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
รู ปบรรจุภัณฑ์ที่มีโลโก้สีเข้ม
๓๔
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
เมี่ยงญวน เพิ่มรู ปแบบการ
เมืองเพชรบูรณ์ ห่อเมี่ยงแบบใหม่
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม แบบที่ ๑
เมี่ยงญวน เพิ่มรู ปแบบการ
เมืองเพชรบูรณ์ ห่อเมี่ยงแบบใหม่
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม แบบที่ ๒
ส่วนประกอบ เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์
ใ บ เ มี่ ย ง 3 - 4 ใ บ
ม ะ พ ร้ า ว คั่ ว 2 ช้ อ น ช า จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
ถั่ ว ลิ ส ง คั่ ว 1 ช้ อ น ช า
น้ำ ต า ล ท ร า ย 1 ช้ อ น ช า
โทร. 081-203-3002 (คุณยายหนาด)
เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
จัดวางลงในกล่องบรรจุภัณฑ์
โดยที่มีที่กั้นกันไหลของเมี่ยง
๓๕
บรรจุภัณฑ์
ออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบใหม่
ถุงสำหรับใส่ กล่องเมี่ยง
เมี่ยงญวน เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์ เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม
ถุงกระดาษสำหรับ ถุงกระดาษสำหรับ
การใส่ เมี่ยงญวน การใส่ เมี่ยงญวน
แบบที่ ๑ แบบที่ ๒
(โลโก้สี อ่อน) (โลโก้สี เข้ม)
๓๖
การส่ งเสริมการขาย
ช่องทางการจัดจำหน่ าย
Facebook Page
เมี่ยงญวน เมืองเพชรบูรณ์
Instagram
MiangyuanMueangPhetchabun
เบอร์โทร
๐๘๑-๒๐๓-๓๐๐๒ (คุณยายหนาด)
๓๗
การประชาสั มพันธ์การขาย
วิดี โอส่ งเสริมการขาย
สแกนเพื่อ
รับชมวิดีโอ
ได้ที่นี่
Content: ทำเป็ นวิดีโอ Vlog บอกเล่าเรื่อง
ราวในการตามหาเมี่ยงญวน โดยมีการใส่
เรื่องราววิธีการทำและการใช้วัตถุดิบประกอบ
เพื่อให้เกิดความน่ าสนใจ ทำให้รู้สึกต้องการ
ติดตามเพื่อค้นหาเมี่ยงญวนไปด้วยกัน
๓๘
บรรณานุกรม
amezingthailand. (ม.ป.ป.). วัดช้างเผือก. thai.tourismthailand.
https://thai.tourismthailand.org/Attraction/%E0%B8%A7%
E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2
%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%B7%E0%B8%
AD%E0%B8%81
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมพู. (ม.ป.ป.). ข่าวประชาสัมพันธ์.
wangchomphu. https://www.wangchomphu.go.th/
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (๑๕ เมษายน ๒๕๖๕). จังหวัดเพชรบูรณ์.
th.wikipedia.org.
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%
B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0
%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%9A%
E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C
มิวเซียมไทยแลนด์. (ม.ป.ป.). เมี่ยง อาหารว่างคนเมือง.
museumthailand. https://www.museumthailand.com/th/
3501/storytelling/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0
%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%87/
Thaisoung. (๒๕๖๒). ความหมายของสี. thaisoung.
https://thaisoung.co.th/th/articles/%E0%B8%84%E0%B8
%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0
%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87
%E0%B8%AA%E0%B8%B5/
LITTLE FRIENDS. (๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒). จิตวิทยาสี. fahfahsworld.
https://fahfahsworld.com/color-psycho/
๓๙
จัดทำโดย
นางสาวศิ ริลักษณ์ นงนุช
รหัสนิ สิต ๖๒๔๒๒๒๗๑๒๗
คณะครุ ศาสตร์ สาขาธุ รกิจศึ กษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เมี่ยงญวน
เมืองเพชรบูรณ์
จ า ก ชุ ม ช น บ้ า น ย า ง หั ว ล ม