The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารโพธิยาลัย 33

podhiyalai_33

๓๓ 49

หมายเสียทีเดียว ด้วยเหตุน้ีการยกย่องชมเชย เขาไมโ่ ง่กวา่ เราดอก เขาพอฟงั ออกว่าเราพดู ดว้ ย
ด้วยความจริงใจ จึงเป็นที่ส�ำราญใจของอีกฝ่าย ความจรงิ ใจหรอื ไม่
หนึ่งเป็นอย่างยิ่ง เขาจะจดจ�ำติดอยู่ในใจเป็น
เวลานานแสนนาน ๑๐ ปี ๒๐ ปี ผา่ นไปแลว้ แต่ ขอเนน้ เป็นพเิ ศษในเรื่องความเสียสละ
ค�ำนิยมยกย่องน้ันยังสดใสอยู่ในความทรงจ�ำของ ความเสยี สละเปน็ เหตใุ หไ้ ดด้ ว้ ยกนั ทง้ั ๒ ฝา่ ย
ผฟู้ งั ถา้ อยใู่ นวสิ ยั ทจ่ี ะเลา่ ได้ เขาจะเลา่ ใหค้ นสนทิ คือ ผู้ให้ก็ได้ คือได้ให้ และได้ความสบายใจ ได้
มิตรสหายท่ีไว้ใจได้ฟัง ว่าผู้นั้นผู้นี้พูดถึงเขาว่า ความดีและบุญกศุ ล ส่วนผู้รับกไ็ ดเ้ หมือนกัน คอื
อยา่ งไร เขาจะรสู้ กึ กระหยม่ิ ยม้ิ ยอ่ งและภาคภมู ใิ จ ได้รับ และได้สิ่งของอันเป็นประโยชน์ในการ
ขณะเดยี วกนั จะรสู้ กึ นยิ มชมชอบผทู้ กี่ ลา่ วยกยอ่ ง บริโภคใช้สอย ได้รับเมตตาจิตและย่อมจะมี
ตนตอบแทนมาดว้ ย เราตอ้ งรจู้ กั ใหเ้ กยี รตผิ อู้ นื่ ให้ ไมตรจี ติ ตอบ สมดงั คำ� ท่วี ่า “ผใู้ หย้ อ่ มบันเทงิ ดว้ ย
สมฐานะของเขา การยกยอ่ งเกินไปก็ไม่ดี อาจท�ำ การให้ ส่วนผู้รับย่อมอ่อนน้อมถนอมน้�ำใจด้วย
ให้เขาเขินหรือกระดาก แต่การไม่รู้จักยกย่องเขา ปยิ วาจา” พระพุทธภาษติ มีว่า “ผู้ให้ย่อมผกู มติ ร
เสยี เลย ไม่ว่าเขาทำ� อะไร ก็ไมส่ มควรเหมอื นกนั ไว้ได้” และ ทรงแสดงอานิสงส์แห่งการให้ไว้ ๕
ในบางประเทศหรือบางสังคม เมื่อเล้ียง ประการ คือ

อาหารกันเสร็จแล้ว ผู้เป็นแขกจะขอดูตัวพ่อครัว ๑. ผู้ให้ย่อมเปน็ ทรี่ ัก (ของผู้รบั )
แม่ครัวหรือผู้รับผิดชอบในเร่ืองอาหารมื้อน้ันๆ ๒. เป็นที่พอใจคบหาสมาคมของคนดี
แลว้ ยกย่อง ชมเชย เพ่อื เป็นก�ำลงั ใจเขา ทำ� ดว้ ย ๓. ช่ือเสียงทีด่ งี ามย่อมฟงุ้ ขจรไป
ความจรงิ ใจ ไม่ใชส่ กั แต่ว่าพอเป็นพิธี เพยี งเทา่ น้ี ๔. เป็นผ้แู กลว้ กลา้ ไมเ่ กอ้ เขินท่ามกลาง
ผรู้ บั ผดิ ชอบเรอ่ื งอาหารการกนิ ซงึ่ เหนอื่ ยมาทง้ั วนั ชมุ นมุ ชน
หรอื ๓ วนั ๗ วนั กจ็ ะหายเหนอ่ื ย เพราะเขารสู้ กึ วา่ ๕. เมือ่ ส้นิ ชพี แล้ว ย่อมเข้าถึงสคุ ติ โลก
เปน็ คนสำ� คญั และมคี วามหมายมากในสงั คมนน้ั ๆ สวรรค์
จริงอยู่ มีบุคคลบางพวกท่ีไม่ต้องการความ
นิยมยกย่องหรือค�ำสรรเสริญใดๆ ท่านท�ำแต่
หน้าที่ของท่านอย่างเดียว แต่คนอย่างน้ันมีน้อย
เหลอื เกนิ ในโลก ตวั อยา่ งเชน่ พระอรหนั ต ์ คนทเี่ รา
เกยี่ วขอ้ งอยใู่ นสงั คมเกอื บรอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ตล์ ว้ นเปน็
คนธรรมดาทย่ี ังหวน่ั ไหวตอ่ ค�ำตำ� หนิตเิ ตยี น และ
พอใจในค�ำยกย่องชมเชย ตอ้ งการให้ผอู้ ื่นเหน็ ตน
และสงิ่ ทตี่ นทำ� เปน็ สง่ิ ทม่ี คี า่ เพราะฉะนนั้ เพยี งแต่
เราพดู จา ๒ - ๓ ค�ำ เพอ่ื ความสขุ สบายใจของเขา
เราจะเสียหายอะไร แต่ขอย�ำ้ ว่า ทา่ นต้องมคี วาม
จรงิ ใจ ถา้ ไมจ่ รงิ ใจกอ็ ยา่ พดู เลย นงิ่ เสยี ดกี วา่ คนอน่ื
เขาไม่ได้กินแกลบกินร�ำ เขากินข้าวเหมือนเรา

50 ๓๓

ก่อนท่ีพระพุทธองค์จะตรัสอานิสงส์ของ
ทาน ๕ ประการน ี้ มขี อ้ ความเลา่ ไวว้ า่ สหี เสนาบดี
แห่งนครเวสาลี เข้าไปเฝ้าพระพุทธองค์ ที่ป่า
มหาวนั ขอให้ทรงแสดงอานิสงสห์ รือผลแห่งทาน
ทเ่ี หน็ ไดใ้ นปัจจบุ ัน พระพุทธองค์จงึ ทรงแสดงผล
แหง่ ทานที่เห็นไดใ้ นปัจจุบัน ๔ ประการตน้ ส่วน
ประการท่ี ๕ นัน้ เหน็ ไดใ้ นสัมปรายภพ บางคราวควรวางเฉยเสียบ้าง ไม่จุ้นจ้าน
สีหเสนาบดี ทูลวา่ ผลแหง่ ทาน ๔ ประการ วุ่นวายกับเร่ืองของเขาเกินไป อันจะเป็นเหตุให้
ตน้ น้ัน เขาไม่ตอ้ งเชอ่ื พระผู้มพี ระภาค เพราะเหน็ เขาร�ำคาญ จริงอยู่เราหวังดี แต่ควรให้เกียรติ
ดว้ ยตนเองแลว้ สว่ นผลประการสดุ ทา้ ย เขาไมเ่ หน็ ในความคิดและการกระท�ำของเขาบ้าง เขาอาจ
ด้วยตนเอง แต่เขาเชือ่ พระผู้มพี ระภาคเจา้ มีเหตุผลส่วนตัวท่ีเราไม่รู้ เขาไม่อยากบอกใคร
อนงึ่ ผใู้ ห้อาหารแก่ผอู้ นื่ ได้ช่ือวา่ ให้ ๕ อย่าง แม้แต่เราซึ่งเป็นเพ่ือนรักของเขา อะไรพอช่วยได้
คือ ใหอ้ ายุ วรรณะ สุข กำ� ลงั และปฏิภาณ ก็ช่วยไป อะไรสุดวิสัยก็วางเฉยเสียบ้าง แล้วทุก
ทุกคนตอ้ งการอายุ ผิวพรรณ สขุ กำ� ลงั และ อยา่ งจะดเี อง
ความเฉลยี วฉลาด ดงั นนั้ ใครใหส้ ง่ิ นแี้ กเ่ ขาได้ ผใู้ ห้ เมื่อเขา้ ใกลใ้ คร สนทนาปราศรัยกับใคร ลอง
ย่อมเปน็ ท่ีรักของผ้รู ับ สามารถครองใจเขาได้ สังเกตว่า เขาท�ำอย่างไรที่เราชอบ ลองน�ำเอา
“บุคคลมีโภคะแล้ว ท�ำโภคทรัพย์ให้เป็น การกระท�ำอย่างน้ันไปปฏิบัติต่อผู้อื่นที่เราต้อง
ประโยชนแ์ กค่ นหมมู่ าก เทวดายอ่ มรกั ษาเขาผซู้ ง่ึ เก่ียวข้องด้วย และคอยสังเกตว่าเขาชอบหรือไม่
ธรรมคุ้มครองแล้ว เกียรติย่อมไม่ละผู้เป็นพหูสูต แตโ่ ปรดอยา่ ลมื วา่ คนแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกนั สง่ิ ที่
มีศีลและวัตรดี ตั้งอยู่ในธรรม ใครเล่าจะต�ำหนิ คนหนงึ่ ชอบ อกี คนหนงึ่ อาจจะไมช่ อบกไ็ ด้ มนษุ ย์
ผู้ต้ังอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล พูดจริง มีใจ มีภูมิหลงั และอธั ยาศัยไมเ่ หมือนกัน
ประกอบด้วยความละอายบาป ผเู้ ปน็ ดังเช่นทอง เมื่อจะตำ� หนติ ิเตยี นใคร ลองคิดทบทวนดูว่า
ชมพูนุท (ทองบริสุทธ์ิ) ผู้เช่นน้ัน เทวดาก็นิยม ถา้ เราอยใู่ นฐานะอยา่ งเขา เราจะทำ� อยา่ งเขาหรอื
พรหมก็สรรเสรญิ ” ความเปน็ ผู้เสยี สละ แบ่งปัน ไม่ ท้ังนี้เพ่ือไม่ให้เราต�ำหนิติเตียนผู้อ่ืนอย่าง
จึงเป็นสาราณียธรรมข้อหนึ่ง อันเป็นเหตุให้ผู้ พรำ�่ เพรอ่ื ซง่ึ เปน็ การทำ� ลายเสนห่ ใ์ นตวั เอง การให้
ปฏิบตั ิ เป็นที่เคารพรักของคนทงั้ หลาย อภัยผู้อ่ืนด้วยความเห็นใจเข้าอกเข้าใจ ท�ำให้เรา
นอกจากน้ี ผตู้ อ้ งการครองใจผอู้ นื่ ควรหดั ตน มีความสุขใจ ผู้ท�ำเชน่ นน้ั เรียกวา่ มจี ติ ใจเป็นเทพ
เป็นคนมมี ทุ ิตา คอื พลอยยนิ ดีตอ่ ความสขุ ความ ประการสุดท้ายก็คือ ถ้าต้องการครองใจ
สำ� เรจ็ ของผอู้ น่ื ไมร่ ษิ ยาใคร กดี กนั ใคร มแี ตค่ ดิ สง่ ผู้อื่น ต้องการความรักจากผู้อ่ืน ก็ขอจงหลั่ง
เสริมเมือ่ ผอู้ ื่นด�ำเนินอยใู่ นทางท่ีดี และไดป้ ระสบ ความรัก ความปรารถนาดีใหเ้ ขา โดยไมค่ �ำนึงว่า
ความสขุ ความสำ� เรจ็ ทำ� ใจประหนง่ึ ตนไดร้ บั ความ เขาจะรักตอบหรือไม่ แต่จงท�ำด้วยความฉลาด
สำ� เร็จเอง รอบคอบ และรูจ้ ักกาลเทศะ

