The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มหาสติปัฏฐานสูตร

MahaSatipatthan Sutta

บทสวด

มหาสติปัฏฐานสูตร

บทสวด

มหาสติปัฏฐานสูตร

ชมรมกลั ยาณธรรม

หนังสือดีล�ำดบั ท ่ี ๓๗๐
ออกแบบปก : กลุ่มเพื่อนธรรมเพ่อื นท�ำ
พมิ พค์ รงั้ ท ี่ ๓ : เมษายน ๒๕๖๑  จ�ำนวนพิมพ ์ ๓,๐๐๐ เล่ม
จัดพมิ พโ์ ดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ต�ำบลปากนำ�้  อ�ำเภอเมือง 
จงั หวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔
เพลต / พมิ พ ์ แคนนา กราฟฟกิ  โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑

สพั พทานงั  ธัมมทานัง ชนิ าติ
การใหธ้ รรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ท้ังปวง
www.kanlayanatam.com Facebook : kanlayanatam
มขี อ้ เสนอแนะอนั ใดเพอื่ แกไ้ ข สำ� หรับการพิมพค์ รงั้ ตอ่ ไปให้ดีขึ้น

โปรดส่งขอ้ ความที่ [email protected]



คํ า นํ า

สมัยนีก้ ารเจรญิ สตเิ ป็นที่นยิ มกนั มาก ไม่เฉพาะแตช่ าวพุทธเทา่ นน้ั แม้ชาวต่างชาติตา่ งภาษา
กม็ ีการน�ำเอา ”สติ„ ไปปรบั ใช้ เพ่อื สอนกันทั้งในโรงเรียน โรงพยาบาล บรษิ ัทใหญ่ๆ หรือแม้แต่
ในทางทหาร โดยใชช้ ื่อว่า mindfulness (บางแห่งถงึ กบั มีหอ้ งเจรญิ สติ และมีการเปิดคอร์สอบรม
”การเจริญสติ„ ให้กับพนักงานของตน เพ่ือลดความเครียดและเพ่ิมประสิทธิภาพในองค์กร) เม่ือ
มีการใช้ค�ำว่า ”สติ„ แพร่หลายออกไปอย่างนี้ก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ความหมายของ ”สติ„ ที่ใช้ๆ
กันอยู่อาจจะไม่ตรงเสียทีเดียวกับความหมายดั้งเดิมท่ีพระศาสดาของเราประสงค์จะให้ใช้ เพื่อน�ำ
ไปสู่การดับทุกข์ ดังน้ัน เราในฐานะชาวพุทธอย่างน้อยก็ควรจะรู้ให้ชัดว่า สติคืออะไร และท�ำ
อย่างไรจะให้เกิดสติ โดยหันมาศึกษาสติกันให้เป็นระบบ ซ่ึงอาจจะเร่ิมได้จากการศึกษาพระสูตร
ซึ่งเป็นพระพุทธพจน์โดยตรง เพื่อจะได้มีพ้ืนความรู้ท่ีเป็นหลักในการปฏิบัติเอาไว้บ้าง นอกจาก
จะไม่ไขว้เขวแลว้ ยังสามารถอธบิ ายให้ผู้ทสี่ นใจได้อยา่ งถูกต้อง

บทสวดมหาสติปัฏฐานสูตรในเล่มนี้น�ำมาจาก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ โดยใช้ปาฐะ
ตามบทสวดมนต์ฉบับหลวงเป็นหลัก ส่วนค�ำแปลนั้นน�ำมาจากหลายท่ีและปรับตามอัตตโนมติของ
ผู้รวบรวมเอง เพื่อใหเ้ หมาะกบั การสวด เวลาสวดจะสวดเฉพาะพระบาลกี ไ็ ด้ (โดยดคู �ำแปลไปข้างๆ)
หรือจะสวดเฉพาะภาษาไทยก็ได้ (เมื่อสงสัยในค�ำบางค�ำก็มาดูในฝั่งของพระบาลี) หรือจะสวด
พระบาลีและแปลไทยไปพร้อมๆ กันก็ได้ ส่วนใหญ่แปลบรรทัดต่อบรรทัด แต่บางบรรทัดท่ีมี
เนื้อความท่ีต้องแปลรวบกันให้สังเกตตรงเส้นคั้นกลาง (ซึ่งถ้ามี ให้สวดบาลีให้ครบทุกบรรทัด
ก่อนแล้วจงึ คอ่ ยสวดคำ� แปล) บางท่อนอาจจะมีการสวดซำ้� ใหส้ ังเกตสัญญลักษณ์ยอ่ ในที่ใกลๆ้ กัน
บางท่อนท่ีมีการสวดเวียน ก็ให้เปลี่ยนค�ำที่ขีดเส้นใต้ไว้ด้วยค�ำที่เหลือจนครบทุกค�ำในหมวดน้ัน
ขอแนะน�ำให้ลองสวดเองและท�ำความเข้าใจให้ดีก่อนท่ีจะน�ำไปสวดร่วมกัน ที่ออกแบบมาใน
ลกั ษณะนกี้ เ็ พอ่ื เก้อื กลู แก่การจำ� และจะได้ฝึกสตไิ ปพร้อมๆ กนั กบั เวลาสวดดว้ ย

ขอขอบคุณภิกษุรูปหนง่ึ ส�ำหรับตารางโครงสร้างทั้ง ๔๔ บรรพ และเมตตาช่วยตรวจทาน
ต้นฉบับ ขอบคุณสาละพิมพการ ท่ีอดทนในการแก้ไขบทสวดเพื่อให้ถูกต้องท่ีสุด และกลุ่ม
เพ่ือนธรรมเพื่อนท�ำส�ำหรับปกท่ีงดงาม ส่วนภาคภาษาอังกฤษนั้นได้พระ Thitavijjo เพ่ือน
ชาวมาเลเซียเปน็ ผเู้ รยี บเรยี ง ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ทกุ ๆ ฝ่ายทไ่ี ดม้ สี ว่ นรว่ ม ในการท�ำให้บทสวด
พระสูตรเล่มนี้ส�ำเร็จลงได้ด้วยดีไว้ ณ ที่นี้ ถ้ามีข้อเสนอแนะอันใดเพ่ือแก้ไข ส�ำหรับการพิมพ์
คร้ังต่อไปใหด้ ขี ึ้น โปรดสง่ ข้อความท่ี [email protected] จะอนุโมทนาเปน็ อย่างยิ่ง

พระมหากรี ติ ธีรปัญโญ
วัดจากแดง

ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดือน ๑ พ.ศ. ๒๕๕๙

สติญฺจ ขฺวาหํ ภกิ ฺขเว สพฺพตถฺ กิ ํ วทามิ

ดกู รภิกษุทง้ั หลาย เรากล่าวสตแิ ล วา่ จ�าปรารถนาในทที่ ้งั ปวง

มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร

๔๔ บรรพะ

กายานปุ สั สนา ๑๔ เวทนานปุ ัสสนา ๙ จติ ตานุปัสสนา ๑๖ ธัมมานุปัสสนา ๕

๑ อานาปานบรรพะ ๑ สุข - ๔ สามิสฺส ํ ๑ สราคํ - วีตราคํ ๑ นวี รณบรรพะ

๒ อิริยาบถบรรพะ ๕ นิรามสิ สฺ ํ ๒ สโทส ํ - วตี โทสํ ๒ ขนั ธบรรพะ

๓ สมั ปชัญญบรรพะ* ๒ ทกุ ข์ - ๖ สามิสฺสํ ๓ สโมหํ - วตี โมห ํ ๓ อายตนบรรพะ

๔ ปฏกิ ูลมนสกิ ารบรรพะ ๗ นิรามสิ ฺส ํ ๔ สํขติ ฺตํ - วิกขฺ ติ ฺต ํ ๔ โพชฌังคบรรพะ

๕ ธาตมุ นสกิ ารบรรพะ ๓ อเุ บกขา - ๘ สามสิ สฺ ํ ๕ มหคคฺ ต ํ - อมหคคฺ ต ํ ๕ สจั จบรรพะ ทกุ ขสจั

๖-๑๔ นวสวี ถิกาบรรพะ ๙ นริ ามสิ สฺ ํ ๖ สอุตฺตร ํ - อนตุ ฺตร ํ สมุทัยสจั

๗ สมาหิต ํ - อสมาหติ ํ นโิ รธสจั

๘ วิมุตตฺ ํ - อวมิ ตุ ตฺ ํ มรรคสัจ*

* มรรคสัจ
อธปิ ัญญา - สมั มาทฐิ ิ สัมมาสงั กปั ปะ
อธศิ ีล - สมั มาวาจา สัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชวี ะ
อธิจิต - สมั มาวายามะ สัมมาสติ
สมั มาสมาธิ

* จตสุ ัมปชญั ญะ (สาตถก, สปั ปาย, โคจร, อสัมโมหะ) ในฐานะ ๗
๑ อภกิ กฺ นเฺ ต - ปฏิกกฺ นเฺ ต
๒ อาโลกเิ ต - วโิ ลกเิ ต
๓ สมมฺ ิญชฺ เิ ต - ปสารเิ ต
๔ สงฺฆาฏิปตตฺ จวี รธารเณ
๕ อสิเต - ปิเต - สายิเต - ขายเิ ต
๖ อุจจฺ ารปสฺสาวกมเฺ ม
๗ คเต - เิ ต - นิสินฺเน – สุตฺเต - ชาครเิ ต – ภาสเิ ต - ตณุ หฺ ีภาเว

2 มหาสตปิ ัฏฐานสูตร

มหาสติปัฏฐานสตู ร

เอวัมเม สุตงั : ขาพเจา ไดส ดับมาแลว อยา งน้ี :
เอกงั สะมะยงั ภะคะวา กรุ สู ุ วหิ ะระติ สมยั หนงึ่ พระผมู พี ระภาคเจา เสดจ็ ประทบั อยใู นหมู
กัมมาสะทมั มัง นามะ กุรูนัง นคิ ะโม ฯ ชนชาวกรุ ุ นคิ มของหมชู นชาวกรุ ุ ชอื่ กมั มาสทมั มะ.
ตตั ฺระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ในกาลนน้ั แล พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั เรยี กภกิ ษวุ า
“ภิกขะโว” ติ ฯ ”ดกู อ นภิกษทุ งั้ หลาย„ ดงั นี้.
“ภะทันเต” ติ เต ภกิ ขู ภกิ ษุเหลานั้น ทูลรับพระดํารัส-
ภะคะวะโต ปัจจัสโสสงุ ฯ ของพระผูมพี ระภาคเจาวา ”พระเจาขา„ ดังน.้ี
ภะคะวา เอตะทะโวจะ: พระผูมพี ระภาคเจา จงึ ตรัสพระพทุ ธภาษิตนี้วา :

“เอกายะโน อะยงั ภิกขะเว มคั โค ”ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ทางนเ้ี ปน ทางสายเอก
สัตตานัง วิสทุ ธยิ า เพ่ือความหมดจดวิเศษของสตั วท ง้ั หลาย
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ เพื่อกา วลวงซึ่งความโศกและความรํ่าไร
ทกุ ขะโทมะนสั สานงั อตั ถังคะมายะ เพอ่ื อสั ดงคด ับไปแหงทุกขแ ละโทมนสั
ญายสั สะ อะธิคะมายะ เพื่อบรรลุญายธรรม
นพิ พานัสสะ สัจฉกิ ิรยิ ายะ เพ่อื กระทําพระนิพพานใหแ จง .
ยะททิ ัง จัตตาโร สะติปฏั ฐานา ฯ ทางนคี้ อื สตปิ ฏ ฐาน ๔ (การตงั้ สตไิ วโ ดยแนบแนน
กะตะเม จัตตาโร ฯ ตอเนอ่ื งในอารมณกรรมฐาน)
อิธะ ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ๔ ประการ เปน ไฉน?
กาเย กายานปุ ัสส ี วิหะระติ ดูกอนภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวนิ ยั นี้
อาตาป สมั ปะชาโน สะติมา ยอ มเปนผูตามพิจารณาเหน็ กายในกายอยู
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง มคี วามเพียรเผากิเลส มสี มั ปชัญญะ มสี ติ
เวทะนาสุ เวทะนานปุ ัสส ี วหิ ะระติ ถอนความยินดแี ละยินรายในโลกออกเสยี ได.
อาตาป สัมปะชาโน สะติมา ยอ มเปน ผตู ามพจิ ารณาเหน็ เวทนาในเวทนาอยู
วเิ นยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สัง มีความเพยี รเผากเิ ลส มีสัมปชัญญะ มสี ติ
จติ เต จิตตานปุ ัสสี วหิ ะระติ ถอนความยินดีและยินรา ยในโลกออกเสยี ได.
อาตาป สมั ปะชาโน สะตมิ า ยอมเปนผตู ามพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู
วิเนยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนัสสัง มีความเพยี รเผากิเลส มสี ัมปชัญญะ มีสติ
ธมั เมสุ ธัมมานุปสั สี วหิ ะระติ ถอนความยนิ ดีและยินรา ยในโลกออกเสยี ได.
อาตาป  สมั ปะชาโน สะติมา ยอ มเปน ผูตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมอยู
วิเนยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนัสสงั ฯ มีความเพยี รเผากิเลส มสี ัมปชญั ญะ มีสติ
ถอนความยินดีและยนิ รา ยในโลกออกเสียได.

มหาสติปัฏฐานสูตร 3

กายานปุ สั สนา

อานาปานะ : ลมหายใจเขาออก

กะถัญจะ ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย กอ็ ยา งไร ภิกษุ
กาเย กายานปุ ัสส ี วหิ ะระต ิ ฯ ยอมพจิ ารณาเหน็ กายในกายเนืองๆ อยู.
อธิ ะ ภิกขะเว ภิกขุ ดูกอนภิกษทุ ัง้ หลาย ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้
อะรัญญะคะโต วา ไปแลว สูปา ก็ดี
รุกขะมลู ะคะโต วา ไปแลว สูโคนไมกด็ ี
สญุ ญาคาระคะโต วา ไปแลว สเู รอื นวา งกด็ ี
นิสีทะติ ปลั ลงั กัง อาภชุ ติ ฺวา นั่งคูบลั ลังก (ขดั สมาธ)ิ
อชุ งุ กายัง ปะณิธายะ ตั้งกายใหตรง
ปะริมขุ ัง สะตงิ อุปัฏฐะเปตฺวา ฯ ดํารงสติเฉพาะหนา.
โส สะโตวะ อัสสะสะติ เธอยอมมีสติอยู หายใจเขา
สะโต ปสั สะสะติ ยอมมสี ตอิ ยู หายใจออก.
ทฆี ัง วา อสั สะสนั โต เม่อื หายใจเขา ยาว
‘ทฆี งั อัสสะสามตี ิ ปะชานาติ ก็รชู ัดวา ”เราหายใจเขายาว„.
ทฆี งั วา ปสั สะสันโต หรือเมอ่ื หายใจออกยาว
‘ทีฆัง ปสั สะสามีต ิ ปะชานาติ ก็รูชัดวา ”เราหายใจออกยาว„.
รัสสงั วา อัสสะสันโต เมื่อหายใจเขา ส้ัน
‘รสั สงั อสั สะสามีต ิ ปะชานาติ กร็ ูชดั วา ”เราหายใจเขา สั้น„.
รัสสงั วา ปัสสะสนั โต หรือเม่อื หายใจออกส้ัน
‘รสั สัง ปัสสะสามตี ิ ปะชานาติ ก็รชู ัดวา ”เราหายใจออกสน้ั „.
‘สพั พะกายะปะฏสิ งั เวที ยอมสาํ เหนียกวา ”เราจกั เปนผูก ําหนดรูต ลอด-
อสั สะสิสสามตี ิ สิกขะติ กองลมหายใจทัง้ ปวง หายใจเขา „.
‘สพั พะกายะปะฏสิ ังเวที ยอมสําเหนียกวา ”เราจักเปนผูกําหนดรูตลอด-
ปัสสะสิสสามตี ิ สิกขะติ กองลมหายใจท้ังปวง หายใจออก„.
‘ปัสสมั ภะยัง กายะสังขารัง ยอ มสาํ เหนยี กวา ”เราจกั ผอ นระงบั กายสงั ขาร*-
อสั สะสสิ สามีติ สิกขะติ หายใจเขา „.
‘ปสั สัมภะยัง กายะสังขารัง ยอ มสาํ เหนยี กวา ”เราจกั ผอ นระงบั กายสงั ขาร*-
ปัสสะสสิ สามีติ สิกขะต ิ ฯ หายใจออก„.

* คือลมหายใจเขาออก

4 มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลาย แมฉนั ใด
นายชางกลงึ ผฉู ลาด
เสยยะถาป ิ ภิกขะเว หรอื ลูกมอื ของนายชา งกลึงผฉู ลาด
ทักโข ภะมะกาโร วา เมอ่ื ชกั เชือกกลึงยาว
ภะมะการนั เตวาสี วา กร็ ชู ดั วา ”เราชักเชอื กกลึงยาว„.
ทฆี งั วา อัญฉันโต เมื่อชักเชอื กกลึงส้นั
‘ทีฆงั อญั ฉามีติ ปะชานาติ ก็รูชดั วา ”เราชกั เชอื กกลงึ สัน้ „.
รัสสัง วา อญั ฉันโต ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษกุ ฉ็ ันนัน้ นนั่ แล
‘รัสสัง อัญฉามตี ิ ปะชานาติ เมอ่ื หายใจเขายาว
เอวะเมวะ โข ภกิ ขะเว ภกิ ขุ กร็ ูชัดวา ”เราหายใจเขา ยาว„.
ทฆี ัง วา อสั สะสนั โต หรอื เมื่อหายใจออกยาว
‘ทีฆัง อสั สะสามตี ิ ปะชานาติ กร็ ชู ดั วา ”เราหายใจออกยาว„.
ทฆี ัง วา ปสั สะสันโต เมื่อหายใจเขา ส้นั
‘ทฆี งั ปสั สะสามตี ิ ปะชานาติ กร็ ชู ัดวา ”เราหายใจเขาส้นั „.
รัสสงั วา อัสสะสันโต หรอื เม่ือหายใจออกส้นั
‘รัสสงั อสั สะสามีติ ปะชานาติ กร็ ูชัดวา ”เราหายใจออกสั้น„.
รัสสัง วา ปสั สะสันโต ยอ มสาํ เหนยี กวา ”เราจกั เปน ผกู าํ หนดรูตลอด-
‘รัสสงั ปสั สะสามีติ ปะชานาติ กองลมหายใจทัง้ ปวง หายใจเขา„.
‘สัพพะกายะปะฏสิ งั เวที ยอมสําเหนยี กวา ”เราจักเปน ผกู าํ หนดรูตลอด-
อัสสะสิสสามตี ิ สิกขะติ กองลมหายใจท้งั ปวง หายใจออก„.
‘สพั พะกายะปะฏิสงั เวที ยอ มสําเหนียกวา ”เราจกั ผอนระงบั กายสงั ขาร-
ปัสสะสสิ สามตี ิ สกิ ขะติ หายใจเขา „.
‘ปัสสมั ภะยงั กายะสังขารงั ยอ มสําเหนียกวา ”เราจักผอนระงบั กายสงั ขาร-
อัสสะสสิ สามีต ิ สกิ ขะติ หายใจออก„ ดงั น.ี้
‘ปสั สมั ภะยัง กายะสังขารัง [J ภิกษยุ อ มพิจารณาเหน็ กายในกาย-
ปสั สะสิสสามีต ิ สกิ ขะต ิ ฯ เปน ภายในบาง.
[J อติ ิ อชั ฌตั ตงั วา กาเย ยอมพิจารณาเหน็ กายในกาย-
กายานุปสั สี วหิ ะระติ เปนภายนอกบา ง.
พะหทิ ธา วา กาเย ยอ มพิจารณาเห็นกายในกาย-
กายานปุ ัสสี วิหะระติ ทัง้ ภายในภายนอกบาง.
อัชฌตั ตะพะหิทธา วา กาเย ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมดา-
กายานุปัสสี วหิ ะระติ
สะมทุ ะยะธัมมานปุ สั สี วา

กายสั มฺ ิง วิหะระติ มหาสติปฏั ฐานสตู ร 5
วะยะธมั มานุปัสสี วา
กายัสมฺ งิ วิหะระติ คอื ความเกิดข้ึนในกายบาง.
สะมุทะยะวะยะธัมมานปุ สั สี วา ยอ มพิจารณาเห็นธรรมดา-
กายสั ฺมงิ วหิ ะระติ คือความเสื่อมไปในกายบา ง.
‘อตั ถ ิ กาโยติ วา ปะนสั สะ ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
สะติ ปัจจปุ ัฏฐิตา โหติ คอื ทั้งความเกิดขน้ึ ทัง้ ความเสื่อมไปในกายบา ง.
ยาวะเทวะ ญาณะมตั ตายะ ก็หรอื สติของเธอนนั้ ที่ตั้งม่นั อย-ู
ปะฏิสสะติมัตตายะ ฯ วา ”กายมอี ยู„
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ เพยี งเพื่อญาณคอื ความรู
นะ จะ กิญจิ โลเก อปุ าทยิ ะติ ฯ เพยี งเพื่อเปน ท่ีอาศัยระลึก.
เอวัมป ิ ภิกขะเว ภกิ ขุ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ] ยอ มไมยึดถืออะไรๆ ในโลกดวย.
ดูกอนภิกษุท้งั หลาย ภิกษ-ุ
ยอมตามพิจารณาเห็นกายในกายอยอู ยางน้.ี ]

อริ ิยาบถใหญ ๔

ปุนะ จะปะรงั ภิกขะเว ภกิ ขุ ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย ขอ อนื่ ยังมีอยูอ กี ภกิ ษุ
คัจฉนั โต วา ‘คจั ฉามีติ ปะชานาติ เมื่อเดนิ อยู กร็ ชู ดั วา ”เราเดินอย„ู
ฐโิ ต วา ‘ฐิโตมหฺ ีติ ปะชานาติ หรอื เมอ่ื ยืนอยู กร็ ชู ดั วา ”เรายนื อย„ู
นสิ ินโน วา ‘นิสนิ โนมหฺ ตี ิ ปะชานาติ หรือเม่อื น่งั อยู กร็ ูช ดั วา ”เรานงั่ อย„ู
สะยาโน วา ‘สะยาโนมฺหตี ิ ปะชานาต ิ ฯ หรือเมอ่ื นอนอยู ก็รชู ัดวา ”เรานอนอยู„ .
อน่ึงเมื่อเธอน้ัน เปนผูตง้ั กายไวแ ลวอยา งใดๆ
ยะถา ยะถา วา ปะนสั สะ กาโย ปะณิหิโต โหติ กย็ อ มรชู ดั อาการกายนน้ั อยา งนนั้ ๆ ดงั น.ี้ [ J...]

ตะถา ตะถา นมั ปะชานาติ ฯ [Jอติ .ิ ..]

สัมปชัญญะ : ความเปนผูรพู รอ ม ๔ อยาง

ปนุ ะ จะปะรงั ภกิ ขะเว ภิกขุ ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ขอ อน่ื ยงั มีอยูอกี ภิกษ-ุ
อะภิกกนั เต ปะฏิกกันเต ยอ มเปน ผทู ําสัมปชัญญะ-
สมั ปะชานะการ ี โหติ ในการนอมไปขา งหนา โนม กลับมาขางหลัง.
อาโลกเิ ต วโิ ลกิเต ยอ มเปนผูท ําสัมปชญั ญะ-
สมั ปะชานะการ ี โหติ ในการแลไปหนา เหลียวไปซายและขวา.

6 มหาสติปัฏฐานสูตร

สมั มิญชเิ ต ปะสารเิ ต ยอ มเปนผูทาํ สมั ปชัญญะ-
ในการคูอวยั วะเขา เหยียดอวัยวะออก.
สมั ปะชานะการี โหติ ยอ มเปน ผูทาํ สมั ปชญั ญะ-

สังฆาฏปิ ตั ตะจวี ะระธาระเณ ในการทรงผาสังฆาฏิ บาตร และจีวร.

สมั ปะชานะการี โหติ ยอมเปนผูท าํ สัมปชญั ญะ-

อะสิเต ปเต ขายิเต สายเิ ต ในการกนิ ดืม่ เค้ยี ว และล้ิม.

สัมปะชานะการ ี โหติ ยอมเปนผทู ําสัมปชญั ญะ-

อุจจาระปสั สาวะกัมเม ในการถา ยอจุ จาระ และปสสาวะ.