51

สัมโมทนียกถา

โเรทาษทเขุกาข์สุวัณณฉายา
ขอเจริญพรไปยังอุบาสกอุบาสิกาท่ีมาท�ำบุญ
ทำ� กศุ ลในชว่ งเชา้ วนั นกี้ อ็ ากาศหนาวหนอ่ ย อากาศ
เปลี่ยนแปลงบ่อย บางทีก็ร้อน บางทีก็หนาว วันน้ี ส่ันคลอนศรัทธา ส่วนในตัวบุคคลเองนั้น ไม่นาน
ได้น�ำธรรมะเพื่อมาปฏิสันถาร สัมโมทนียกถาแก่ เดี๋ยวคนก็ลืม แต่ส�ำหรับศรัทธาท่ีเส่ือมต่อพระพุทธ
ญาตโิ ยม เพอ่ื นสหธรรมกิ ไดฟ้ งั เพ่อื เปน็ ข้อคดิ เป็น ศาสนาน้ี ยากท่จี ะกลบั มา เพราะฉะน้ัน ถ้าหากเรา
ปญั ญาสตุ ะ แยกแยะใหด้ ี ระหวา่ ง บคุ คล กับ ศาสนา ศาสนานี้
เน่อื งจากยุคน้ี อาตมาสังเกตว่า ผู้คนทั่วไปจะ ค�ำสอนสมบูรณ์อยู่แล้วครบถ้วน อย่าไปต�ำหนิ
มีลักษณะนิสัยในการท่ีจะวิจารณ์ บริภาษ ด่าทอ ศาสนาเลย ไปตำ� หนทิ ต่ี วั บคุ คลจะเหมาะกวา่ (ถา้ หาก
ด่าคนนู้นคนนี้บ้าง แม้แต่พระภิกษุสามเณรก็ยังด่า จ�ำเป็นตอ้ งตำ� หนิ)
ซึ่งสังเกตดูแล้วเขาไม่ได้วิจารณ์หรือบริภาษอะไร อย่างท่ีพระพุทธองค์ตรัสไว้ใน พยสนสูตร
ด้วยหลักฐานความจริง ว่ากันไปเพียงตามอารมณ์ คนท่ีติเตียนพระอริยเจ้า จะถึงโทษ ๑๐ ประการ
ของตนเองเท่านั้น เรียกว่าเป็นคนปากง่ายใจเบา ชอบติว่าพระอริยเจ้าและเพื่อนสหธรรมิก ติว่าด้วย
นัน่ เอง ซ่งึ จะนำ� โทษมาแก่ผูพ้ ูดผกู้ ล่าวในภายหลัง อาการต่างๆ
บางคนที่เห็นเป็นข่าว อย่างเช่นข่าวนานมา พระพุทธองค์ตรัสว่า ดูกรภิกษุท้ังหลาย ภิกษุ
แล้ว เห็นพระน่ังฉันโซดา ก็ถ่ายรูปเอาไปลงใน ใด ด่าบริภาษเพอ่ื นพรหมจรรย์ทง้ั หลาย กลา่ วโทษ
โซเชียลอินเตอร์เน็ต แล้วบอกว่าพระนั่งกินเหล้า พระอรยิ ะ ภกิ ษนุ น้ั จะไมพ่ งึ ถงึ ความพนิ าศ ๑๐ อยา่ ง
อันท่ีจริงท่านฉันโซดา เจ้าของร้านเขาก็ออกมา อย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อน้ีมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส เม่ือ
ปกปอ้ งพระวา่ ไมใ่ ชเ่ หลา้ เปน็ ความเขา้ ใจผดิ สมยั นี้ บรภิ าษแลว้ ย่อมไมพ่ น้ จาก ๑๐ ข้อนีเ้ ลย ไม่ข้อใด
ผิวเผินมากเลยในการที่จะว่าใคร วิจารณ์ใคร ก็ข้อหนึง่ คือ
ซ่ึงคนๆ น้ันก็จะเสียช่ือเสียงไปเลย ซ่ึงส�ำหรับ ๑. ภกิ ษุนนั้ ไม่บรรลุธรรมทีย่ งั ไมบ่ รรลุ แสดง
พระเอง ในสว่ นตัวของพระ กม็ ีบวชมสี กึ กนั ไปเป็น วา่ คนด่ายังเปน็ ปถุ ุชนอยู่ เพราะวา่ ยงั ไม่บรรลุธรรม
ปกติ แต่ส่ิงท่ีเสียหายท่ีสุดก็คือศาสนา เป็นสิ่งที่คน นนั่ เอง แล้วกจ็ ะไมบ่ รรลุดว้ ย
ไม่ค่อยคิดถึง ความเสียหายมันต่างกับที่พระถูก ๒. เสอ่ื มจากธรรมทบี่ รรลแุ ลว้ ธรรมทเ่ี สอื่ มได้
กระทำ� หรอื ทำ� กนั เอง สว่ นมากเรากจ็ ะมองไมเ่ หน็ วา่ กต็ อ้ งเปน็ พวกคณุ ธรรมในฝา่ ยโลกยี ะ อยา่ งเชน่ ฌาน
ผลกระทบจริงๆ มนั กระทบตอ่ ศาสนา เสือ่ มศรทั ธา อภญิ ญา เหมือนท่ีพระเทวทัตเคยได้ แล้วเกิดความ

52 ๓๓

ไม่ชอบใจ แล้วฌานของเขาก็เสื่อมไป เพราะความ เหมือนพระโกกาลิกะรูปหนึ่ง ท่านผูกโกรธ
อจิ ฉาริษยาพระพทุ ธองค์นนั่ แหละ ในพระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ หาว่า
๓. สัทธรรมของภิกษุน้ันย่อมไม่ผ่องแผ้ว พระอัครสาวกปรารถนาลามก เพราะว่ามีอยู่คร้ัง
สทั ธรรมนก้ี ห็ มายถงึ ศลี สมาธิ ปัญญาของภกิ ษุนน้ั หน่ึง พระเถระทั้งสองหลีกเร้นปลีกวิเวกไปอยู่
น่ันเอง ไมผ่ อ่ งแผ้ว ก็คือเศรา้ หมองไป ใกล้ๆ ที่อยู่ของท่าน แล้วพระอัครสาวกก็บอกว่า
๔. เป็นผู้เข้าใจว่าตนได้บรรลุในสัทธรรมทั้ง อย่าไปบอกใครว่าพวกผมอยู่ท่ีนี่นะ พระโกกาลิกะ
หลาย ยังไม่บรรลุ แตเ่ ขา้ ใจวา่ ตวั เองบรรลุ แลว้ มัน ก็รับปากว่าได้ขอรับ ดูแลรับใช้เป็นอย่างดี พอถึง
จะมที างบรรลหุ รอื เปลา่ เหมอื นคนพาล ทตี่ วั เองเปน็ เวลาทา่ นจะกลบั พระโกกาลกิ ะกไ็ ปบอกชาวบา้ นวา่
คนพาล แตเ่ ขา้ ใจวา่ ตวั เองนนั้ เปน็ บัณฑติ เขาก็ยอ่ ม พระอัครสาวกมาจ�ำพรรษาอยู่ที่น่ี ท่ีวัดข้าพเจ้า
เป็นคนพาลตลอดไป ไม่มีทางกลับเป็นบัณฑิตได้ ใครอยากท�ำบุญก็เตรียมของมา บอกอย่างนี้เลย
สว่ นผใู้ ดทีต่ วั เองเปน็ คนพาล แลว้ รู้ตัววา่ ตัวเองเป็น ทา่ นตง้ั ใจวา่ เมอื่ พระเถระรวู้ า่ เราพดู ชกั จงู พดู เลยี บ
คนพาล เขากย็ อ่ มจะเปน็ บณั ฑติ ขน้ึ มาไดบ้ า้ ง เหมอื น เคียงให้โยมถวาย พระเถระท่านไม่รับแน่นอน เม่ือ
การทเ่ี รารวู้ า่ เราไมร่ อู้ ะไร นน่ั กเ็ ปน็ ปญั ญาอยา่ งหนง่ึ ทา่ นไมร่ บั เดย๋ี วทา่ นกใ็ หเ้ รา คอื วางแผนไวด้ ี วางแผน
แต่ถ้าไม่รอู้ ะไร แต่เขา้ ใจว่าตวั เองรู้ น่ันแหละ ทำ� ให้ เป็นข้ันเป็นตอนเลย แต่พระอัครสาวกไม่เล่นด้วย
เป็นคนพาลไปตลอดชีวติ เลย บอกใหส้ ละเลย แลว้ กบ็ อกวา่ ของทน่ี ำ� มาถวายมาก
๕. เปน็ ผูไ้ มย่ นิ ดใี นการประพฤตพิ รหมจรรย์ มายอย่างน้ี ด้วยการพูดเลียบเคียงอย่างน้ี มันไม่
๖. ตอ้ งอาบตั เิ ศรา้ หมองอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ใน เหมาะสม ใช้ไม่ได้ แม้แต่กับพระกับสงฆ์ก็ไม่ควร
บรรดาอาบัติ ๗ ตง้ั แตป่ าราชิกเป็นตน้ ลงมา แมแ้ ต่ท่านโกกาลกิ ะเองก็ไมค่ วรได้ มนั ไม่เหมาะสม
๗. ยอ่ มถูกโรคอย่างหนกั กค็ ือเกิดโรคนน่ั เอง แก่สมณะ ทีน้ีพระโกกาลิกะก็โกรธ ตอนนี้ยังไม่
เดี๋ยวก็ปว่ ยเปน็ นน่ั เปน็ นี่ อาการหนกั ดว้ ย ผกู อาฆาต แลว้ พระอัครสาวกทั้งสองกเ็ ดินทางกลับ
๘. ถงึ ความเปน็ บ้า มจี ติ ฟุ้งซ่าน แล้ววนั หลงั มา พระอัครสาวกทั้งสองก็กลบั มา
๙. เป็นผู้หลงใหลท�ำกาละ (ตาย) อันน้ีก็ อกี คราวน้ี ทา่ นไม่ไดบ้ อก แต่ชาวบา้ นรู้ กพ็ ากนั เอา
หมายถึงหลงตาย ใกล้ตายแลว้ กข็ าดสติ เสยี ชีวติ ไป สงิ่ ของมาถวาย พอเอามาถวาย มันก็สมควรอยู่แล้ว
๑๐. เมอื่ ตายไปยอ่ มเขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต เพราะว่าเขามาถวายเอง เขาเกิดศรัทธาเอง ท่านก็
นรก ไปไม่ดี รับเอาไว้ แลว้ ก็แจกจา่ ยกัน ทนี ท้ี ่านคิดวา่ ตอนท่ีเรา
สิบข้อน้ี คนท่ีชอบด่าพระอริยะ ด่าพระ ด่า ใหค้ นมาถวายทำ� ไมไมร่ บั แต่ตอนนีก้ ลบั มารบั เมอ่ื
สามเณร ตอ้ งระวังให้ดี เพราะศลี ของท่านกม็ เี ยอะ กอ่ นแกลง้ เปน็ คนมกั นอ้ ยสนั โดษหรอื นี่ กผ็ กู อาฆาต
การดา่ ดว้ ยจติ ทปี่ ระกอบดว้ ยโทสะ จติ มงุ่ รา้ ย การดา่ แล้วก็ไปกราบทูลพระพุทธเจ้าว่า พระอัครสาวกทั้ง
กบั การตกั เตอื น ไมเ่ หมอื นกนั การดา่ ตอ้ งมจี ติ โทสะ สองเป็นคนปรารถนาไม่ดี พระพุทธองค์ก็ห้ามสาม
มงุ่ รา้ ย ไมช่ อบ โดยทไี่ มม่ เี หตผุ ล แตก่ ารตกั เตอื นนนั้ คร้งั ห้ามถึงสามคร้งั ทา่ นกย็ ังไมย่ อมเชือ่ ฟัง
มองท่ีเหตุผล คุยกันด้วยเหตุผล มีความปรารถนา พอท่านว่าพระอัครสาวกครบสามคร้ังแล้ว
เพราะฉะนั้น สิ่งเหล่าน้ีต้องอาศัยสติสัมปชัญญะ ก็เดินออก พ้นจากคลองจักษุต่อหน้าพระพักตร์
ในการใช้วาจา ใช้คำ� พูด พระพุทธองค์ ก็เกิดตุ่มข้ึนเต็มตัว ต้ังแต่ตุ่มเล็กๆ

๓๓ 53

มันนานแค่ไหน บอกแก่พระภิกษุท้ังหมดเลย แล้ว
พระโกกาลิกะมรณภาพไปเกิดในปทุมนรก ปทุมไม่
ได้แปลว่าดอกบวั แปลตง้ั ชือ่ ตามมาตราการนับกาล
เวลา ซึ่งปทุมเยอะกว่าเขาเลย เป็นมาตราท่ีอยู่บน
หว่ งโซเ่ ลยในการนบั นานมาก มนั อยใู่ นสถานทหี่ นงึ่
ในอเวจมี หานรก นผ่ี ลจากการใชว้ าจาทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ติ
เตยี นพระอริยเจ้า ตเิ ตียนพระภิกษุ เพอ่ื นสหธรรมกิ
จนขยายเปน็ ต่มุ ใหญ่เท่าเมด็ มะตูม เทา่ กำ� ป้นั ท่าน สามเณร เปน็ โทษมาก
ก็นอนซมอยู่บนใบตองที่เอามาปู แล้วพรหมท่ีเคย แล้วค�ำท่ีพรหมกล่าว พระพุทธองค์ก็ตรัสแก่
เปน็ อปุ ชั ฌายข์ องทา่ น ทมี่ รณภาพไปเกดิ เปน็ พรหม พระภิกษุท่ีมาถามถึงเร่ืองราวของพระโกกาลิกะ
กเ็ ปน็ ห่วงท่าน เลยลงมาเตอื น ลงมาเตือนแล้ว พระ พระพุทธองค์ก็ตรัสเหมือนกับพรหมเลย พระองค์
โกกาลกิ ะกไ็ มช่ อบ บอกวา่ ทา่ นไปเกดิ เปน็ พรหมแลว้ ตรสั วา่
ท่านจ�ำโทษของท่านเอาไว้เลย หมายถึงว่ายังเห็นดี “ผรุสวาจาเพียงดังจอบ ซ่ึงเป็นเครื่องตัดทอน
กับพระอคั รสาวกอยหู่ รอื พระโกกาลกิ ะท่านพูด ตนของคนพาล ผู้กล่าวค�ำช่ัวย่อมเกิดขึ้นที่ปากของ
พรหมก็จงึ กล่าวสง่ั สอนว่า ผรุสวาจาเหมือนดัง บุคคลผู้เป็นบุรุษพาล ผู้ใดสรรเสริญผู้ท่ีควรติเตียน
จอบ คอื จอบมันชอบถากถาง ถากถางดินเรยี บๆ ให้ หรอื ตเิ ตยี นคนทค่ี วรสรรเสรญิ ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ สะสมโทษ
เปน็ หลมุ ซงึ่ เปน็ เครอ่ื งตดั ทอนตนของคนพาล แตว่ า่ ดว้ ยปาก ย่อมไม่ประสบความสุขเพราะโทษน้นั
วาจามนั ตดั ทอนตวั เอง ทำ� ลายตวั เอง ทำ� ลายผพู้ ดู ผู้ การปราชยั ดว้ ยทรพั ยใ์ นการเลน่ การพนนั ดว้ ย
กล่าวค�ำชั่วย่อมเกิดข้ึนท่ีปากของบุคคลผู้เป็นบุรุษ ตนเองจนหมดตัว เป็นโทษมีประมาณน้อย การที่
พาล ผ้ใู ดสรรเสรญิ ผู้ท่ีควรตเิ ตียน หรือตเิ ตยี นคนท่ี บุคคลยังใจให้ประทุษร้ายในพระอริยเจ้าผู้ด�ำเนิน
ควรสรรเสรญิ ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ สะสมโทษไวด้ ว้ ยปาก ชอบ ดแี ลว้ เปน็ โทษมากกวา่ บคุ คลตง้ั วาจาและใจอนั เปน็
ตเิ ตยี นคนดี สรรเสรญิ คนชวั่ ยอ่ มไมป่ ระสบความสขุ บาป แล้วตเิ ตียนพระอริยะ ย่อมเขา้ ถงึ นรกสนิ้ หนึ่ง
เพราะโทษนั้น ท่านกล่าวเอาไวอ้ ย่างนี้เลย นีเ่ ปน็ ค�ำ แสนนริ ัพพทุ กัป ๓๖ นิรพั พทุ ะ และ ๕ อัพพทุ ะ”
ของพรหม เหน็ ไหมว่า ธรรมที่สาวกพระพุทธองค์กลา่ ว ก็
การปราชัยด้วยทรัพย์ในการเล่นพนันจนหมด เป็นพุทธพจน์เหมือนกัน เพราะว่าค�ำพูดคล้อยตาม
ตัว เป็นโทษมีประมาณน้อย การท่ีบุคคลยังใจให้ พระพุทธพจน์นัน่ เอง
ประทุษร้ายในพระอริยเจ้าผู้ด�ำเนินดีแล้ว เป็นโทษ วันนี้ก็ขออนุโมทนาในบุญกุศลที่ทุกท่านได้มา
มากกวา่ บุคคลตงั้ วาจาและใจเปน็ บาป แล้วตเิ ตียน ท�ำในวันนี้ ด้วยการให้ทานและการฟังธรรม ก็ขอ
พระอริยะ ยอ่ มเขา้ ถงึ นรก สนิ้ แสนนริ ัพพุทกปั อีก อ�ำนวยอวยพรให้ทุกคนทุกท่านจงเป็นผู้มีความสุข
๓๖ นริ ัพพทุ ะ และ ๕ อัพพทุ ะ เปน็ มาตรานบั นรก ทั้งทางกายทางใจ คิดหวังสิ่งหนึ่งส่ิงใดที่เป็นไปใน
ท่ีเยอะมาก ทางทช่ี อบ ประกอบดว้ ยธรรม นำ� ตนใหพ้ น้ จากทกุ ข์
แลว้ เรอ่ื งนกี้ ถ็ งึ พระพทุ ธองค์ พระพทุ ธองคต์ รสั แลว้ ขอใหส้ ง่ิ เหลา่ นน้ั จงพลนั สำ� เรจ็ แกท่ กุ คนทกุ ทา่ น
บอกภิกษุอย่างละเอียดเลยว่า ต้ังแต่นิรัพพุทกัปน้ี จงทกุ ประการ เทอญ

54 ๓๓

ทนั โลก รู้ธรรม

ปฎิรูปเทสการก

“เสือไม่ดำ� เทา่ ใจ”

กระสนุ ลนั่ สน่ันป่า ฆ่าชีวติ ข่าวเสือด�ำ กระฉ่อนกันไปทั่ว ท่านรู้ข่าว
ชีพโดนลิด ปลิดปลง น่าสงสาร แล้ว มีหัวข้อธรรมหรือธรรมะอะไร ท่ีเก่ียวข้อง
หัวเราะร่า ทา้ บนั เทิง รน่ื เริงบาน เกิดข้ึนกับท่านบ้าง ? ช่วยตอบมาคนละ ๕ ข้อ
ใครจะหาญ เกง่ กวา่ ข้า ไม่น่ามี ก่อนดเู ฉลย
แล้วถ่ายรปู อวดศักด์ ิ ประจกั ษ์สิทธิ์ เฉลย
สมสัมฤทธ ์ิ ความใคร่ ใหอ้ งึ ม่ี เมตตาธรรมคำ้� จนุ โลก
ไม่เหลือสิ่ง ใดใด ในปฐพ ี ความไม่เบียดเบียนเป็นสขุ ในโลก
ขา้ อยากม ี อยากท�ำ ให้หน�ำใจ ไม่ควรทำ� บาปเพราะเห็นแกก่ ิน
อันความสุข บนความทุกข์ ของผ้อู ื่น ผู้ใดต้องการสุขเพ่ือตน ด้วยการก่อทุกข์
ไมน่ ่าช่ืน ชมชดิ พสิ มัย แก่ผู้อื่น ผู้นั้นชื่อว่าพัวพันไปด้วยเวร ย่อมไม่พ้น
เงินตรา ลาภ ยศศกั ดิ์ แมเ้ กรียงไกร จากเวร
ไมอ่ าจปอ้ ง ผองภัย ในอบาย สัตว์ทั้งปวงล้วนหวาดสะดุ้งต่ออาชญา
กรรมท�ำแลว้ ไมแ่ คล้ว ประทบั จติ ล้วนกลัวต่อความตาย ล้วนรักชีวิต บุคคลน�ำ
ตอ้ ยตามติด ตราบตัวตาย ไม่เหอื ดหาย ตนเข้าไปเปรียบเทียบแล้ว ไม่ควรฆ่าด้วยตนเอง
หนง่ึ ชีวิต คิดตอ่ เวร ไม่เวน้ วาย ไมค่ วรใช้ใหผ้ ้อู ่นื ฆ่า
ย่อมฉบิ หาย ย่อยยบั ดับดว้ ยกัน