สมั ปะชานะการี โหติ

คะเต ฐเิ ต นิสนิ เน สุตเต ชาคะรเิ ต ยอมเปนผูท าํ สมั ปชญั ญะในการเดิน ยืน นงั่ หลบั ตืน่ -

ภาสเิ ต ตุณฺหภี าเว สมั ปะชานะการี โหต ิ ฯ พูด และความเปน ผูน ่ิงอยู ดังน.้ี
[J ภกิ ษุยอ มพจิ ารณาเห็นกายในกาย-
[J อติ ิ อชั ฌัตตัง วา กาเย เปนภายในบา ง

กายานปุ ัสส ี วหิ ะระติ ยอมพจิ ารณาเห็นกายในกาย-

พะหิทธา วา กาเย เปนภายนอกบา ง

กายานุปัสส ี วหิ ะระติ ยอ มพจิ ารณาเห็นกายในกาย-

อชั ฌัตตะพะหิทธา วา กาเย ทั้งภายในภายนอกบาง

กายานปุ สั ส ี วิหะระติ ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-

สะมทุ ะยะธัมมานปุ ัสสี วา คือความเกดิ ขึ้นในกายบา ง

กายสั ฺมงิ วหิ ะระติ ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-

วะยะธมั มานุปัสส ี วา คอื ความเสอื่ มไปในกายบา ง

กายสั มฺ งิ วิหะระติ ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-

สะมทุ ะยะวะยะธัมมานปุ สั ส ี วา คือทงั้ ความเกิดขน้ึ ท้งั ความเสอื่ มไปในกายบาง.

กายสั มฺ ิง วหิ ะระติ ก็หรอื สติของเธอนัน้ ท่ีตงั้ มั่นอย-ู

‘อัตถิ กาโยติ วา ปะนสั สะ วา ”กายมีอยู„

สะต ิ ปัจจปุ ฏั ฐิตา โหติ เพยี งเพ่อื ญาณคอื ความรู

ยาวะเทวะ ญาณะมตั ตายะ เพยี งเพอื่ เปนที่อาศยั ระลึก.

ปะฏสิ สะติมัตตายะ ฯ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.

อะนิสสโิ ต จะ วิหะระติ ยอ มไมย ึดถืออะไรๆ ในโลกดว ย.

นะ จะ กญิ จิ โลเก อปุ าทยิ ะติ ฯ ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย ภิกษุ-

เอวัมปิ ภิกขะเว ภกิ ขุ ยอมตามพิจารณาเหน็ กายในกายอยูอ ยางนี.้ ]

กาเย กายานปุ สั ส ี วิหะระติ]

มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร 7

ปฏกิ ลู มนสกิ าร : พิจารณากายเปนของปฏิกลู

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ขอ อนื่ ยงั มอี ยอู กี ภกิ ษุ (ยอ ม-
อิมะเมวะ กายงั อุทธัง ปาทะตะลา พจิ ารณา) กายนีน้ แ่ี ล เบอื้ งบนแตพ ้นื เทาขึน้ มา
อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง เบอ้ื งต่ําแตป ลายผมลงไป มหี นังหุม อยโู ดยรอบ
ปรู นั นานัปปะการัสสะ อะสจุ โิ น เตม็ ไปดว ยของไมส ะอาด มปี ระการตางๆ
ปัจจะเวกขะต ิ อัตถิ อมิ สั ฺมิง กาเย: พิจารณาวา มีอยใู นกายน้คี ือ:
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ ผม ขน เล็บ ฟน หนงั
มังสงั นะหารู อัฏฐี อัฎฐิมิญชงั วักกงั เนอ้ื เอ็น กระดูก เย่ือในกระดูก ไต
หะทะยงั ยะกะนงั กโิ ลมะกงั ปหิ ะกงั ปปั ผาสงั หวั ใจ ตับ พังผดื มา ม ปอด
อนั ตงั อนั ตะคุณงั อุทะริยัง กะรสี ัง ไสใ หญ สายรดั ไส อาหารใหม อาหารเกา
ปิตตงั เสมหัง ปุพโพ โลหิตัง น้าํ ดี นํา้ เสลด นํ้าเหลือง นา้ํ เลอื ด
เสโท เมโท อัสส ุ วะสา นํ้าเหง่ือ นํ้ามนั ขน นํ้าตา นํ้ามนั เหลว
เขโฬ สิงฆาณกิ า ละสิกา มุตตันติ ฯ นํา้ ลาย น้ํามูก น้ํามนั ไขขอ น้าํ มตู ร ดงั น้.ี
เสยยะถาป ิ ภกิ ขะเว อภุ ะโตมขุ า มโู ตฬ ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ไถมีปาก ๒ ขา ง แมฉันใด
ปูรานานาวิหติ สั สะ ธญั ญัสสะ เสยยะถีทัง : เต็มดว ยธญั ญชาติ มีประการตา งๆ คอื :
สาลนี ัง วหี นี งั มคุ คานงั ขาวสาลี ขาวเปลอื ก ถวั่ เขยี ว
มาสานงั ติลานัง ตัณฑุลานัง ถ่วั เหลือง งา ขาวสาร
ตะเมนงั จกั ขุมา ปรุ โิ ส บุรุษมจี ักษ-ุ
มุญจิตวฺ า ปัจจะเวกเขยยะ : แกไถน้นั ออกแลว พงึ เหน็ ไดวา:
อเิ ม สาล ี อิเม วหี ี อเิ ม มคุ คา เหลานี้ ขา วสาลี เหลา น้ี ขาวเปลือก เหลานี้ ถ่วั เขียว

อเิ ม มาสา อิเม ตลิ า อเิ ม ตัณฑลุ าติ เหลา น้ี ถว่ั เหลือง เหลา นี้ งา เหลา นี้ ขา วสาร
ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ฉันน้นั น่ันแล ภกิ ษุ (ยอ ม-
เอวะเมวะ โข ภกิ ขะเว ภกิ ขุ พจิ ารณา) กายน้ีน่ีแล เบ้อื งบนแตพ นื้ เทา ขึ้นมา
อมิ ะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา
อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตงั เบ้อื งตา่ํ แตปลายผมลงไป มีหนังหุม อยโู ดยรอบ
ปรู นั นานัปปะการสั สะ อะสุจิโน เต็มไปดวยของไมสะอาด มีประการตางๆ
ปัจจะเวกขะต ิ อตั ถ ิ อมิ ัสฺมงิ กาเย: พิจารณาวา มอี ยูใ นกายน้คี ือ:
เกสา โลมา นะขา ทนั ตา ตะโจ ผม ขน เล็บ ฟน หนงั
มงั สงั นะหารู อัฏฐี อัฎฐิมญิ ชงั วักกงั เนือ้ เอน็ กระดกู เยือ่ ในกระดกู ไต
หะทะยัง ยะกะนงั กโิ ลมะกงั ปหิ ะกงั ปปั ผาสงั หวั ใจ ตบั พงั ผดื มา ม ปอด
อนั ตงั อันตะคุณงั อุทะริยงั กะรีสงั ไสใหญ สายรดั ไส อาหารใหม อาหารเกา

8 มหาสติปัฏฐานสตู ร น้ําดี นา้ํ เสลด นา้ํ เหลอื ง น้ําเลอื ด
นํ้าเหงือ่ นา้ํ มันขน น้ําตา นา้ํ มันเหลว
ปติ ตงั เสมหัง ปพุ โพ โลหติ ัง นํา้ ลาย นา้ํ มูก น้ํามนั ไขขอ นาํ้ มตู ร ดงั น.ี้
เสโท เมโท อัสส ุ วะสา [J ภกิ ษยุ อมพจิ ารณาเห็นกายในกาย-
เขโฬ สิงฆาณกิ า ละสิกา มตุ ตันต ิ ฯ เปน ภายในบา ง
[J อิต ิ อัชฌัตตงั วา กาเย ยอ มพจิ ารณาเห็นกายในกาย-
กายานปุ ัสสี วิหะระติ เปน ภายนอกบา ง
พะหทิ ธา วา กาเย ยอ มพิจารณาเห็นกายในกาย-
กายานุปสั สี วหิ ะระติ ทัง้ ภายในภายนอกบาง
อชั ฌตั ตะพะหิทธา วา ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
กาเย กายานุปสั ส ี วิหะระติ คอื ความเกิดข้ึนในกายบาง
สะมุทะยะธัมมานปุ ัสส ี วา ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา-
กายัสมฺ ิง วหิ ะระติ คอื ความเสื่อมไปในกายบาง
วะยะธมั มานปุ ัสส ี วา ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
กายัสมฺ งิ วหิ ะระติ คอื ท้งั ความเกดิ ข้ึน ทัง้ ความเส่อื มไปในกายบาง.
สะมทุ ะยะวะยะธัมมานปุ สั สี วา กห็ รอื สติของเธอน้นั ทต่ี ั้งมนั่ อยู-
กายสั ฺมิง วหิ ะระติ ฯ วา ”กายมอี ยู„
‘อตั ถิ กาโยต ิ วา ปะนสั สะ เพยี งเพอ่ื ญาณคอื ความรู
สะติ ปัจจปุ ฏั ฐติ า โหติ เพยี งเพอ่ื เปน ทีอ่ าศัยระลกึ .
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ เธอยอ มเปน ผอู ันตัณหาและทิฐิไมอาศยั อยูด วย
ปะฏิสสะติมตั ตายะ ฯ ยอมไมย ึดถืออะไรๆ ในโลกดว ย.
อะนิสสโิ ต จะ วิหะระติ ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย ภิกษุ-
นะ จะ กิญจ ิ โลเก อุปาทยิ ะต ิ ฯ ยอมตามพิจารณาเหน็ กายในกายอยูอ ยางนี.้ ]
เอวัมป ิ ภกิ ขะเว ภิกขุ
กาเย กายานปุ ัสสี วิหะระติ ฯ]

ธาตุมนสกิ าร : พจิ ารณากายเปน ธาตุ

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภกิ ขุ ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ขออื่นยังมอี ยอู ีก
อมิ ะเมวะ กายัง ยะถาฐิตัง ภกิ ษุยอมพจิ ารณากายอันตง้ั อยู ตามทตี่ ัง้ อย-ู
ยะถาปะณิหิตงั ธาตโุ ส ปจั จะเวกขะติ ตามปกตนิ น้ี ่ีแล โดยความเปนธาตุวา
อัตถ ิ อมิ สั มฺ งิ กาเย: ปะฐะวธี าต ุ อาโปธาตุ มอี ยใู นกายนค้ี ือ: ธาตุดิน ธาตุน้าํ
เตโชธาต ุ วาโยธาตตู ิ ฯ ธาตไุ ฟ ธาตุลม ดงั นี้

มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร 9

เสยยะถาป ิ ภิกขะเว ทกั โข โคฆาตะโก วา ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย คนฆาโค ผูฉ ลาด
โคฆาตะกันเตวาสี วา หรอื ลูกมือคนฆาโค ผูฉลาด
คาวิง วะธติ วฺ า จาตุมมะหาปะเถ วิละโส ฆาโคแลว พงึ แบงออกเปน สวนๆ
ปะฏวิ ิภะชติ วฺ า นสิ ินโน อสั สะ แลวนัง่ อยูทห่ี นทางใหญ ๔ แพรง แมฉนั ใด,
เอวะเมวะ โข ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ภิกษุ ฉนั นน้ั นัน่ แล
อิมะเมวะ กายัง ยะถาฐติ งั ยอมพจิ ารณากาย อนั ตงั้ อยู ตามทต่ี งั้ อย-ู
ยะถาปะณหิ ิตัง ธาตุโส ปจั จะเวกขะติ ตามปกติน้ีน่แี ล โดยความเปนธาตุวา
อตั ถิ อมิ สั ฺมิง กาเย: ปะฐะวีธาต ุ อาโปธาตุ มีอยูในกายนคี้ ือ: ธาตดุ นิ ธาตุน้ํา
เตโชธาตุ วาโยธาตตู ิ ฯ [J อติ ิ...] ธาตไุ ฟ ธาตุลม ดงั น้ี. [J...]

นวสวี ถกิ า : พจิ ารณากายดจุ อสุภะในปาชา ๙ ขอ

ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภกิ ขุ ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย ขออ่ืนยงั มีอยูอกี ภกิ ษุ

เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง เหมือนอยา งวา จะพงึ เห็นสรีระ (ซากศพ)

สีวะถกิ ายะ ฉฑั ฑติ งั : ทเี่ ขาทงิ้ ไวแลวในปาชา :

๑) เอกาหะมะตัง วา ทวฺ หี ะมะตัง วา ๑) ตายแลว วันหนึ่ง หรอื ตายแลว ๒ วัน
หรือตายแลว ๓ วัน พองขน้ึ อืด
ตหี ะมะตงั วา อทุ ธุมาตะกัง
สเี ขยี วคลาํ้ นา เกลยี ด มนี าํ้ เหลอื งไหลเยม้ิ นา เกลยี ด
วินีละกงั วปิ ุพพะกะชาตงั ฯ
[N โส อมิ ะเมวะ กายงั อปุ ะสงั หะระติ [N เธอกน็ อ มเขามาสกู ายนีน้ เ่ี ลา วา :
‘อะยมั ปิ โข กาโย เอวังธมั โม ”ถึงรางกายอันนเี้ ลา กม็ ีอยา งนี้เปนธรรมดา

เอวงั ภาวี เอวังอะนะตีโตต ิ ฯ] คงเปน อยา งน้ี ไมล ว งพน ความเปน อยา งนไ้ี ปได„ ดงั น.้ี ]
[J...]
[J อิติ...]
ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ขอ อืน่ ยงั มีอยูอกี ภิกษุ
ปุนะ จะปะรงั ภิกขะเว ภิกขุ
เหมอื นอยางวา จะพงึ เหน็ สรีระ (ซากศพ)
เสยยะถาป ิ ปสั เสยยะ สะรรี งั
ท่เี ขาทิ้งไวแลวในปา ชา :
สวี ะถิกายะ ฉฑั ฑิตงั :
๒) กาเกห ิ วา ขชั ชะมานงั คชิ เฌห ิ วา ขชั ชะ ๒) อนั ฝงู กาจกิ กนิ อยูบ า ง ฝูงแรง จกิ กินอยูบาง
มานัง กุละเลหิ วา ขัชชะมานงั สุวาเณห ิ วา ฝูงเหย่ยี วจกิ กนิ อยบู าง ฝูงสนุ ัขกัดกนิ อยบู า ง
ขัชชะมานงั สิงคาเลห ิ วา ขชั ชะมานงั ฝูงสุนัขจง้ิ จอกกดั กินอยูบ าง
วิวิเธห ิ วา ปาณะกะชาเตหิ ขชั ชะมานงั ฯ หมูสตั วต ัวเล็กๆ ตางๆ กัดกินอยูบาง
[N] [J...]
[N โส...][J อิต.ิ ..]

10 มหาสติปฏั ฐานสูตร

ปนุ ะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ขออื่นยงั มอี ยูอกี ภิกษุ
เสยยะถาป ิ ปัสเสยยะ สะรีรงั เหมอื นอยางวา จะพึงเห็นสรรี ะ (ซากศพ)
สวี ะถิกายะ ฉฑั ฑิตงั : ท่ีเขาท้งิ ไวแลวในปา ชา :
๓) อฏั ฐสิ งั ขะลิกัง สะมังสะโลหติ ัง
นะหารุสมั พนั ธงั ฯ ๓) เปน รางกระดกู ยังมเี นื้อและเลอื ด
๔) อัฏฐสิ งั ขะลกิ งั นิมมังสะโลหติ ะมกั ขติ ัง
นะหารุสัมพันธัง ฯ อันเสนเอ็นรัดรงึ อยู
๕) อฏั ฐสิ ังขะลกิ งั อะปะคะตะมังสะโลหิตัง
นะหารสุ มั พนั ธัง ฯ ๔) เปนรา งกระดกู เปอ นดวยเลอื ด ปราศจากเนือ้ แลว
๖) อฏั ฐกิ าน ิ อะปะคะตะนะหารสุ มั พนั ธานิ
ทสิ าวทิ สิ าวกิ ขติ ตาน ิ อัญเญนะ หัตถฏั ฐกิ งั ยงั มเี สน เอน็ รัดรงึ อยู
อัญเญนะ ปาทฏั ฐิกัง อญั เญนะ ชังฆฏั ฐิกัง
อญั เญนะ อูรุฏฐิกงั อัญเญนะ กะฏฏิ ฐกิ ัง ๕) เปน รางกระดูก ปราศจากเน้ือและเลือดแลว
อญั เญนะ ปฏิ ฐกิ ณั ฏะกฏั ฐกิ งั
อัญเญนะ ผาสุกฏั ฐกิ ัง อญั เญนะ อรุ ัฏฐิกงั ยงั มเี สน เอ็นรัดรึงอยู
อญั เญนะ พาหฏุ ฐกิ งั อัญเญนะ องั สัฏฐิกัง ๖) เปน (ทอน) กระดกู ปราศจากเสน เอ็นรัดรงึ แลว
อญั เญนะ ควี ัฏฐิกงั อญั เญนะ หะนุฏฐิกัง กระจายไปแลวในทิศนอยทศิ ใหญ คือ กระดูกมือ
(ไปอยู) ทางอ่นื กระดกู เทา (ไปอยู) ทางอ่ืน กระดูกแขง
อญั เญนะ ทันตฏั ฐกิ งั อัญเญนะ สีสะกะฏาหัง ฯ (ไปอยู) ทางอ่นื กระดูกขา (ไปอย)ู ทางอ่นื กระดกู สะเอว
(ไปอยู) ทางอื่น กระดกู สันหลัง (ไปอย)ู ทางอื่น
[N โส...][J อิต.ิ ..] กระดกู ซโี่ ครง (ไปอย)ู ทางอ่นื กระดกู หนา อก (ไปอย)ู
ปุนะ จะปะรัง ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ทางอนื่ กระดูกแขน (ไปอยู) ทางอ่นื กระดกู ไหล (ไป
เสยยะถาปิ ปสั เสยยะ สะรรี งั อย)ู ทางอื่น กระดูกคอ (ไปอย)ู ทางอ่นื กระดกู คาง (ไป
สีวะถิกายะ ฉฑั ฑิตงั : อยู) ทางอน่ื กระดูกฟน (ไปอยู) ทางอืน่ กระโหลกศีรษะ
(ไปอยู) ทางอน่ื . [N….] [J]
๗) อัฏฐิกาน ิ เสตาน ิ สังขะวณั ณุปะนิภาน ิ ฯ
๘) อัฏฐิกานิ ปุญชะกติ านิ เตโรวัสสกิ าน ิ ฯ ดูกอนภกิ ษุทั้งหลาย ขออน่ื ยงั มอี ยูอ กี ภกิ ษุ
๙) อัฏฐกิ าน ิ ปูตีนิ จุณณะกะชาตานิ ฯ เหมอื นอยา งวา จะพึงเห็นสรีระ (ซากศพ)
[N โส อิมะเมวะ กายงั อปุ ะสงั หะระติ ทเ่ี ขาทิ้งไวแ ลวในปาชา :

‘อะยัมป ิ โข กาโย เอวังธมั โม ๗) เปน (ทอน) กระดูก มสี ขี าวเปรยี บดว ยสีสงั ข.
เอวงั ภาวี เอวังอะนะตโี ตต ิ ฯ] ๘) เปน (ทอน) กระดูก ทรี่ วมอยเู ปนกอง เกินปหนงึ่
[J อิติ อัชฌตั ตัง วา กาเย ๙) เปน (ทอ น) กระดกู ผลุ ะเอียดแลว .
กายานุปัสสี วิหะระติ
พะหิทธา วา กาเย [N เธอก็นอมเขา มาสูกายน้ีนี่เลา วา:
”ถึงรา งกายอันน้เี ลา กม็ ีอยา งนเ้ี ปนธรรมดา

คงเปน อยา งนี้ ไมล ว งพน ความเปน อยา งนไ้ี ปได„ ดงั น.ี้ ]

[J ภิกษุยอ มพจิ ารณาเห็นกายในกาย-
เปนภายในบา ง
ยอ มพจิ ารณาเหน็ กายในกาย-

มหาสตปิ ัฏฐานสูตร 11

กายานปุ สั สี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบา ง
อชั ฌัตตะพะหิทธา วา กาเย ยอมพิจารณาเห็นกายในกาย-
กายานุปสั ส ี วิหะระติ ท้ังภายในภายนอกบา ง
สะมทุ ะยะธัมมานปุ ัสสี วา ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
กายัสมฺ ิง วิหะระติ คอื ความเกิดข้นึ ในกายบาง
วะยะธมั มานุปัสสี วา ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมดา-
กายสั มฺ งิ วิหะระติ คือความเส่ือมไปในกายบา ง
สะมทุ ะยะวะยะธัมมานุปสั ส ี วา ยอมพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
กายัสฺมงิ วหิ ะระต ิ ฯ คอื ทัง้ ความเกิดขึ้น ทงั้ ความเส่อื มไปในกายบา ง.
‘อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ ก็หรือสติของเธอน้นั ที่ตั้งม่นั อย-ู
สะติ ปจั จปุ ฏั ฐิตา โหติ วา ”กายมีอย„ู
ยาวะเทวะ ญาณะมตั ตายะ เพยี งเพื่อญาณคือความรู
ปะฏสิ สะตมิ ัตตายะ ฯ เพยี งเพื่อเปนทีอ่ าศัยระลึก.
อะนสิ สโิ ต จะ วหิ ะระติ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
นะ จะ กญิ จิ โลเก อปุ าทยิ ะติ ฯ ยอ มไมยึดถืออะไรๆ ในโลกดว ย.
เอวัมป ิ (โข) ภกิ ขะเว ภกิ ข ุ ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษ-ุ
กาเย กายานปุ ัสสี วิหะระติ ฯ] ยอ มตามพจิ ารณาเหน็ กายในกายอยอู ยางน.้ี ]

เวทนานปุ ัสสนา

กะถัญจะ ภิกขะเว ภกิ ขุ ดูกอ นภิกษทุ ง้ั หลาย กอ็ ยา งไร ภิกษุ
เวทะนาส ุ เวทะนานุปัสสี วิหะระต ิ ฯ ยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนอื งๆ อย.ู
อิธะ ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย ภิกษุในธรรมวนิ ัยน้ี
สุขัง เวทะนัง เวทยิ ะมาโน เมื่อเสวยสขุ เวทนา
‘สุขัง เวทะนัง เวทิยามีติ ปะชานาติ ก็รชู ดั วา ”เราเสวยสขุ เวทนา„.
ทกุ ขัง เวทะนงั เวทยิ ะมาโน เมอื่ เสวยทกุ ขเวทนา
‘ทุกขัง เวทะนัง เวทิยามตี ิ ปะชานาติ ก็รชู ดั วา ”เราเสวยทกุ ขเวทนา„.
อะทกุ ขะมะสขุ งั เวทะนัง เวทิยะมาโน เมอ่ื เสวยอทุกขมสขุ เวทนา (ไมทุกข ไมส ุข)
ก็รูช ดั วา ”เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา„.
‘อะทกุ ขะมะสขุ ัง เวทะนัง เวทิยามีต ิ ปะชานาติ หรือเมอื่ เสวยสขุ เวทนามีอามสิ (คอื เจือกามคุณ)
กร็ ชู ดั วา ”เราเสวยสุขเวทนามอี ามิส„.
สามสิ ัง วา สขุ ัง เวทะนงั เวทยิ ะมาโน
‘สามสิ งั สขุ งั เวทะนงั เวทยิ ามตี ิ ปะชานาติ