๓๓ 55

ตนท�ำบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ตนไม่ คนท่ีทำ� กรรมชั่วไว้ หนีไปแล้วในอากาศ กไ็ ม่
ท�ำบาป ยอ่ มบริสทุ ธิด์ ว้ ยตนเอง ความบริสุทธ์ิไม่ พงึ พ้นจากความชวั่ ได้ หนีไปในทา่ มกลางทะเล ก็
บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นพึงท�ำคนอื่นให้ ไมพ่ งึ พน้ จากกรรมชวั่ ได้ หนเี ขา้ ไปสชู่ อ่ งภเู ขา กไ็ ม่
บรสิ ุทธ์ไิ มไ่ ด้ พงึ พน้ จากกรรมช่วั ได้ เขาอยแู่ ล้วในประเทศแห่ง
ความชัว่ ยอ่ มเผาผลาญในภายหลงั ท�ำกรรม แผ่นดินใด พึงพ้นจากกรรมช่ัวได้ ประเทศแห่ง
ใดแลว้ ร้อนใจภายหลงั กรรมท่ที ำ� แล้วนั้นไม่ดี แผน่ ดนิ นนั้ หามอี ยูไ่ ม่
ผมู้ กั ท�ำบาป ย่อมเดือดรอ้ นในโลกนี้ ตายไป สตั ว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
แลว้ ย่อมเดือดร้อน ยอ่ มเดอื ดร้อนในโลกทงั้ สอง คนพาลท�ำกรรมทั้งหลายอันชั่วช้าอยู่ ย่อม
เขาย่อมเดอื ดรอ้ นวา่ เราทำ� กรรมชว่ั แล้ว ไปแล้ว ไม่รสู้ กึ
สูท่ คุ ติ ย่อมเดอื ดร้อนยง่ิ ขึน้ คนมีปัญญาทราม ย่อมเดือดร้อน ดุจถูกไฟ
บุคคลเป็นคนเลวเพราะชาติก็หาไม่ เป็นผู้ ไหม้ เพราะกรรมของตนเอง
ประเสริฐเพราะชาตกิ ็หาไม่ แตเ่ ปน็ คนเลวเพราะ บาปอนั ตนทำ� ไวแ้ ลว้ เกดิ ในตน มตี นเปน็ แดน
การกระท�ำ เป็นผ้ปู ระเสรฐิ ก็เพราะการกระทำ� เกดิ ยอ่ มย่ำ� ยีบุคคลผมู้ ปี ญั ญาทราม ดจุ เพชรยำ�่ ยี
บคุ คลผทู้ ำ� บาป ยอ่ มเหน็ บาปวา่ ดี ตลอดเวลา แกว้ มณี อันเกิดแตห่ นิ ฉะนั้น
ทบี่ าปยงั ไมเ่ ผลด็ ผล แตเ่ มอื่ ใดบาปเผลด็ ผล เมอื่ นนั้ ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลาย ปาณาตบิ าตอนั บคุ คลเสพ
ยอ่ มเหน็ บาปวา่ ชั่ว แล้ว เจริญแล้ว กระท�ำให้มากแล้ว ย่อมยังสัตว์
ใหเ้ ป็นไปในนรก ในกำ� เนิดสัตวด์ ริ ัจฉาน ในเปรต
วิสัย วิบากแหง่ ปาณาติบาต อยา่ งเบาที่สุด ย่อม
ยงั ความเปน็ ผมู้ อี ายนุ อ้ ยใหเ้ ปน็ ไปแกผ่ มู้ าเกดิ เปน็
มนษุ ย์
ข่มคนที่ควรข่ม ติคนที่ควรติ ยกย่องคนที่
ควรยกย่อง ชมคนที่ควรชม ศีลธรรมไม่กลับมา
โลกาวินาศ
กรรมท้ังหลายที่ไม่ดีและไม่เป็นประโยชน์
เก้ือกูลแก่ตน ท�ำได้งา่ ย ความเหน็
กรรมดี คนดที �ำไดง้ ่าย แตค่ นชว่ั ทำ� ไดย้ าก ประเทศทมี่ ผี คู้ นดี มคี ณุ ธรรมศลี ธรรม สงั คม
ถ้าบุรุษพึงท�ำบาปไซร้ ไม่ควรท�ำบาปน้ัน ส่ิงแวดล้อมดี มีธรรมชาติป่าเขาที่งดงามอุดม
บอ่ ยๆ ไมค่ วรทำ� ความพอใจในบาปนน้ั เพราะการ สมบรู ณ์ เป็นประเทศท่นี า่ อยู่ สมควรแกเ่ ราและ
สง่ั สมบาป นำ� ทุกข์มาให้ ครอบครัวทจี่ ะเติบโตอาศยั ไปตลอดชีวติ นับเปน็
ไมค่ วรดหู มนิ่ บาปวา่ บาปมปี ระมาณนอ้ ยจกั ปฏริ ูปเทส ทนี่ �ำชีวติ เราไปส่คู วามเจรญิ รุง่ เรืองทง้ั
ไมม่ าถึง แมห้ มอ้ น�ำ้ ยงั เตม็ ด้วยหยาดนำ�้ ทต่ี กลงที ทางโลกและทางธรรมได้ (ปฏริ ปู เทสวาโส จ มงคล-
ละหยาดได้ ฉันใด ชนพาลเมื่อสั่งสมบาปแมท้ ลี ะ สูตร ขอ้ ท่ี ๔) เมอ่ื เราเป็นคนในประเทศนั้น ควรมี
น้อยๆ ยอ่ มเตม็ ด้วยบาปได้ ฉนั นน้ั ความรักประเทศ สังคม สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ

56 ๓๓

ปา่ เขา ถ้ามีผู้ใดมาท�ำลายสงั คม สง่ิ แวดล้อม เราก็ โลกจะไมไ่ ดถ้ กู ทำ� ลายจากคนทท่ี ำ� ชว่ั เลว แต่
ควรจะประณามต�ำหนิเพ่ือให้เขาหยุดการท�ำลาย ถูกท�ำลายจากคนท่ีเฝ้าดูคนช่ัวเลวท�ำร้ายท�ำลาย
ไม่กล้าท�ำลาย และเป็นการป้องปรามไม่ให้คน อย่างนิ่งดูดาย (ไอน์สไตน)์
อ่ืนเอาเยี่ยงอย่างมาท�ำลาย ถ้าผู้คนเฉยเมย ไม่ การท่ีพนักงานคุ้มครองอุทยานป่าไม้ตัว
ใสใ่ จไม่สนใจ ตวั ใครตวั มนั ตา่ งเอาตัวรอด สงั คม เล็กๆ หาญกล้าจับเอาผิดคนรวยมีอิทธิพลที่
กจ็ ะเส่อื มลงอยา่ งรวดเร็ว นอกจากนนั้ เราควรจะ ท�ำผิด ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างตรงไปตรงมา ไม่กลัว
ช่วยปฏริ ปู ประเทศนัน้ ให้เจริญย่งิ ขึ้นกว่าเดิมดว้ ย อ�ำนาจเบ้ืองบนหรือยอมสยบแพ้อ�ำนาจเงิน
คือเป็นปฏริ ปู เทส ฝ่าย active ฝา่ ยให้ด้วย ไม่ใช่ ถอื เปน็ คุณปู การตอ่ ชาติ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และ
เป็นฝ่ายรับฝ่าย passive อย่างเดียว จึงตอ้ งช่วย ต่อคนท่ัวไปอยา่ งเราทา่ นดว้ ย
กันพัฒนาส่วนที่ไม่ดี ไม่สมควร ให้ดี ให้สมควร สังคมเลว...เพราะคนดี มัวท้อแท้
หรือส่วนท่ีดีที่สมควรบ้างแล้ว ให้ดียิ่งๆ ข้ึนไป สงั คมแย่...เพราะคนดี มดุ รูหนี
เปน็ จติ อาสาหรอื จติ สาธารณะ หรอื เวยยาวจั จมยั สงั คมเสอ่ื ม...เพราะคนดี ไม่รู้ไม่ชี้
บญุ การเฉยเมยเม่อื มีผมู้ าท�ำลาย เท่ากบั เราเปน็ สังคมอัปรยี .์ ..เพราะคนดี ตัวใครตวั มนั
ผู้สนบั สนนุ และท�ำลายไปดว้ ยกัน ดงั คำ� กลา่ ววา่
“The world will not be destroyed
by those who do evil, but by those who
watch them without doing anything”