12 มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร

นิรามิสัง วา สขุ ัง เวทะนัง เวทยิ ะมาโน หรอื เมอ่ื เสวยสขุ เวทนาไมม อี ามสิ (คอื ไมเ จอื กามคณุ )
‘นริ ามสิ งั สขุ งั เวทะนงั เวทยิ ามตี ิ ปะชานาติ กร็ ชู ัดวา ”เราเสวยสุขเวทนาไมมีอามสิ „.
สามิสัง วา ทกุ ขงั เวทะนงั เวทิยะมาโน หรอื เม่อื เสวยทกุ ขเวทนามีอามิส
‘สามสิ งั ทกุ ขงั เวทะนงั เวทยิ ามตี ิ ปะชานาติ กร็ ชู ัดวา ”เราเสวยทกุ ขเวทนามอี ามสิ „.
นริ ามสิ ัง วา ทกุ ขัง เวทะนงั เวทิยะมาโน หรือเมอื่ เสวยทุกขเวทนาไมม อี ามิส
‘นริ ามสิ งั ทกุ ขงั เวทะนงั เวทยิ ามตี ิ ปะชานาติ ก็รูชัดวา ”เราเสวยทกุ ขเวทนาไมม ีอามิส„.
สามสิ งั วา อะทุกขะมะสขุ ัง เวทะนัง เวทยิ ะมาโน หรอื เมื่อเสวยอทกุ ขมสุขเวทนามีอามิส
‘สามสิ ัง อะทกุ ขะมะสขุ งั เวทะนัง ก็รูช ัดวา ”เราเสวย-
เวทิยามีติ ปะชานาติ อทกุ ขมสขุ เวทนามีอามสิ „.
นิรามิสงั วา อะทุกขะมะสุขัง เวทะนัง หรือเมอ่ื เสวย-
เวทิยะมาโน อทุกขมสขุ เวทนาไมม ีอามิส
‘นิรามิสงั อะทุกขะมะสุขัง เวทะนัง ก็รชู ัดวา ”เราเสวย-
เวทยิ ามตี ิ ปะชานาต ิ ฯ ”อทกุ ขมสุขเวทนาไมม อี ามิส„ ดงั นี.้
✿ อติ ิ อชั ฌตั ตัง วา เวทะนาสุ ✿ ภิกษุพจิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลาย-
เวทะนานุปัสส ี วิหะระติ เปน ภายในบาง
พะหิทธา วา เวทะนาสุ ยอมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้ังหลาย-
เวทะนานุปัสสี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบาง
อัชฌตั ตะพะหทิ ธา วา เวทะนาสุ ยอ มพจิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนาทัง้ หลาย-
เวทะนานปุ สั สี วิหะระติ ทั้งภายในภายนอกบาง
สะมทุ ะยะธัมมานุปสั สี วา ยอ มพิจารณาเห็นธรรมดา-
เวทะนาสุ วหิ ะระติ คอื ความเกิดขนึ้ ในเวทนาบา ง
วะยะธมั มานุปัสสี วา ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา-
เวทะนาสุ วหิ ะระติ คือความเสื่อมไปในเวทนาบาง
สะมุทะยะวะยะธมั มานุปัสสี วา ยอ มพิจารณาเห็นธรรมดา-
เวทะนาส ุ วหิ ะระติ ฯ คอื ทั้งความเกดิ ขน้ึ ท้ังความเสอื่ มไปในเวทนาบาง.
‘อตั ถิ เวทะนาติ วา ปะนสั สะ ก็หรอื สติของเธอน้นั ท่ีตัง้ มนั่ อย-ู
สะต ิ ปัจจปุ ัฏฐติ า โหติ วา ”เวทนามอี ย„ู
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ เพียงเพื่อญาณคอื ความรู
ปะฏิสสะตมิ ตั ตายะ ฯ เพียงเพอื่ เปนท่อี าศัยระลกึ .
อะนสิ สโิ ต จะ วหิ ะระติ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
นะ จะ กญิ จ ิ โลเก อปุ าทิยะติ ฯ ยอ มไมยึดถืออะไรๆ ในโลกดวย.
เอวัง โข ภกิ ขะเว ภิกขุ ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย ภิกษยุ อมตาม-
เวทะนาสุ เวทะนานปุ สั สี วหิ ะระติ ฯ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทงั้ หลายอยูอยา งน.้ี

มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร 13

จิตตานปุ ัสสนา

กะถัญจะ ภิกขะเว ภกิ ขุ ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย ก็อยา งไร ภกิ ษุ
จิตเต จติ ตานุปสั สี วิหะระติ ฯ ยอมพจิ ารณาเหน็ จิตในจิตเนืองๆ อย.ู
อธิ ะ ภิกขะเว ภกิ ขุ ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ภิกษใุ นธรรมวินยั นี้
สะราคงั วา จติ ตงั อนงึ่ จติ มีราคะ
‘สะราคงั จิตตนั ติ ปะชานาติ ก็รูชดั วา ”จติ มรี าคะ„.
วีตะราคัง วา จติ ตัง หรอื จิตไมมีราคะ
‘วีตะราคัง จิตตนั ต ิ ปะชานาติ ก็รชู ัดวา ”จติ ไมม ีราคะ„.
สะโทสงั วา จติ ตัง หรือจิตมีโทสะ
‘สะโทสงั จติ ตันติ ปะชานาติ ก็รูช ัดวา ”จิตมโี ทสะ„.
วีตะโทสงั วา จิตตงั หรือจติ ไมม โี ทสะ
‘วีตะโทสัง จติ ตนั ต ิ ปะชานาติ ก็รชู ดั วา ”จติ ไมม โี ทสะ„.
สะโมหงั วา จิตตงั หรอื จิตมโี มหะ
‘สะโมหงั จิตตนั ติ ปะชานาติ กร็ ชู ัดวา ”จิตมีโมหะ„.
วตี ะโมหัง วา จิตตัง หรอื จิตไมม ีโมหะ
‘วีตะโมหัง จติ ตันต ิ ปะชานาติ ก็รูช ัดวา ”จติ ไมม โี มหะ„.
สังขิตตงั วา จติ ตัง หรือจิตหดหู
‘สงั ขิตตัง จติ ตนั ติ ปะชานาติ ก็รชู ัดวา ”จติ หดหู„.
วกิ ขติ ตงั วา จติ ตงั หรอื จติ ฟงุ ซา น
‘วิกขติ ตัง จิตตันต ิ ปะชานาติ กร็ ูช ดั วา ”จติ ฟุงซา น„.
มะหัคคะตัง วา จิตตงั
‘มะหคั คะตงั จิตตันติ ปะชานาติ หรอื จติ เปน มหัคคตะ (คอื จติ ทเี่ ปนรูปฌาน อรูปฌาน)
อะมะหัคคะตัง วา จิตตัง
‘อะมะหัคคะตัง จิตตนั ติ ปะชานาติ กร็ ชู ดั วา ”จติ เปน มหคั คตะ„.
สะอตุ ตะรัง วา จติ ตัง จิตไมเปน มหคั คตะ
‘สะอตุ ตะรงั จติ ตนั ติ ปะชานาติ ก็รูช ดั วา ”จติ ไมเปน มหคั คตะ„.
อะนตุ ตะรงั วา จิตตัง หรอื จติ เปน สอตุ ตระ (คือมจี ติ อื่นยิง่ กวา)
‘อะนุตตะรงั จติ ตนั ติ ปะชานาติ กร็ ูชัดวา ”จิตเปนสอุตตระ„.
สะมาหิตัง วา จิตตงั หรอื จิตเปน อนุตตระ (คอื ไมมจี ิตอ่นื ยิ่งกวา)
‘สะมาหติ งั จิตตนั ต ิ ปะชานาติ ก็รูช ดั วา ”จติ เปนอนตุ ตระ„.
หรอื จติ ตงั้ มน่ั
ก็รูชดั วา ”จติ ต้งั ม่นั „.

14 มหาสติปัฏฐานสตู ร

อะสะมาหิตัง วา จติ ตัง หรอื จิตไมต้งั มน่ั
‘อะสะมาหิตัง จิตตันติ ปะชานาติ กร็ ชู ดั วา ”จติ ไมตงั้ มั่น„.
วมิ ุตตงั วา จติ ตัง หรือจติ วมิ ุตติ (คือหลดุ พนดว ยตทงั ควมิ ุตติ
‘วิมตุ ตัง จิตตันต ิ ปะชานาติ หรอื วกิ ขมั ภนวมิ ตุ ติ) ก็รูชัดวา ”จติ วิมุตติ„.
อะวมิ ุตตัง วา จติ ตัง หรอื จติ ยังไมว ิมุตติ
‘อะวิมตุ ตัง จิตตนั ต ิ ปะชานาติ ฯ ก็รชู ดั วา ”จิตยังไมวมิ ุตติ„ ดงั น.ี้
¤ อติ ิ อัชฌัตตัง วา จติ เต ¤ ภิกษุยอมพจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ -
จิตตานปุ ัสส ี วหิ ะระติ เปนภายในบาง
พะหทิ ธา วา จติ เต ยอ มพิจารณาเหน็ จติ ในจติ -
จติ ตานปุ ัสสี วหิ ะระติ เปนภายนอกบา ง
อชั ฌตั ตะพะหิทธา วา ยอมพจิ ารณาเห็นจิตในจติ -
จิตเต จติ ตานุปัสส ี วหิ ะระติ ทั้งภายในภายนอกบา ง
สะมุทะยะธัมมานปุ ัสส ี วา ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมดา-
จติ ตัสมฺ งิ วิหะระติ คือความเกดิ ข้ึนในจติ บาง
วะยะธัมมานปุ ัสสี วา ยอมพิจารณาเหน็ ธรรมดา-
จิตตัสมฺ งิ วหิ ะระติ คือความเสื่อมไปในจิตบา ง.
สะมุทะยะวะยะธมั มานปุ ัสสี วา ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
จิตตัสมฺ งิ วิหะระติ ฯ คือทั้งความเกิดขนึ้ ท้ังความเสอื่ มไปในจิตบา ง.
‘อตั ถ ิ จิตตนั ต ิ วา ปะนัสสะ ก็หรือสตขิ องเธอนน้ั ท่ีตั้งมน่ั อยู-
สะต ิ ปจั จุปัฏฐิตา โหติ วา ”จติ มอี ยู„
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ เพยี งเพื่อญาณคือความรู
ปะฏิสสะตมิ ัตตายะ ฯ เพียงเพอ่ื เปนท่อี าศัยระลึก.
อะนสิ สโิ ต จะ วิหะระติ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
นะ จะ กญิ จิ โลเก อปุ าทยิ ะติ ฯ ยอ มไมยดึ ถอื อะไรๆ ในโลกดวย.
เอวงั โข ภิกขะเว ภกิ ขุ ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ภิกษ-ุ
จติ เต จิตตานปุ ัสสี วหิ ะระต ิ ฯ ยอมตามพจิ ารณาเห็นจิตในจติ อยูอยางนี้

ธมั มานุปสั สนา

นิวรณหา

กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ก็อยา งไร ภิกษุ-
ธัมเมสุ ธมั มานุปัสสี วิหะระติ ฯ ยอ มพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนอื งๆ อยู.

มหาสติปัฏฐานสูตร 15

อธิ ะ ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ภกิ ษใุ นธรรมวินยั นี้
ยอ มตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย
ธมั เมสุ ธัมมานุปัสส ี วหิ ะระติ คือ นิวรณ ๕.

ปญั จะส ุ นวี ะระเณส ุ ฯ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย กอ็ ยางไร ภกิ ษุ

กะถญั จะ ภิกขะเว ภิกขุ ยอมตามพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย

ธัมเมส ุ ธมั มานปุ ัสสี วิหะระติ คือ นิวรณ ๕

ปญั จะส ุ นวี ะระเณสุ ฯ ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยน้ี

อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
๑) สันตัง วา อัชฌตั ตัง กามจั ฉนั ทงั ๑) เมื่อกามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม) มใี นจิต
‘อัตถิ เม อัชฌัตตงั กามจั ฉนั โทต ิ ปะชานาติ ยอ มรชู ัดวา “กามฉันทะมีอยู ภายในจิตของเรา„.
หรือเมอื่ กามฉันทะไมม ี ภายในจิต
อะสันตงั วา อัชฌตั ตัง กามจั ฉันทงั

‘นตั ถ ิ เม อชั ฌัตตงั กามจั ฉันโทต ิ ปะชานาติ ยอมรชู ดั วา ”กามฉันทะไมมี ภายในจติ ของเรา„.
ยะถา จะ อะนปุ ปนั นัสสะ กามจั ฉันทสั สะ อน่งึ กามฉนั ทะท่ยี ังไมเ กดิ ขน้ึ ยอมเกิดข้นึ ได-
อุปปาโท โหติ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอมรชู ัดประการน้นั ดว ย.
ยะถา จะ อุปปนั นัสสะ กามัจฉันทสั สะ กามฉนั ทะทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว จะละเสยี ได-
ปะหานัง โหต ิ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอ มรูชดั ประการน้นั ดวย.
ยะถา จะ ปะหีนสั สะ กามจั ฉนั ทัสสะ กามฉันทะที่ตนละเสยี แลว จะไมเ กดิ ข้ึนตอไปได-
อายะตงิ อะนุปปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาต ิ ฯ โดยประการใด ยอมรูชดั ประการน้นั ดวย.
๒) สันตัง วา อชั ฌัตตงั พฺยาปาทงั ๒) เม่ือพยาบาท (ความขดั เคืองใจ) มีในจิต
‘อัตถ ิ เม อัชฌตั ตงั พยฺ าปาโทติ ปะชานาติ ยอมรูชัดวา ”พยาบาทมอี ยู ภายในจติ ของเรา„.
อะสนั ตัง วา อัชฌัตตงั พฺยาปาทัง หรือเมอ่ื พยาบาทไมม ี ภายในจิต
‘นัตถิ เม อชั ฌัตตัง พฺยาปาโทติ ปะชานาติ ยอมรูชัดวา ”พยาบาทไมมี ภายในจติ ของเรา„.
ยะถา จะ อะนปุ ปันนสั สะ พฺยาปาทัสสะ อนง่ึ พยาบาททย่ี ังไมเ กิดข้นึ ยอมเกดิ ขึน้ ได-
อปุ ปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอมรชู ัดประการนน้ั ดว ย.
ยะถา จะ อปุ ปนั นสั สะ พยฺ าปาทสั สะ พยาบาทที่เกิดข้ึนแลว จะละเสยี ได-
ปะหานัง โหติ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอมรชู ดั ประการน้ันดวย.
ยะถา จะ ปะหีนสั สะ พฺยาปาทัสสะ พยาบาททีต่ นละเสียแลว จะไมเกดิ ขน้ึ ตอ ไปได-
อายะตงิ อะนปุ ปาโท โหติ ตญั จะ ปะชานาต ิ ฯ โดยประการใด ยอ มรชู ัดประการนน้ั ดวย.
๓) สนั ตงั วา อัชฌตั ตัง ถีนะมทิ ธงั ๓) เมอื่ ถีนมิทธะ (ความทอ แท) มใี นจิต
‘อตั ถิ เม อัชฌัตตงั ถีนะมทิ ธันติ ปะชานาติ ยอ มรูช ดั วา ”ถนี มทิ ธะมอี ยู ภายในจติ ของเรา„.
อะสันตัง วา อัชฌัตตงั ถนี ะมิทธัง หรือเม่ือถนี มิทธะไมม ี ภายในจิต
‘นัตถิ เม อชั ฌัตตัง ถีนะมิทธันติ ปะชานาติ ยอมรูชัดวา “ถนี มทิ ธะไมมี ภายในจติ ของเรา„.

16 มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร

ยะถา จะ อะนุปปันนัสสะ ถนี ะมทิ ธสั สะ อน่งึ ถีนมิทธะที่ยงั ไมเ กดิ ขึ้น ยอ มเกดิ ขึน้ ได-
อุปปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอมรูชดั ประการน้นั ดวย.
ยะถา จะ อุปปันนสั สะ ถนี ะมทิ ธสั สะ ถนี มทิ ธะที่เกิดขน้ึ แลว จะละเสียได-
ปะหานงั โหติ ตัญจะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอมรชู ัดประการน้นั ดวย.
ยะถา จะ ปะหนี ัสสะ ถีนะมทิ ธสั สะ ถีนมิทธะทต่ี นละเสียแลว จะไมเ กิดขึน้ ตอไปได-
อายะติง อะนปุ ปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาต ิ ฯ โดยประการใด ยอ มรูช ดั ประการนน้ั ดว ย.
๔) สนั ตงั วา อัชฌัตตงั อทุ ธัจจะกุกกุจจงั ๔) เมอื่ อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะ (ความฟงุ ซา นราํ คาญใจ) มใี นจติ

‘อตั ถ ิ เม อชั ฌัตตัง อทุ ธจั จะกกุ กุจจันติ ปะชานาติ ยอ มรชู ดั วา ”อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะมอี ยู ภายในจติ ของเรา„
อะสันตัง วา อัชฌัตตัง อุทธัจจะกกุ กจุ จงั หรือเมื่ออุทธจั จะกกุ กจุ จะไมม ี ภายในจิต
‘นัตถ ิ เม อัชฌัตตงั อุทธจั จะกุกกจุ จันติ ปะชานาติ ยอ มรชู ดั วา ”อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะไมม ี ภายในจติ ของเรา„

ยะถา จะ อะนปุ ปันนสั สะ อุทธจั จะกกุ กุจจัสสะ อนง่ึ อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะทย่ี งั ไมเ กดิ ขนึ้ ยอ มเกดิ ขนึ้ ได-
โดยประการใด ยอมรูช ดั ประการนัน้ ดวย.
อุปปาโท โหต ิ ตัญจะ ปะชานาติ
ยะถา จะ อุปปันนสั สะ อทุ ธัจจะกกุ กุจจสั สะ อุทธจั จะกุกกุจจะทีเ่ กดิ ขน้ึ แลว จะละเสียได-
ปะหานัง โหติ ตญั จะ ปะชานาติ โดยประการใด ยอ มรชู ัดประการน้ันดวย.
ยะถา จะ ปะหนี ัสสะ อทุ ธัจจะกกุ กุจจสั สะ อทุ ธจั จะกกุ กจุ จะทตี่ นละเสยี แลว จะไมเ กดิ ขนึ้ ตอ ไป-
อายะตงิ อะนุปปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาต ิ ฯ ไดโดยประการใด ยอ มรชู ัดประการนนั้ ดว ย.
๕) สันตัง วา อัชฌตั ตงั วิจิกิจฉัง
๕) เม่ือวจิ ิกิจฉา (ความเคลือบแคลงสงสยั ) มใี นจิต

‘อัตถ ิ เม อัชฌตั ตัง วิจิกิจฉาติ ปะชานาติ ยอ มรูช ดั วา ”วิจกิ ิจฉามอี ยู ภายในจิตของเรา„.
อะสันตัง วา อชั ฌตั ตัง วิจิกิจฉงั หรอื เม่อื วิจิกจิ ฉาไมมี ภายในจิต
‘นตั ถิ เม อชั ฌัตตัง วิจกิ จิ ฉาต ิ ปะชานาติ ยอมรชู ดั วา ”วิจกิ ิจฉาไมมี ภายในจติ ของเรา„.
ยะถา จะ อะนุปปนั นายะ วจิ ิกิจฉายะ อน่ึง วิจิกจิ ฉาทีย่ ังไมเกิดขึ้น ยอ มเกิดข้ึนได-
โดยประการใด ยอ มรูช ัดประการนนั้ ดวย.
อปุ ปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาติ วจิ ิกจิ ฉาทีเ่ กิดขนึ้ แลว จะละเสยี ได-

ยะถา จะ อุปปนั นายะ วิจิกจิ ฉายะ โดยประการใด ยอ มรูชดั ประการนั้นดว ย.

ปะหานงั โหติ ตัญจะ ปะชานาติ วิจิกิจฉาที่ตนละเสยี แลว จะไมเกิดขน้ึ ตอไปได-

ยะถา จะ ปะหนี ายะ วิจิกิจฉายะ
อายะตงิ อะนปุ ปาโท โหต ิ ตัญจะ ปะชานาต ิ ฯ โดยประการใด ยอ มรชู ดั ประการนนั้ ดว ย ดงั น้ี.

] อติ ิ อชั ฌตั ตงั วา ธมั เมสุ ] ภกิ ษยุ อ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทงั้ หลาย-

ธมั มานุปัสส ี วิหะระติ เปนภายในบา ง
ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้ังหลาย-
พะหิทธา วา ธัมเมสุ เปน ภายนอกบาง

ธมั มานุปัสสี วหิ ะระติ ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้ังหลาย-

อัชฌัตตะพะหทิ ธา วา

มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร 17

ธัมเมสุ ธัมมานปุ สั สี วหิ ะระติ ท้ังภายในภายนอกบาง
สะมทุ ะยะธัมมานุปัสสี วา ยอมพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
ธัมเมส ุ วหิ ะระติ คือความเกิดขนึ้ ในธรรมบา ง
วะยะธัมมานปุ สั สี วา ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
ธมั เมส ุ วหิ ะระติ คือความเสื่อมไปในธรรมบาง
สะมทุ ะยะวะยะธมั มานปุ ัสส ี วา ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
ธมั เมสุ วิหะระต ิ ฯ คอื ทง้ั ความเกดิ ขน้ึ ทง้ั ความเสอื่ มไปในธรรมบา ง.
‘อัตถิ ธัมมาต ิ วา ปะนัสสะ กห็ รอื สติของเธอนั้นที่ต้ังมัน่ อยู-
สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ วา ”ธรรมมอี ย„ู
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ เพยี งเพอ่ื ญาณคอื ความรู
ปะฏิสสะติมัตตายะ ฯ เพียงเพือ่ เปนท่ีอาศัยระลึก.
อะนสิ สโิ ต จะ วิหะระติ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทยิ ะต ิ ฯ ยอ มไมยึดถืออะไรๆ ในโลกดว ย.
เอวัมปิ โข ภิกขะเว ภิกขุ ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย ภิกษ-ุ
ธัมเมส ุ ธมั มานปุ สั ส ี วหิ ะระติฯ ยอมตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทง้ั หลาย
ปญั จะสุ นีวะระเณสุ ฯ คอื นิวรณ ๕ อยางน้แี ล.

ขันธหา

ปนุ ะ จะปะรงั ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย ขอ อ่นื ยงั มอี ยอู กี ภกิ ษุ
ธัมเมสุ ธมั มานุปสั ส ี วหิ ะระติ ยอมตามพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย
ปญั จะส ุ อปุ าทานกั ขนั เธส ุ ฯ คือ อุปาทานขันธ ๕.
กะถญั จะ ภิกขะเว ภิกขุ ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย กอ็ ยางไร ภกิ ษุ
ธมั เมส ุ ธมั มานปุ ัสส ี วิหะระติ ยอมตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้งั หลาย
ปัญจะสุ อุปาทานักขันเธส ุ ฯ คอื อปุ าทานขนั ธ ๕.
อธิ ะ ภิกขะเว ภิกขุ
อิต ิ รูปัง อติ ิ รปู สั สะ สะมทุ ะโย ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ (พจิ ารณาวา )
อติ ิ รปู ัสสะ อัตถังคะโม อยา งนี้ รปู (สิ่งท่ที รดุ โทรม), อยา งนี้ ความเกดิ ขึ้นของรปู
อติ ิ เวทะนา อติ ิ เวทะนายะ สะมทุ ะโย อยา งนี้ ความดบั ไปของรปู
อิติ เวทะนายะ อัตถงั คะโม อยางนี้ เวทนา (ความเสวยอารมณ), อยา งนี้ ความเกดิ ขนึ้ -
อติ ิ สัญญา อิต ิ สญั ญายะ สะมทุ ะโย ของเวทนา, อยา งนี้ ความดับไปของเวทนา
อติ ิ สัญญายะ อตั ถังคะโม อยา งน้ี สญั ญา (ความจาํ ), อยา งนี้ ความเกดิ ขน้ึ ของสญั ญา
อยางน้ี ความดบั ไปของสญั ญา

18 มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร

อติ ิ สงั ขารา อติ ิ สงั ขารานงั สะมทุ ะโย อยา งน้ี สงั ขาร (สภาพปรงุ แตง ), อยางน้ี ความเกดิ ขึ้น-
อติ ิ สังขารานงั อตั ถังคะโม ของสังขาร, อยางน้ี ความดับไปของสงั ขาร

อติ ิ วญิ ญาณงั อิต ิ วญิ ญาณัสสะ สะมุทะโย อยา งนี้ วญิ ญาณ (รูแ จง), อยางน้ี ความเกดิ ขึ้นของ-
อิต ิ วญิ ญาณสั สะ อัตถังคะโมติ วิญญาณ, อยางนี้ ความดบั ไปของวญิ ญาณ ดงั น้.ี