แจก สัลเลขธรรม
หนงั สือ

หนังสือเล่มดังกล่าวข้างต้น เป็นการรวบรวมบทความช่ือเรื่องเดียวกัน
ของท่านอาจารย์วศิน อินทสระ ซึ่งตีพิมพ์เป็นตอนๆ ในวารสารโพธิยาลัย
ต่อมา ชมรมกัลยาณธรรมมีศรัทธาจัดพิมพ์เพ่ือแจกเป็นธรรมทาน เพราะ
เหน็ คณุ คา่ ประโยชน์ ในธรรมท่ีท่านอาจารยว์ ศิน อินทสระ ได้เรยี บเรยี งเปน็ ข้นั ตอน เขา้ ใจงา่ ย เหมาะสม
เป็นคู่มือในการปฏิบัติขัดเกลาพัฒนาจิตใจ สมกับความเมตตาของท่านอาจารย์ ผู้เป็นปราชญ์
ทางธรรม วารสารโพธิยาลัยและชมรมกัลยาณธรรม ยินดีมอบหนังสือนี้ ให้ท่านผู้อ่านมีไว้
ประจ�ำบ้าน โดยมีกติกาง่ายๆ ดังน้ี คือ ขอให้ท่านแสดงความคิดเห็นที่มีต่อวารสารโพธิยาลัย
สั้นยาวไม่ก�ำหนด เพ่ือคณะผู้จัดท�ำจะได้น�ำความคิดเห็นเหล่านั้นมาปรับปรุงคุณภาพของวารสารต่อไป
สง่ ความคดิ เหน็ ของทา่ นมาท่ี ทพญ. อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ์ email address ท่ี [email protected]
หรือ เขียนเป็นจดหมายส่งไปรษณีย์มาท่ี ชมรมกัลยาณธรรม เลขท่ี ๑๐๐ ถนนประโคนชัย
ต�ำบลปากน้�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ วงเล็บมุมซองว่า (วารสารโพธิยาลัย)
หนังสือมีจ�ำนวนจ�ำกัด กรุณาส่งด่วน ก่อนหนังสือจะหมด โปรดแจ้งช่ือและที่อยู่ให้ชัดเจน ส�ำหรับ
สง่ หนังสือถงึ ท่านมาดว้ ย

57

เร่ืองชุดพุ ทธบริษทั

พุทธสาวิกา

เรียนรู้ท่ีจะรักตนเอง
ก่อนท่ีจะรักคนอ่ืน

นตฺถิ อตตฺ สมํ เปมํ นอกจากนี้ ในพระพทุ ธศาสนา ยงั มีบทสวด
เก่ียวกับการแผ่เมตตา ให้พุทธศาสนิกชนสวด
รักอืน่ เสมอดว้ ยรักตน ไม่มี ปิดท้ายการสวดมนต์ หรือการน่ังกรรมฐานใน

(๑๕/๒๙)
ความรักเป็นความรู้สึกงดงาม ที่เสริมสร้าง แต่ละคร้ัง เพื่อให้ผลบุญกุศลที่ตนได้กระท�ำน้ัน
สัมพันธภาพที่ดี แนบแน่น และมั่นคง ระหว่าง แผ่ไพศาลไปสู่ชาวโลก
มนุษย์กับสรรพสิ่งรอบตัว ไม่ว่าจะมีชีวิต หรือ ในขณะเดียวกัน ผู้ปฏิบัติธรรมทั้งหลาย
ไม่มีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ ส่ิงของ สิ่งแวดล้อม ควรฝึกการเมตตาตนเองก่อนท่ีจะไปเมตตาส่ิง
ธรรมชาติ ฯลฯ เพียงแต่เราเปิดใจให้กว้างขวาง ภายนอก การเมตตาตนเองก็คือ การรักตนเอง
ออกไป เราจะรู้ว่า เรามีความสามารถท่ีจะรัก อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามท�ำนองคลองธรรม
และรักอย่างไม่มีขีดจ�ำกัด ความรักท่ีกว้างขวาง เพราะหากไมม่ ีค�ำว่าทำ� นองคลองธรรม ก็อาจจะ
ออกไปน้ี อาจเรยี กอีกอยา่ งได้ว่า เมตตา ธรรมะ เกินเลยไป กลายเปน็ ความเหน็ แกต่ ัวในทสี่ ดุ
ข้อแรกใน พรหมวิหาร* ๔ คือ ธรรมเคร่ืองอยู่
อยา่ งประเสรฐิ , ธรรมประจำ� ใจอนั ประเสรฐิ , หลกั
ความประพฤติท่ีประเสริฐบริสุทธ์ิ, ธรรมที่ต้องมี
ไว้เป็นหลักใจและก�ำกับความประพฤติ จึงจะชื่อ
ว่าด�ำเนินชีวิตหมดจดและปฏิบัติต่อมนุษย์ สัตว์
ท้ังหลายโดยชอบ (*พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับ
ประมวลธรรม ของ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ ป.อ. ปยตุ โฺ ต
หน้า ๑๒๔)

58 ๓๓

คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างย่ิง คนที่ไม่ได้ เพ่ือนฝูง โดยที่เขาเองก็ไม่รู้ตัว ความรักท่ีมีแต่
น้อมน�ำเอาธรรมมาใช้ในชีวิต จึงไม่เข้าใจเร่ือง ความเห็นแก่ตัว อยากได้ อยากมี อยากเป็นไป
การรักตนเองดีพอ ตามปกติ สัตว์ทั้งหลายมี ตามกเิ ลส ไมไ่ ดก้ ลน่ั กรองพจิ ารณาดว้ ยสตปิ ญั ญา
สัญชาตญาณในการรักตนเองอยู่แล้ว รักตัวกลัว ถึงตรงนี้คงพอเห็นภาพท่ีชัดเจนข้ึน หากรัก
ตาย เม่ือเกิดภัยก็จะมีสัญชาตญาณหลบหลีกภัย ไม่เปน็ ความรักน้ันก็อาจทำ� ลายคนอ่ืน มากกวา่
นน้ั โดยอตั โนมตั เิ พอื่ ใหพ้ น้ ภยั นน้ั ซง่ึ เปน็ สญั ชาต- จะท�ำใหค้ นอน่ื มีความสขุ สงบ สนั ติ
ญาณดิบที่เกดิ ตามธรรมชาติ การรักตนเอง จึงเป็นเร่ืองส�ำคัญยิ่ง มนุษย์
ในความเปน็ จรงิ มนษุ ยเ์ ราเผชญิ กบั ภยั ตา่ งๆ ควรเรียนรู้ที่จะรักตนเองอย่างถูกต้อง ก่อนท่ีจะ
ตลอดเวลา แตเ่ ขาไมร่ ูเ้ ลยว่า น่ันคอื ภยั รา้ ย เช่น รักคนอ่ืน หากรักตนเองไม่เป็น จะรักคนอื่นเป็น
ภยั จากกิเลส ตณั หา โลภะ โทสะ โมหะ ฯลฯ ซึง่ ได้อย่างไร
กิเลสต่างๆ เหล่าน้ีเป็นเหมือนภัยพิบัติ ที่คอย กอ่ นอน่ื ตอ้ งมคี วามตระหนกั รวู้ า่ ชวี ติ ของเรา
ท�ำร้ายเราอยู่ตลอดเวลา และยังท�ำร้ายคนอ่ืนท่ี เกดิ มาทำ� ไม หากไมร่ กู้ จ็ ะรกั ตนเองไมถ่ กู ปลอ่ ยตวั
อยู่รอบข้างในสังคมนั้น เท่ากับว่า เขาเองก็เป็น ปลอ่ ยใจไปตามแรงปรารถนา อยา่ งแรกทสี่ ดุ ควรรู้
ภัยต่อผู้อื่นด้วย วา่ เราเกดิ มาเพราะเป็นแรงส่งจากอดีต ที่มกี รรม
คนเช่นน้เี มือ่ ไปรักคนอนื่ ก็รกั ไมเ่ ป็น แผร่ งั สี เป็นเครื่องก�ำหนด ให้เรามาเกิด เราเป็นทายาท
แห่งความร้อนรุ่มของตนไปท�ำร้ายคนที่ตนคิดว่า ของกรรมของเรา เราท�ำกรรมมาดี กจ็ ะไดเ้ กิดมา
รักเขา ไม่ว่าจะเป็นคู่ครอง บุพการี ลูกหลาน ดี ไมต่ ายกอ่ นวยั อนั ควร ไมพ่ กิ ลพกิ าร ทพุ พลภาพ
ไม่ปัญญาอ่อน ช่วยตัวเองไม่ได้ เมื่อได้เกิดมาดี
แลว้ เรากม็ หี นา้ ทรี่ กั ษาความดนี ไ้ี ว ้ เพอื่ สรา้ งสรรค์
สิ่งท่ดี ใี ห้ดยี ่ิงๆ ขน้ึ ไป
ควรตระหนักว่า ร่างกายนี้มีไว้เพ่ือเรียนรู้
ในการพัฒนาชีวิตให้ดีย่ิงๆ ขึ้นไป ไม่เอาตัวไป
พัวพันกับความชั่วและส่ิงเลวร้ายต่างๆ ท�ำสิ่งดีมี
ประโยชน์ ละส่งิ ชว่ั อบายมขุ ตา่ งๆ ไม่ไปเกลอื ก
กล้ัว แม้แต่การสูบบุหรี่ หรือดื่มน�้ำเมา ก็ไม่ควร
ท�ำ เพราะมันท�ำให้ร่างกายเส่ือมโทรม และป่วย
ในที่สดุ อกี ทั้งยังเปน็ การท�ำลายบุคลิกของตัวเอง
ไม่มีใครชนื่ ชมคนขเ้ี หลา้ เมายา บหุ รี่ ยาเสพตดิ
ทกุ ชนิด ฯลฯ
แต่ข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ทุกวันก็ยังมีข่าว
เมาแลว้ ขบั เกดิ อุบตั เิ หตุตายปลี ะเปน็ หมืน่ คน ใน
ขณะท่ีเมืองไทยเป็นเมืองพุทธ แต่คนตายเพราะ
อุบัติเหตุ เมาแล้วขับ กลับมีจ�ำนวนมากท่ีสุด

๓๓ 59

ธรรมะ ความจริง สจั ธรรม ไม่มคี วามหลอกลวง
ความไมจ่ รงิ ใจ ความเสแสรง้ เพราะสง่ิ เหลา่ นไี้ มใ่ ช่
ธรรมะ
จติ ใจทมี่ ธี รรมะอยเู่ สมอ กม็ พี รหมวหิ ารธรรม
อยเู่ ตม็ พนื้ ที่ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ อ่ ตนเอง คนอน่ื
และส่ิงแวดล้อมรอบตัว ก็จะเป็นเสมือนสายลม
เย็นท่ีน�ำพาความสดช่ืนมาให้กับบรรยากาศและ
สิ่งแวดลอ้ ม
ความรกั ทป่ี ระกอบดว้ ยธรรม ยอ่ มเปน็ ความ
ในโลก คนเมายาเสพตดิ กอ่ อาชญากรรมตา่ งๆ ไม่ รักท่ีเป็นสุขภาวะ นอกจากตนเองจะมีความสุข
เว้นแต่ละวนั ทัง้ ขม่ ขืน ฆา่ มากมาย จนจาระไน จากการท่ีรักเป็น จิตใจท่ีสบายปลอดโปร่ง ย่อม
ไม่หมด เอื้อให้กับสุขภาพท่ีดีตามมาเป็นผลพลอยได้
นอกจากเรียนรู้ท่ีจะป้องกันตัวเองจากภัย ก�ำลังใจ และพลังแห่งชีวิตจะเกิดตามมาเป็น
ของกิเลสแล้ว ยังต้องเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเอง ผลพลอยได้
ให้มีความเจรญิ กา้ วหน้าย่งิ ๆ ขนึ้ ไป ควรใหค้ วาม ยังมีคนอีกเป็นจ�ำนวนมาก มากจริงๆ ที่รัก
ส�ำคัญกับการศึกษาหาความรู้ให้เพ่ิมพูนมากข้ึน ตนเองไม่เป็น เม่ือรักตนเองไม่เป็น ย่อมรักคน
ทกุ วนั อยา่ ปลอ่ ยใหแ้ ตล่ ะวนั ผา่ นไป โดยไมร่ อู้ ะไร อ่ืนไม่เป็น ความรักในสังคมจึงวิปริต แปรปรวน
เพมิ่ มากข้ึน และน�ำความรู้ท่ไี ด้มาใช้ประโยชนใ์ ห้ กลายเปน็ ว่า ความรกั เปน็ การท�ำลายลา้ ง แทนท่ี
มากทสี่ ุดเท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้ จะเปน็ การสร้างสรรค์
สำ� คญั ท่ีสุด คอื เรยี นรทู้ จี่ ะขัดเกลาตนเองให้ ตามคตใิ นพระพทุ ธศาสนานน้ั ถอื วา่ การเกดิ
ละเอยี ด น่มิ นวล งดงามมากขึ้นเรือ่ ยๆ ดว้ ยการ มาในมนุษยโลก และไดเ้ ป็นมนษุ ยน์ ้ัน เปน็ โชคดี
ปฏบิ ตั ธิ รรม ศกึ ษาคำ� สอนในพระพทุ ธศาสนา แลว้ อย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น จงใช้โชคดีและโอกาสน้ี
น�ำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตอย่างเหมาะสม ปฏิบัติ เรียนรู้ท่ีจะพัฒนาตนเองไปสู่ความเจริญก้าวหน้า
จิตตภาวนาเพ่ือให้จิตใจมีความเข้มแข็ง พร้อม ในทกุ ภพชาติ แผ้วถางทางไปสพู่ ระนพิ พาน และ
จะเผชิญปัญหาต่างๆ ท่ีจรเข้ามาในชีวิต ทั้งโดย คนที่รกั ตนเองเป็นเท่านั้น จึงจะท�ำได้สำ� เร็จ
ร้ตู ัวและไม่รตู้ ัว หากเรามธี รรมประจ�ำใจ เราก็จะ
จัดการปัญหาเหล่านั้นได้เองโดยอัตโนมัติ แต่
เป็นอตั โนมัตทิ ไี่ มไ่ ด้มาจากสัญชาตญิ าณดบิ หาก
เป็นอัตโนมตั ิเพราะไดส้ ร้างสมคณุ ธรรมต่างๆ มา
อยา่ งสมบรู ณ์ ถึงเวลาก็ยอ่ มปรากฏออกมา เป็น
เกราะคุม้ กันจติ ใจไดแ้ น่นอน
เม่อื รักตนเองเปน็ แล้ว ความรกั ท่ีให้กับผู้อ่นื
ย่อมละเอียด ประณีต และสวยงาม เต็มไปด้วย

60

มองเทศ - มองไทย

พระอุปคุตเถระวิเทศทัยย์

จากพระธรรมกถึกถึงผู้ทรงอภิญญา (๓)

เร่ืองราวของพระอุปคุตเถระเร่ิมต้นจาก สรวาสตวิ าท ซงึ่ เปน็ สาขาหนงึ่ ของมหาสงั ฆกิ ะอกี
พระศาณกวาสินเถระ ผู้เป็นสมภารเจา้ อาวาสวดั ที แม้ประพฤตติ ามพระพทุ ธพจน์ดง้ั เดิมแท้ แตก่ ็
นฏภฏิกะแห่งอุรุมมณุ ฑะบรรพต ใกลเ้ มืองมถุรา เสริมค�ำสอนใหม่เข้าไปอีกหลายอย่าง ส่วนใหญ่
แห่งดินแดนภารตะ แลส�ำนักแห่งน้ีโด่งดังแพร่ เปน็ การแตง่ เสรมิ เพมิ่ ความนา่ เชอื่ ถอื ของกลมุ่ ตน
หลายในฐานะวัดป่าอรัญวาสี พระศาณกวาสิน ส่วนจะเสริมอะไรนั้น เราอย่าไปรู้เลย
เถระนั้นนอกจากเป็นพระนักปฏิบัตินามอุโฆษ ประเด๋ียวเร่ืองพระอุปคุตจะกลายเป็นหนังซีรีย์
แล้ว ยังเป็นพระธรรมกถึกช่ือดังด้วย ว่ากันว่า เกาหลี
พระเถระรูปนี้เป็นพระสายมหายานสังกัดนิกาย

๓๓ 61

พระศาณกวาสนิ เถระนน้ั มตี ระกูลอุปฏั ฐาก มาถงึ ตรงน้ี ผอู้ า่ นบางคนเรม่ิ กระวนกระวาย
เป็นเศรษฐีขายน�้ำหอมครอบครัวหนึ่ง ในเมือง ใจสงสัยว่า แล้วพระเถระรอใคร ผู้เขียนจะตอบ
มถุรา ซ่งึ ศรทั ธาพระเถระมาก ถึงกับประกาศว่า ก็กลัวว่าจะไปก้าวล่วงความนัยของพระเถระ
“หากมีบุตรจะให้บวชเป็นอุปัฏฐากพระเถระ แม้จะรู้อยู่เต็มอก แต่หากบอกไป ก็เกรงเสีย
ตลอดชวี ติ ” พระเถระเกรงวา่ หากวนั เวลาเปลย่ี น มารยาทแบบไทยแท้ เอาเป็นว่า รอไปก่อนก็
ผัน เศรษฐีจะลืมค�ำ จึงประกาศยืนยันต่อหน้า แล้วกนั ถงึ เวลาก็จะรเู้ อง
สงฆ์และบริวารของเศรษฐี เหตุที่พระเถระท�ำ ครน้ั ตอ่ มาเศรษฐไี ดก้ ำ� เนดิ บตุ รชายอกี คน ตง้ั
ดังนั้น เพราะมีความนัยซ่อนไว้ (เอาไว้ถึงเวลา ชือ่ ว่า อุปคปุ ต์ เมอื่ พระเถระทราบข่าวไดม้ าทวง
จะเล่าให้ฟัง) สัญญาเช่นเคย เศรษฐีตอบพระเถระว่าเด็กคนน้ี
และขอบอกว่า มิใช่เคร่ืองหมายทางคณิต ฉลาดนกั อยากจะใหด้ ำ� เนนิ ธรุ กจิ สบื ตอ่ พระเถระ
ศาสตร์อะไรท้ังน้ัน อย่าเอาไปตีตัวเลขให้เสีย พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ เดก็ คนนแ้ี หละคอื คนทตี่ นรอ
เงินเปล่า จึงย้�ำเตือนสัญญาหลายครั้งหลายครา เศรษฐีหา
ต่อมาเศรษฐีได้บุตรคนแรก จึงตั้งช่ือว่า ทางออกดว้ ยการบอกวา่ “เมอ่ื ไหรก่ ต็ ามที่ การคา้
อศั วคปุ ต์ คร้ันโตข้นึ พอใชง้ านได้ พระศาณกวา- ไมข่ าดทนุ และไมม่ กี �ำไร ตนยนิ ดใี หอ้ ปุ คปุ ตก์ มุ าร
สินเถระจึงมาทวงสัญญา เศรษฐีบอกพระเถระ บวชเป็นอุปฏั ฐากพระเถระทันท”ี
วา่ ตนมีบุตรเพียงคนเดยี วเทา่ นัน้ หากถวายเปน็
อุปัฏฐากพระเถระแล้ว ใครจะช่วยบริหารดูแล ปัญหาคอื ไมข่ าดทนุ ไมม่ กี �ำไร คืออะไร ?
ธุรกิจของตน ขอพระคุณเจ้าได้โปรดเมตตาด้วย ตรงน้ีเห็นว่าเศรษฐีผูกเงื่อนค่อนข้างแยบยล
พระเถระทราบด้วยจิตว่า ยังมิใช่เวลา จึงอ�ำลา พอสมควร เพราะธรรมดาการค้าจะต้องขาดทุน
กลบั วดั เหตทุ เ่ี ปน็ เชน่ นน้ั เพราะพระเถระพจิ ารณา หรอื ไมก่ ต็ อ้ งมกี ำ� ไร จะคงเดมิ เทา่ ทนุ เปน็ ไปไมไ่ ด้
ว่า ผู้ที่ท่านรอคอยยังไม่มาเกิด แลการจะบังคับ พระเถระคงไม่อยากหักด้ามพร้าด้วยเข่า
ให้อศั วคุปตบ์ วชเปน็ อปุ ฏั ฐาก ยอ่ มเสียประโยชน์ จึงบอกเศรษฐีว่า หากเวลามาถึง ท่านต้องให้
ทั้งสองทาง อาจเป็นเหตุให้ศรัทธาของเศรษฐี อปุ คปุ ตบ์ วชตามสญั ญา สบชอ่ ง เศรษฐจี งึ รบั ปาก
ตกไปก็เปน็ ได้ จงึ น่งิ เสยี ทนั ทวี า่ “หากอปุ คปุ ตผ์ บู้ ตุ รอยากจะบวช ตนกไ็ ม่

ครัน้ ต่อมาไมน่ าน เศรษฐไี ด้บุตรคนท่สี องตงั้
ชอื่ วา่ ธนคปุ ต์ พระเถระทราบขา่ ววา่ เจรญิ วยั กไ็ ป
ทวงสัญญาอกี คร้ัง คราวนเ้ี ศรษฐอี ้างวา่ อศั วคปุ ต์
คนโตให้ไปคา้ ต่างถ่นิ ส่วนธนคปุ ต์คนน้องให้ดแู ล
ธุรกิจท่ีบ้าน หากให้บวชเป็นอุปัฏฐากพระเถระ
เกรงว่าจะไม่มีใครดูแลธุรกิจ จึงขอความเมตตา
พระคณุ เจา้ สงเคราะห์ดว้ ยเถดิ อกี คร้ังหนงึ่ พระ
เถระพจิ ารณาดว้ ยจติ วา่ ยงั มใิ ชเ่ วลา จงึ กลบั วดั ไป