] อติ ิ อัชฌัตตัง วา ธมั เมสุ ] ภกิ ษยุ อ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทงั้ หลาย-
เปนภายในบา ง
ธัมมานปุ สั สี วิหะระติ ยอมพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้ังหลาย-
พะหทิ ธา วา ธมั เมสุ
ธัมมานุปัสส ี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบา ง
ยอมพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมทั้งหลาย-
อชั ฌัตตะพะหทิ ธา วา ทัง้ ภายในภายนอกบา ง
ธมั เมส ุ ธมั มานปุ สั สี วิหะระติ
สะมทุ ะยะธมั มานุปสั ส ี วา ยอ มพิจารณาเห็นธรรมดา-
คอื ความเกิดข้ึนในธรรมบา ง
ธมั เมสุ วิหะระติ ยอมพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
วะยะธมั มานุปัสส ี วา
ธมั เมส ุ วิหะระติ คือความเส่ือมไปในธรรมบาง
ยอ มพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
สะมุทะยะวะยะธมั มานุปัสส ี วา คอื ทงั้ ความเกดิ ขนึ้ ทงั้ ความเสอื่ มไปในธรรมบา ง.
ธัมเมส ุ วิหะระต ิ ฯ
‘อัตถิ ธมั มาติ วา ปะนัสสะ ก็หรือสติของเธอนั้นท่ตี ัง้ มนั่ อย-ู
วา ”ธรรมมอี ย„ู
สะติ ปจั จปุ ัฏฐิตา โหติ เพียงเพื่อญาณคอื ความรู
ยาวะเทวะ ญาณะมตั ตายะ
ปะฏสิ สะตมิ ตั ตายะ ฯ เพยี งเพอื่ เปน ทอี่ าศัยระลกึ .
เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ ยอ มไมย ึดถอื อะไรๆ ในโลกดวย.
นะ จะ กญิ จิ โลเก อุปาทยิ ะติ ฯ
เอวมั ปิ โข ภิกขะเว ภิกขุ ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย ภกิ ษ-ุ
ยอ มตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมทัง้ หลาย
ธมั เมสุ ธมั มานปุ สั ส ี วิหะระติ ฯ คือ อุปาทานขนั ธ ๕ อยางน้ีแล.
ปัญจะสุ อปุ าทานกั ขันเธส ุ ฯ

อายตนะหก

ปนุ ะ จะปะรัง ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย ขอ อื่นยังมีอยอู กี ภกิ ษุ
ธมั เมส ุ ธัมมานุปสั สี วหิ ะระติ ยอ มตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้งั หลาย
ฉะส ุ อัชฌัตตกิ ะพาหเิ รสุ อายะตะเนส ุ ฯ คอื อายตนะภายในภายนอก อยางละ ๖.
กะถญั จะ ภกิ ขะเว ภกิ ขุ ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย กอ็ ยางไร ภกิ ษุ

มหาสติปัฏฐานสูตร 19

ธมั เมสุ ธมั มานปุ สั ส ี วิหะระติ ยอมตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมทงั้ หลาย
ฉะสุ อัชฌตั ติกะพาหิเรส ุ อายะตะเนส ุ ฯ คือ อายตนะภายในภายนอกอยางละ ๖.
ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้
อธิ ะ ภกิ ขะเว ภิกขุ
จกั ขญุ จะ ปะชานาต ิ รูเป จะ ปะชานาติ ยอมรูชัดตาดวย ยอ มรชู ดั รูปดว ย

[ ยัญจะ ตะทภุ ะยัง ปะฏจิ จะ อุปปัชชะติ [ อนึ่ง สังโยชน (เคร่อื งผูก) ยอ มเกดิ ข้นึ อาศยั -

สัญโญชะนัง ตัญจะ ปะชานาติ ตาและรปู ท้งั ๒ น้นั อันใด ยอมรชู ัดอันน้นั ดวย

ยะถา จะ อะนุปปันนัสสะ สัญโญชะนัสสะ อนึง่ ความทีส่ ังโยชน อนั ยังไมเ กิดขน้ึ -

อปุ ปาโท โหต ิ ตัญจะ ปะชานาติ ยอ มเกดิ ขน้ึ ไดโ ดยประการใด ยอ มรชู ดั ประการนน้ั ดว ย

ยะถา จะ อปุ ปันนัสสะ สญั โญชะนัสสะ อนึง่ ความทส่ี ังโยชน ที่เกิดข้นึ แลว -

ปะหานัง โหติ ตัญจะ ปะชานาติ จะละเสยี ไดโ ดยประการใด ยอ มรชู ดั ประการนนั้ ดว ย

ยะถา จะ ปะหีนัสสะ สัญโญชะนัสสะ อายะตงิ อนงึ่ ความที่สังโยชน อนั ตนละเสียแลว จะไมเ กดิ ขึน้ -

อะนปุ ปาโท โหต ิ ตญั จะ ปะชานาติ ฯ] ตอไปไดโดยประการใด ยอมรูชดั ประการนน้ั ดวย.]
โสตัญจะ ปะชานาต ิ สัทเท จะ ปะชานาติ ยอ มรชู ดั หดู ว ย ยอ มรูชัดเสียงดว ย
[ ยัญจะ...] [ ..]
ฆานญั จะ ปะชานาต ิ คนั เธ จะ ปะชานาติ ยอมรชู ัดจมูกดว ย ยอมรูช ัดกล่นิ ดว ย
[ ยญั จะ...] [ ..]
ชิวหญั จะ ปะชานาติ ระเส จะ ปะชานาติ ยอมรูชัดลิน้ ดว ย ยอมรชู ดั รสดว ย
[ ยญั จะ...] [ ..]
กายญั จะ ปะชานาต ิ โผฏฐพั เพ จะ ปะชานาติ ยอ มรชู ัดกายดวย ยอ มรชู ดั โผฏฐพั พะดว ย
[ ยัญจะ...] [ ..] (สงิ่ ท่พี งึ ถูกตองดว ยกาย)
มะนัญจะ ปะชานาต ิ ธมั เม จะ ปะชานาติ ยอมรูชดั ใจดวย ยอ มรชู ัดธรรมารมณด ว ย
[ ยัญจะ...] [ ..] (สงิ่ ทพี่ งึ รไู ดด ว ยใจ)
] อิต ิ อัชฌัตตัง วา ธมั เมสุ ]ภกิ ษยุ อ มพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมทัง้ หลาย-
เปนภายในบา ง
ธมั มานปุ ัสสี วิหะระติ ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้งั หลาย-
พะหทิ ธา วา ธัมเมสุ
ธัมมานุปัสส ี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบา ง
อชั ฌตั ตะพะหิทธา วา ธมั เมสุ ยอ มพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย-
ธมั มานปุ สั ส ี วิหะระติ ทัง้ ภายในภายนอกบาง
สะมุทะยะธมั มานปุ สั ส ี วา ยอมพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
ธมั เมสุ วหิ ะระติ คอื ความเกดิ ข้นึ ในธรรมบาง
วะยะธัมมานุปสั ส ี วา ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมดา-

20 มหาสต2ปิ 0ัฏฐานมสหตู ารสตปิ ฏั ฐานสูตร

ธัมเมสุ ธวมัิหเะมรสะุ ตวิ ิหะระติ คอื ความคเสอื อ่ื คมวไาปมใเนสธอ่ื รมรไมปบในางธรรมบา ง
สะมุทะยสะะวมะุทยะยธะัมวมะายนะุปธมัสสม ีาวนาุปัสสี วา ยอมพิจายรณอ มาพเหิจ็นาธรรณรามเหด็นา-ธรรมดา-
ธัมเมส ุ ธวัมหิ เะมรสะ ุตว ิ หิ ฯะระติ ฯ คอื ทงั้ ควคามอื เทกงั้ดิ คขวนึ้ ามทเง้ักคดิ วขาน้ึมเทสงั้อ่ื คมวไาปมใเนสธอ่ื รมรไมปบใานงธ.รรมบา ง.
‘อตั ถ ิ ธ‘มั อมตั าถต ิ ิ ธวมั าม ปาตะนิ วัสาส ะปะนัสสะ กห็ รือสตกิขห็อรงอืเธสอตนิข้นั อทง่ีตเธงั้ อมนนั่ ้นั อทยต่ี -ู งั้ มน่ั อย-ู
สะต ิ ปัจสจะปุ ตฏั ิ ปฐิตัจจา ปุ โัฏหฐติตา โหติ วา ”ธรรมวมา อี ”ธยรู„รมมีอย„ู
ยาวะเทวยะา วญะเาทณวะม ญตั ตาณายะะมัตตายะ เพยี งเพื่อเญพยีาณงเพคอื่ คญวาาณมครูอื ความรู
ปะฏิสสะปตะมิฏัติสตสะายตะมิ ตั ฯตายะ ฯ เพียงเพ่ือเเพปียน งทเพ่อี าอ่ื ศเปัยนระทล่อี ึกาศ. ยั ระลึก.
อะนสิ สิโอตะ นจิสะส วิโหิตะ จระ ตวิ หิ ะระติ เธอยอ มเปธนอยผอู มนั เตปณั น หผาอู แนั ลตะณั ทฐิหไิามแอลาะศทยั ฐิ อไิ มยอดู าว ศยยั . อยดู ว ย.
นะ จะ กนญิะ จจิ ะโ ลกเญิก จอ ิ ุปโลาเทกยิ ะอตปุ ิ าฯทยิ ะติ ฯ ยอมไมย ยดึ อถมือไอมะยไรึดๆถือใอนะโลไรกๆดวใยน.โลกดวย.
เอวัมปิ เโอขว มัภปกิ ขิ โะขเว ภ ภกิ ิกขขะเุ ว ภกิ ขุ ดกู อนภิกดษกู ุทอ้ังนหภลกิ าษยุทภ้งั กิหษลาุ-ย ภกิ ษุ-
ธัมเมส ุ ธมั เมมาสน ุ ปุธัมสสม ีาวนิหปุ ะสั รสะี ตวฯิ ิห ะระตฯิ ยอ มตามยพอ จิ มารตณามาพเหจิ น็ าธรรณรามเหใน็นธธรรรรมมทในงั้ หธลรรายมทั้งหลาย
ฉะสุ อัชฉฌะตัสต ุ อกิ ัชะฌพตัาหตเิกระสพุ อาหายเิ ระสตุ ะอเนายสะุ ตฯะเนสคุ ฯอื อายตคนือะภอายตในนภะาภยานยอในกภ๖ายอนยอากงน๖้แี ลอ.ยา งนี้แล.