62 ๓๓

ขดั ศรทั ธา” จากนนั้ พระเถระกค็ อยพจิ ารณาวาระ
จิต แล้วสั่งสอนอุปคุปต์ตามภูมิธรรม คราวหน่ึง
พระเถระไดม้ อบผา้ ขาวผนื หนง่ึ และผา้ ดำ� ผนื หนง่ึ
แกอ่ ปุ คปุ ต์ พรอ้ มแนะนำ� ใหล้ บู คลำ� และพจิ ารณา
ความไม่เท่ียงแท้แน่นอน โดยใช้ผ้าเป็นอุปกรณ์
อปุ คปุ ตน์ ง่ั ลบู ผา้ ขาวและผา้ ดำ� อยไู่ มน่ าน กร็ ธู้ รรม
บรรลธุ รรมเป็นพระโสดาบัน
ตรงนี้ต่างจากพวกเรานัก เพราะนับแต่เกิด
มาจนแก่ ใช้ผ้าก็หลายผืนจนล้นบ้าน หากเปิด
ทา้ ยขายถกู ตามตลาดนดั นา่ จะไดเ้ งนิ โขอยู่ แตไ่ ม่
เคยพจิ ารณาอะไรเลย จงึ ไมร่ วู้ า่ อะไรคอื สดี ำ� อะไร
คือสีขาว จะเก่งก็แต่เป็นช่างทาสี ปั้นแต่งเร่ือง
ราวให้มีสีสัน ท�ำให้คนอ่ืนเสียหาย จนลืมไปว่า หน่อย ถ่ายภาพใกล้จนเห็นรูขุมขน จะเอาไปดู
ย่ิงแต้มสีให้คนอ่ืนเสียหายมากเท่าไหร่ มือเรา ลายเหมือนพระเครือ่ งหรอื เปล่าไมท่ ราบได้
เองก็เปอื้ นมากเท่าน้นั สตรีท่ีคลั่งไคล้หลงใหลอุปคุปต์เห็นจะมาก
ตีความตามนัยผ้าขาวผ้าด�ำว่า อุปคุปต์นั้น โขอยู่ แต่ท่ีบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรคือ
เหน็ จะพจิ ารณาผา้ ขาวกอ่ น เพราะสขี าวหมายถงึ นครโสเภณีนางหน่ึงนามว่า วาสวทัตตา เหตุที่
ความสุขสบาย ซึ่งไม่ต่างอะไรกับผ้าขาว ยิ่งบิดา นางคนนี้ปรากฏมีชื่อ น่าจะหาค�ำตอบได้ง่าย
มารดาเป็นเศรษฐี ยิ่งไม่ต้องอธิบายสรรพคุณให้ กล่าวคือนางเป็นผู้ใหญ่คนโต มีหน้ามีตาเสมอ
มากความ แต่คร้ันพิจารณาเพื่อนบ้านรอบข้าง กษัตรยิ ์หรอื เศรษฐสี มัยนัน้
ก็เห็นว่ามากด้วยความทุกข์ ไม่ต่างจากผ้าด�ำ ว่าตามความจริง ต�ำแหน่งนครโสเภณีสมัย
จึงเกิดปัญญาเห็นแจ้งว่า ชีวิตคนเรามีแค่สอง น้ันเป็นต�ำแหน่งที่ได้รับการการันตีจากกษัตริย์
ทางเลอื ก คอื สขุ กบั ทกุ ข์ เหตทุ เ่ี ปน็ เชน่ นี้ เพราะ กล่าวคือต้องมี certificate รับรองเป็นทางการ
เราไปเติมความรู้สึกด้วยความชอบชัง จึงไม่ เพราะต�ำแหน่งนี้ จำ� ต้องมีการคัดแล้วคดั อีก จาก
สามารถก�ำหนดให้เห็นตามความจริง หาก สตรีหลายพันคน คุณสมบัติต้องเป็นสตรีผู้งาม
ปลงใจพิจารณาให้ถูกวิธี ย่อมเกิดปัญญาเห็น พร้อมด้วยเรือนร่าง และกิริยามารยาท อีกท้ัง
แจง้ ด้วยตนเอง เป็นเลิศในการเล่นดนตรีและการร่ายร�ำ เรียกว่า
อา้ ว... สาธซุ ิ รออะไรกันอยู่ พร้อมท้ังความงามและศิลปะ ผู้ท่ีได้รับต�ำแหน่ง
อุปคุปตก์ ุมารนน้ั ยง่ิ เจรญิ วัยย่งิ แสดงให้เห็น จึงถือว่า นอกจากความงามแล้ว ความสามารถ
ถึงความฉลาดหลักแหลม อีกทั้งความสง่างามก็ กเ็ ปน็ เลศิ ดว้ ย หนา้ ทห่ี ลกั ของนางคอื รบั แขกบา้ น
ต่างเป็นที่โจษจัน ถ้าสมัยน้ีก็คือเดินไปไหนเป็น แขกเมอื ง โดยนางเปน็ ผกู้ ำ� หนดเอง จะรำ่� รวยหรอื
ต้องมีเสียงกร๊ดี จากแฟนคลบั พร้อมขอลายเซน็ ที่ สูงศักด์ิ ขึน้ อยกู่ ับความพอใจของนางท้ังส้นิ นาง
ลมื ไม่ได้คือเซลฟเี กบ็ ไวเ้ ป็นท่ีระลึก บางรายหนกั นครโสเภณีจึงสูงสง่ ทรงอิทธพิ ลดงั วา่

๓๓ 63

นางวาสวทัตตาผู้น้ี ได้ยินกิตติศัพท์อุปคุปต์ เร่ืองเล่าต่อไปว่า ครั้นต่อมานางวาสวทัตตา
กุมารแล้ว อยากปฏิพัทธ์ร่วมหลับนอนด้วย จึง ไดร้ บั บตุ รนายชา่ งเปน็ แขก แตค่ รน้ั ทราบวา่ รำ�่ รวย
ปรารภกับสตรีสาวใชว้ า่ หากได้อยรู่ ว่ มสงั วาสกบั ด้วยทรัพย์ศฤงคาร เกิดโลภจริต จึงหาอุบายฆ่า
อปุ คปุ ต ์ จะไมค่ ดิ ราคาคา่ ตวั แตอ่ ยา่ งใด และพรอ้ ม เสีย คร้ันมีการฟ้องร้องพระราชา และไต่สวน
จะปฏิเสธแขกวีไอพีคนอ่ืน จากนั้นได้มอบหมาย ทราบว่านางผิดจริง พระเจ้าแผ่นดินจึงให้ตัดมือ
ใหห้ ญงิ สาวใชไ้ ปแจง้ ขา่ วนี้แก่อุปคปุ ต์ เทา้ จมกู และห ู แ ลว้ ใหน้ ำ� นางไปทงิ้ ทป่ี า่ ชา้ ค ราวนน้ั
ตรงนีเ้ ชือ่ แน่แลว้ ว่า อุปคุปตก์ ุมารคงไม่หลอ่ นางได้รบั ทกุ ขเวทนาย่งิ นัก จะอยู่ก็อาย จะตายก็
เหลาธรรมดาเปน็ แน่ นา่ จะมเี สนห่ บ์ างอยา่ งดงึ ดดู ลำ� บาก เหมือนคนแบกสองโลกเอาไว้
เพศตรงกันข้าม สันนิษฐานว่านอกจากความ คราวนี้เอง อุปคุปต์กุมารคร้ันทราบข่าวจึง
รำ�่ รวยของวงศต์ ระกลู แล้ว ความเป็นคนมธี รรมะ เดนิ ทางไปหานาง
มากด้วยศีลย่อมจะหอมหวน เชิญชวนต่อสตรี การสนทนาของท้ังสองคนเป็นปริศนาธรรม
เพศเป็นธรรมดา หรือบางทีอาจเป็นผู้ชาญฉลาด สูงล้�ำดว้ ยอรรถรสย่ิงนกั จะละทง้ิ ไปกเ็ สียดาย จึง
ในการคา้ จนเป็นท่เี ลือ่ งลือของบรรดาพอ่ คา้ ด้วย เห็นว่านา่ จะนำ� มากล่าวไวใ้ นที่นี้ เพือ่ วเิ คราะห์ให้
กัน พ่อค้าเหล่านี้เองไปใช้บริการของนางวาสว- ผ้อู า่ นเกดิ ปัญญา
ทัตตาแล้ว คงจะเล่าให้นางฟังจนเกิดอาการ นางวาสวทัตตากล่าวกับกุมารอุปคุปต์ด้วย
ปฏิพทั ธด์ ังวา่ ความน้อยเนื้อต่�ำใจว่า “ท�ำไมท่านจึงมาดูฉันใน
หญงิ สาวใชข้ องนางนครโสเภณไี ปพบอปุ คปุ ต์ กาลบัดนี้ ขณะท่ีร่างกายของฉันไม่ควรที่ใครจะ
พร้อมเล่าเจตนาประสงค์ของนายหญิงตนให้ฟัง แลมอง ดว้ ยมแี ต่เลือดชโลมตามตวั และโคลนตม
ค�ำตอบที่ได้จากปากอุปคุปต์คือ ยังไม่ถึงเวลาไป เปรอะเปื้อน ล้อมรอบกายเกลื่อนกล่นด้วยส่ิงน่า
พบนาง เม่ือนางวาสวทตั ตาทราบข่าวจากสาวใช้ สะพรึงกลัว ร่างนี้ไม่มีอะไรให้น่าพิสมัย ไม่น่า
ก็นะจังงัง อาการเหมือนขับรถมาด้วยความเร็ว ทัศนีย์ ไม่นา่ หฤหรรษ์ และไมน่ ่าเกิดสขุ อีกแล้ว”
แล้วต้องเบรคกะทันหัน เพราะมีอะไรบางอย่าง เหตุที่นางวาสวทัตตากล่าวเช่นนี้ เพราะยัง
วงิ่ ตดั หนา้ อยา่ ลมื วา่ นางวาสวทตั ตานนั้ เปน็ สตรที ี่ ยึดติดในความงามแห่งตน ยังหวนละห้อยหา
สวยทสี่ ดุ ในอาณาจกั ร ยากนกั ทจ่ี ะมชี ายใดปฏเิ สธ ความสุขแต่หนหลัง ไม่สามารถปล่อยวาง มีแต่
ความปรารถนาของนาง เพิง่ ปรากฏมีอุปคปุ ต์คน กอดรัดยึดตรึงเรื่องราวในอดีต ครั้นเห็นกุมาร
น้ีแหละเปน็ รายแรก ที่กลา้ ปฏเิ สธ อปุ คปุ ตม์ าหาตน กค็ ดิ วา่ คงมงุ่ ปรารถนาแตค่ วาม
สวยงามแห่งเรือนร่างเท่านั้น เฉกเช่นบุรุษท่ัวไป
ที่เชยชมเรือนกายของนางด้วยการจ่ายทรัพย์
สมบัติจ�ำนวนมากเปน็ ส่งิ แลกเปลย่ี น
อปุ คปุ ต์ตอบนางวาสวทัตตาว่า “เม่อื เจ้าหอ่
หุ้มร่างกายด้วยพัสตราภรณ์และเคร่ืองประดับ
อนั มคี ่า ย่อมชว่ ยยว่ั ให้เกดิ ตณั หาแก่ผู้ทศั นา เหตุ
เพราะเขาไม่เห็นเธอตามสภาพที่เป็นจริง แม้

64 ๓๓

เขาจะพยายามเพ่งพินิจก็ตาม แต่บัดนี้ เธอไร้ซึ่ง ผู้เขียนเห็นว่า วิธีการของพระศาณกวาสิน
เคร่ืองล่อลวงเหล่านั้นส้ินแล้ว ย่อมเห็นร่างกาย เถระนั้นช่างชาญฉลาดเหลือเกิน เพราะหาก
ของตนตามสภาพความเป็นจริง คนท่ีแสวงหา คล้อยตามค�ำอ้างของเศรษฐี เป็นอันไม่มีค�ำว่า
กามสุขจากเรือนร่างอันหยาบนี้ ช่างโง่เขลาและ ส้ินสุด เพราะเขาต้องการให้บุตรชายด�ำเนิน
เลวทรามเสียจริง” ธรุ กจิ สบื ต่อ ยิง่ เป็นบุตรอันเป็นท่รี ัก ยงิ่ เปน็ เร่อื ง
ค�ำพูดตรงและแรงเช่นนี้ ท�ำใหน้ างวาสวทัต- ยากทจ่ี ะอนญุ าตให้บวช แต่ครน้ั พระเถระอ้างถงึ
ตาสนั่ สะเทอื นจนถงึ ภายใน เมอื่ หวนคดิ ถงึ ตนเอง พทุ ธประสงค์ และย�้ำว่าพระองคเ์ ลือกอุปคุปต์ให้
แล้วตรองตามค�ำพูดของอุปคุปต์กุมาร ก็เกิด เป็นผู้ท�ำหน้าที่แทนพระองค์ จึงปิดช่องที่จะให้
ปัญญารู้แจ้ง บรรลุโสดาบัน ส่วนอุปคุปต์กุมาร เศรษฐปี ฏิเสธ
กบ็ รรลธุ รรมเป็นพระอนาคามีในคราวเดียวกัน หากให้เดา ผูเ้ ขยี นเหน็ วา่ พทุ ธพยากรณน์ ั้น
เหน็ หรือยงั วา่ ลกึ ซง้ึ มากนอ้ ยเพียงใด เห็นจะเป็นมติของคณะสงฆ์เป็นแน่ เพราะตาม
มาวันหนึ่ง พระศาณกวาสินเถระพิจารณา ธรรมเนียมของพระมหายานน้ัน มักพิจารณา
เห็นว่าถึงเวลาแล้วที่อุปคุปต์กุมารควรจะบวช คัดเลือกผู้มีสติปัญญาไหวพริบในการศึกษาพระ
จึงเดินทางไปบ้านเศรษฐี พร้อมย้�ำเตือนสัญญา ธรรมค�ำสอน และพระศาณกวาสินเถระน่าจะ
คราวก่อน เศรษฐีนนั้ พยายามหาวิธีการบา่ ยเบย่ี ง ได้รับมอบหมายจากคณะสงฆ์ให้พิจารณาหา
เพ่ือหลีกเลี่ยงสัญญา ด้วยเหตุว่า บุตรชายคนนี้ คนเหมาะสมที่จะออกบวชศึกษาตามประเพณี
เฉลียวฉลาดยิ่งนัก หากด�ำรงเพศฆราวาสวิสัย มหายานดังกล่าว ผิดจากนี้ค่อยหาหลักฐาน
ย่อมสามารถรักษาช่ือเสียงวงศ์ตระกูลให้รุ่งเรือง มาคา้ น
มนั่ คงสบื ไป ครน้ั อปุ คปุ ตบ์ วชแลว้ ไดศ้ กึ ษาพระธรรมวนิ ยั
พระเถระเหน็ วา่ ถงึ เวลาแลว้ ทจ่ี ะพดู ความนยั ภายใตก้ ารดแู ลของพระศาณกวาสนิ เถระ และไม่
ทซี่ อ่ นไว้ จงึ แจง้ แกเ่ ศรษฐวี า่ “บตุ รชายทา่ นคนนี้ นานก็ได้บรรลุอรหัตตผลกลายเป็นพระอรหันต-
มใิ ช่ธรรมดา เป็นผไู้ ดร้ ับพทุ ธพยากรณ์วา่ จะท�ำ ขีณาสพ ต่อมาคร้ันอาจารย์เข้าสู่วัยชรา ได้มอบ
หน้าที่รักษาดูแลพระศาสนาของพระองค์ และ หมายใหพ้ ระอปุ คปุ ตเ์ ถระทำ� หนา้ ทดี่ แู ลและสอน
จะเป็นผู้ด�ำรงพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป สั่งศิษย์สืบต่อไป ตามประเพณีแห่งอาจารย์ตน
ภายหน้า” เหตุด้วยเป็นผู้ทรงคุณหลายด้าน อีกทั้งท�ำหน้าที่
เจอไม้น้ีเข้า เศรษฐีก็จนด้วยปัญญา เพราะ แสดงธรรมแก่ชาวมถุราทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์
เมื่ออ้างถึงพระพุทธเจ้าก็เป็นอันไม่ต้องปฏิเสธ จนช่ือเสียงโด่งดังแพร่หลายไปตามหัวเมืองน้อย
อีกแล้ว จึงเรียกอุปคุปต์กุมารผู้บุตรเข้ามาใกล้ ใหญ่ ในฐานะพระธรรมกถึกนามอุโฆษ
แล้วแจ้งเร่ืองราวท้ังหมดให้ฟัง อุปคุปต์กุมารนั้น ผู้เขียนสันนิษฐานว่า เร่ืองราวของพระเถระ
มีอุปนิสัยจะออกบวชแต่ต้นแล้ว ครั้นได้ยินบิดา เหน็ จะโดง่ ดงั แพรห่ ลาย จนสมยั ตอ่ มามกี ารบนั ทกึ
พูดเชน่ นั้นกเ็ หมือนมีคนย่นื อญั มณีอนั ล้�ำค่าใสม่ อื เป็นลายลักษณ์อักษร
จงึ รับปากตามความปรารถนาของบิดา
(คราวหน้ามาวา่ กนั ต่อ)

อยู่อย่างไรให้ชีวิตมีค่า ?

ชีวิตท่ีมีค่า ไม่ใช่ชีวิตที่ร�่ำรวย ด้วยทรัพย์สินศฤงคาร มีเกียรติ มียศถาบรรดาศักด์ิ
หรืออายุยืน แต่ชีวิตท่ีมีค่า คือ ชีวิตท่ีตัวเราเป็นคนมีคุณค่า และท�ำให้ชีวิตคนอื่นมีค่า ...

๑ อะไรหรือ คือคุณค่า ของชีวิต เพ่งพินิจ คิดให้ดี จะมีสุข
ไม่แยบคาย ไร้ปัญญา จะพาทุกข์ สร้างสรรค์สุข หรือทุกข์ ควรฉุกใจ
๒ อันยศลาภ แลสุข สรรเสริญ คนมักเพลิน เดินดุ่ม ลุ่มหลงใหล
ขาดสติ มิยับยั้ง ชั่งจิตใจ มักคล้อยไป ทางช่ัว กลั้วอบาย
๓ เวลาเส่ือม ลาภยศ ทุกข์นินทา ก็โหยหา คร�่ำครวญ หวนใจหาย
จนบางคน สุดทนท้อ ขอวางวาย ส่ิงสุดท้าย เหลือไว้หรือ คือบาปตรา
๔ ท�ำไมหนอ คนเรา ไม่เข้าใจ สิ่งไรๆ ในโลกน้ี ที่เสาะหา
ลาภยศเกียรติ สักการะ ศฤงคาร์ ภริยา บุตรสามี ไม่จีรัง
๕ ล้วนแต่ของ ขอยืม อย่าลืมนะ ต้องสละ ละทิ้งไป ไม่มีหวัง
หากยืดย้ือ ถือไว้ ไม่เชื่อฟัง คงต้องน่ัง โศกศัลย์ จนวันตาย
๖ ควรจ�ำไว้ ให้แม่นย�ำ ถึงค�ำพระ ฯ ไม่ว่าจะ อยู่สถาน เหตุการณ์ไหน
อนิจจัง ทุกขัง อย่าพล้ังใจ ระลึกไว้ ให้เด่นชัด อนัตตา
๗ ลักษณะ ท้ังสาม ต้องตามรู้ หากเพียรดู อยู่ประจ�ำ พร่�ำศึกษา
อบรมใจ ให้ประจักษ์ ลักษณา ในไม่ช้า จะพ้นโศก เหนือโลกธรรม
๘ บ�ำเพ็ญบุญ คุณธรรม ประจ�ำจิต แล้วชวนมิตร สหายด้วย ช่วยชูค้�ำ
ให้เรียนรู้ คู่ปฏิบัติ พระสัทธรรม ชีวิตล�้ำ เหลือค่า น่าโล่งใจ
๙ เกิดเป็นคน ทั้งที ท�ำดีเถิด ชีพบรรเจิด เลิศหล้า ปัญญาไสว
อย่ามัวแต่ เห็นแก่ตัว ค้�ำหัวใจ ชีวิตไม่ สมค่า ถ้าทิ้งธรรม ...

อญฺญตรภิกขฺ ุ

v วิสัชนาธรรม : v ปัญญารัตนะ :
ความรักแนวพุทธ ชีวิตกับความรัก
v ธรรมปริทัศน์ : v สัมโมทนียกถา :
ยอดอุบาสิกา ธัมมกถึก ตอน ๒ โทษเขา เราทุกข์
v พระธรรมเทศนา : v ทันโลก รู้ธรรม :
ความรักที่แท้จริง เสือไม่ด�ำเท่าใจ
v ธรรมกถา : v เรื่องชุดพุทธบริษัท :
เติมเต็มชีวิตด้วยความรัก เรียนรู้ท่ีจะรักตนเอง ก่อนรักคนอ่ืน
v ธรรมร�ำลึก : อาจริยบูชา ๑๐๐ ปี v มองเทศ - มองไทย :
พระโพธิญาณเถร พระอุปคุตเถระ ตอน ๓
v ปัญญาปริทัศน์ : ธรรมะ ๓๓ (ตอน ๑)
มฆมาณพ


Click to View FlipBook Version