โพชฌงโคพเ ชจด็ฌงคเ จ็ด

ปุนะ จะปปนุ ะะร ังจ ภะปกิ ะขระังเว ภ ภกิ กิขขะเุ ว ภกิ ขุ ดกู อนภกิ ดษูกทุ อ้ังนหภลิกาษยทุ ขง้ั อหอล่นื ายังขมอี อย่ืนอู ยีกงั มภีอกิ ยษอู ุ ีก ภกิ ษุ
ธมั เมสุ ธมั เมมาสนุ ปุธมัสสม ีาวนหิ ปุ ะสั รสะี ตวิ หิ ะระติ ยอมตามยพอิจมารตณามาพเหจิ ็นาธรรณรามเหในน็ ธธรรรรมมทใน้งั หธลรรายมทงั้ หลาย
สัตตะส ุสโตัพตชะฌสงั ุ เโคพสชุฯฌังเคสุฯ
คอื โพชฌงคคอื  (โอพงชคฌแ หงคง ป (อญ งญคแาเหปง น ปเญครญอ่ื างเตปรน สั เรคู ร๗อ่ื งอตยรา สัง)ร.ู ๗ อยา ง).
ดูกอนภกิ ดษกู ุทอง้ั นหภลกิ าษยุทกั้ง็อหยลา งยไรก็อภยกิ าษงุไร ภกิ ษุ
กะถัญจะก ะภถกิัญขจะะเว ภ ภิกกิขขะเุ ว ภกิ ขุ
ธัมเมส ุ ธัมเมมาสนุ ุปธมัสสมี าวนิหุปะสั รสะี ตวิ ิหะระติ ยอมตามยพอิจมารตณามาพเหจิ น็ าธรรณรามเหในน็ ธธรรรรมมทในงั้ หธลรรายมท้ังหลาย
สตั ตะส ุสโตัพตชะฌสังุ เโคพสชุ ฌฯงั เคสุ ฯ คอื โพชฌคืองคโ พ๗ช.ฌงค ๗.
อธิ ะ ภกิ อขิธะะเว ภ ภิกิกขขะเุ ว ภิกขุ ดูกอ นภิกดษูกทุ อ งั้ นหภลกิ าษยุทภ้งั ิกหษลาุใยนธภรริกมษวุในิ ยัธรนร้ี มวินัยนี้
[❦ สนั ต[❦ัง วสาัน อตชั ังฌ วตั าต อังัช สฌะัตติสังม โสพะชตฌิสมังคโพงั ชฌ❦ังคังเม่อื ส❦ติสมัเมโอ่ืพสชตฌสิ งัมคโ พมชใี ฌนจงิตค มีในจติ
‘อตั ถิ เม ‘อัชตฌถ ิตั เมตงั อ สชั ะฌตัตสิ ตมั ังโ พสชะฌติสังโัมคโตพ ิ ชปฌะังชโาคนตาิ ตปิ ะชยานอ ามตริ ูชัดยวอาม”รสูชตัดิสวัมา โพ”สชตฌิสงัมคโ พมชีใฌนจงิตคข มองีในเรจาิต„ ของเรา„
อะสนั ตงัอ ะวสานั อตชั งั ฌ วตั าต อังชั สฌะัตตติสังม โสพะชตฌสิ ัมงคโพงั ชฌงัหครืองั เม่อื สหตรสิอื ัมเมโื่อพสชตฌิสงมั คโ พไมชฌม ีใงนคจ ติไมมีในจิต
‘นัตถ ิ เม ‘นอัชตฌถ ิัตเมตัง อ สชั ะฌตตั ิสตมั งั โ พสชะฌตสิังโัมคโตพ ิ ชปฌะงัชโาคนตาิ ตปิ ะชยานอ ามตริชู ดั วยาอม”สรตชู ดัสิ วมั า โพ”สชฌตสิ งมัคโ พไมชมฌใี งนคจ ติ ไมขอม งใี เนรจา„ติ ของเรา„
ยะถา จะย อะถะนา ปุ จปะ ันอนะัสนสปุ ะป สันะนตัสสิ สมั ะโ พสะชตฌสิ งั มั คโัสพสชะฌังคอสั นสง่ึ ะความอทนส่ีงึ ตคสิวมัามโพทชส่ี ฌตสิงคมั โอพนั ชยฌงั งไคมเ อกนัดิ ยขงนั้ึ ไมยเอกมดิ -ขน้ึ ยอ ม-
อุปปาโทอ ปุ โหปตาโิ ทต ัญโหจะต ิ ปตะัญชจาะน าปตะิ ชานาติ เกดิ ขน้ึ ไดเโกดดิ ยขปน้ึ รไะดกโ าดรยใดปรยะอ กมารชใู ดั ปยรอ ะมกราชู รดันปนั้ รดะวกยา.รนน้ั ดว ย.
ยะถา จะย ะอถุปาป จนั ะน อัสปุสะป ันสนะตัสิสัมะ โสพะชตฌิสังมคโสัพสชะฌงั คอัสนสึ่งะ สตสิอนมั ึง่โพสชตฌิสงมั คโ พทชีเ่ กฌิดงขคึ้น แทลีเ่ กว ดิ ยขึ้นอมแลเจว รญิ ยอ- มเจรญิ -
ภาวะนาภปาาวระิปนรู าิ ปโหารตปิ ิ ตรู ิ ัญโหจะต ิ ปตะญั ชจาะน าปตะ ิ ชฯา]นาตบิ รฯบิ รู]ณไ ดบโรดบิ ยรู ปณรไะดกโาดรยใดปรยะอ กมารชูใดั ปยรอ ะมกราชูรดันปนั้ รดะว กยา.รนนั้ ดว ย.
[❦ ธัมม[❦ะวจิ ธะัมยมะะ/วจิวริะิยะ/ ปวริ ต ยิ ิ/ะ/ ปต/ิ [❦ ความ[❦เลือกคเฟวานมธเรลรือมก/เฟคนวธามรรเพมีย/ รค/วคามวเาพมยีปรล/ม้ื คใจว/ามปล้มื ใจ/
ปสั สัทธ/ิปัสสสะัทมธา/ิธิ/สะอมเุ ปาธกิ/ขาอ] ุเปกขา] ความสงบกคาวยาสมงสบงจบติ กา/ยสสมงาบธจ/ิ ิตคว/สามทาธจี่ /ิิตเคปวนากมลทาจี่ งติ ]เปนกลาง]

] อติ ิ อัชฌตั ตัง วา ธมั เมสุ มหาสติปฏั ฐานสูตร 21
ธมั มานุปัสสี วิหะระติ
พะหิทธา วา ธมั เมสุ ] ภกิ ษยุ อ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทง้ั หลาย-
ธัมมานุปสั สี วิหะระติ เปน ภายในบาง
อัชฌัตตะพะหิทธา วา ยอมพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้งั หลาย-
ธมั เมส ุ ธัมมานุปัสส ี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบาง
สะมทุ ะยะธัมมานุปัสส ี วา ยอมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย-
ธัมเมส ุ วิหะระติ ทั้งภายในภายนอกบาง
วะยะธัมมานุปัสส ี วา ยอมพิจารณาเห็นธรรมดา-
ธมั เมส ุ วหิ ะระติ คอื ความเกิดข้ึนในธรรมบา ง
สะมุทะยะวะยะธมั มานปุ ัสสี วา ยอ มพิจารณาเหน็ ธรรมดา-
ธมั เมส ุ วหิ ะระต ิ ฯ คือความเส่อื มไปในธรรมบา ง
‘อัตถ ิ ธัมมาต ิ วา ปะนัสสะ ยอ มพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
สะต ิ ปัจจปุ ัฏฐิตา โหติ คอื ทงั้ ความเกดิ ขนึ้ ทงั้ ความเสอื่ มไปในธรรมบา ง.
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ กห็ รือสติของเธอนน้ั ท่ีตง้ั มน่ั อย-ู
ปะฏิสสะติมัตตายะ ฯ วา ”ธรรมมอี ย„ู
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ เพียงเพื่อญาณคือความรู
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทยิ ะติ ฯ เพียงเพอื่ เปน ที่อาศัยระลกึ .
เอวมั ป ิ โข ภิกขะเว ภิกขุ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
ธมั เมสุ ธัมมานุปสั ส ี วิหะระตฯิ ยอ มไมยึดถืออะไรๆ ในโลกดว ย.
สัตตะส ุ โพชฌังเคส ุ ฯ ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ภิกษ-ุ
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ ยอมตามพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมทงั้ หลาย
ธมั เมสุ ธมั มานปุ ัสส ี วิหะระติ คือ โพชฌงค ๗ อยา งนแี้ ล.
จะตสู ุ อะริยะสจั เจสุ ฯ อริยสัจสี่
กะถัญจะ ภิกขะเว ภกิ ขุ ทุกข
ธัมเมส ุ ธมั มานปุ สั สี วิหะระติ ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย ขอ อื่นยังมีอยูอกี ภกิ ษุ
จะตสู ุ อะริยะสจั เจส ุ ฯ ยอมตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย
อธิ ะ ภิกขะเว ภกิ ขุ คอื อรยิ สัจ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ๔.
ดกู อนภกิ ษทุ ัง้ หลาย กอ็ ยา งไร ภกิ ษุ
ยอ มตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทัง้ หลาย
คอื อรยิ สจั ๔.
ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวนิ ัยน้ี

22 มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร

‘อิทงั ทุกขันติ ยะถาภตู งั ปะชานาติ ยอมรูชดั ตามความเปนจริงวา ”น้ี ทุกข„
‘อะยงั ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภตู งั ปะชานาติ ”น้ี ทุกขสมทุ ัย (เหตุเกิดทุกข)„
‘อะยัง ทกุ ขะนโิ รโธต ิ ยะถาภตู งั ปะชานาติ ”นี้ ทกุ ขนิโรธ (ธรรมทีด่ บั ทกุ ข) „
‘อะยัง ทุกขะนิโรธะคามนิ ี ปะฏิปะทาติ ”นี้ ทกุ ขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทา
ยะถาภตู ัง ปะชานาติ (ขอ ปฏิบัตใิ หถึงธรรมทดี่ บั ทุกข) .„

กะตะมญั จะ ภกิ ขะเว ดูกอนภกิ ษทุ ัง้ หลาย ก็อยา งไรเลา?
ทุกขัง อะรยิ ะสัจจงั ฯ คอื ทุกขอริยสจั

ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทกุ ขา มะระณัมป ิ ทุกขงั แมช าตกิ เ็ ปน ทกุ ขแ มช รากเ็ ปน ทกุ ขแ มม รณะกเ็ ปน ทกุ ข
โสกะปะรเิ ทวะทุกขะ
แมโสกะ ความร่าํ ไรรําพนั ความไมส บายกาย

โทมะนัสสุปายาสาปิ ทกุ ขา ความไมส บายใจ และความคบั แคน ใจ กเ็ ปน ทุกข

อัปปเิ ยหิ สมั ปะโยโค ทุกโข ความประสบกบั สัตว สงั ขาร ซ่งึ ไมเปน ทรี่ ัก กเ็ ปน ทกุ ข

ปิเยห ิ วปิ ปะโยโค ทุกโข ความพลดั พรากจากสตั ว สงั ขาร ซงึ่ เปน ทร่ี กั กเ็ ปน ทกุ ข

ยมั ปจิ ฉงั นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขงั ความปรารถนาสิ่งใดไมไดส ิง่ น้นั แมนน่ั กเ็ ปน ทุกข

สงั ขติ เตนะ ปัญจปุ าทานักขนั ธา ทุกขา ฯ วา โดยยอ อุปาทานขันธท ัง้ ๕ เปน ตัวทกุ ข.
กะตะมา จะ ภิกขะเว ชาติ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ชาติ เปนอยางไรเลา ?
ยา เตสัง เตสัง สตั ตานัง ในหมูสตั วน ้นั ๆ-
ตัมฺห ิ ตัมหฺ ิ สัตตะนกิ าเย ของเหลา สัตวน ้นั ๆ อนั ใด
ชาต ิ สญั ชาต ิ โอกกนั ติ ความเกดิ ความเกิดพรอม ความหย่ังลง
นพิ พัตต ิ อะภินิพพตั ติ การบงั เกิด การบังเกิดจาํ เพาะ
ขันธานัง ปาตุภาโว การปรากฏข้ึนแหงขนั ธ
อายะตะนานัง ปะฏิลาโภ การไดอายตนะครบ
อะยงั วจุ จะติ ภิกขะเว ชาต ิ ฯ ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย น้เี ราเรียกวา ชาต.ิ
กะตะมา จะ ภกิ ขะเว ชะรา ฯ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ชรา เปนอยา งไรเลา?
ยา เตสงั เตสงั สัตตานัง ในหมสู ตั วน ั้นๆ-
ตมั ฺห ิ ตมั หฺ ิ สตั ตะนกิ าเย ของเหลา สตั วน นั้ ๆ อันใด
ชะรา ชีระณะตา ขัณฑจิ จงั ปาลจิ จัง ความแก ความคร่าํ ครา ความทีฟ่ นหลุด ผมหงอก

วะลิตะจะตา อายุโน สังหานิ ความทหี่ นงั หดเหยี่ วเปน เกลยี ว ความเสอื่ มแหง อายุ

อินทฺริยานงั ปะริปาโก ความแกห งอมแหง อนิ ทรยี 
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นีเ้ ราเรยี กวา ชรา.
อะยงั วุจจะต ิ ภกิ ขะเว ชะรา ฯ
กะตะมัญจะ ภกิ ขะเว มะระณงั ฯ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย มรณะ เปนอยา งไรเลา ?
ยา เตสงั เตสัง สัตตานงั จากหมูสตั วนัน้ ๆ-

มหาสติปัฏฐานสตู ร 23

ตัมฺหา ตมั หฺ า สัตตะนกิ ายา ของเหลา สตั วน้ันๆ อนั ใด
จตุ ิ จะวะนะตา เภโท อนั ตะระธานงั
การจตุ ิ การเคล่ือนไป การแตกทาํ ลาย การหายไป
มจั จ ุ มะระณัง กาละกริ ยิ า มฤตยู ความตาย การทาํ กาละ
ขนั ธานงั เภโท การแตกแหงขันธ
กะเฬวะรสั สะ นิกเขโป การทอดท้งิ ซากศพไว
ชวี ิตินทฺรยิ ัสสะ อปุ ัจเฉโท การขาดไปแหงชีวติ นิ ทรยี 
อทิ ัง วจุ จะติ ภกิ ขะเว มะระณงั ฯ ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย นเ้ี ราเรียกวา มรณะ.
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว โสโก ฯ ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย โสกะ (ความแหง ใจ)-
โย โข ภกิ ขะเว เปนอยา งไรเลา? ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย
อญั ญะตะรัญญะตะเรนะ พฺยะสะเนนะ ผูประกอบดว ยความฉิบหายอันใดอนั หนึง่ -
สะมนั นาคะตสั สะ อญั ญะตะรัญญะตะเรนะ หรือผูทค่ี วามทกุ ขอนั ใดอันหนง่ึ -
ทกุ ขะธมั เมนะ ผุฏฐัสสะ มาถกู ตองแลว อนั ใดเลา
โสโก โสจะนา โสจติ ตั ตัง ความโศก ความเศราใจ ความแหงใจ
อนั โตโสโก อนั โตปะรโิ สโก ความผากภายใน ความโศกภายในของสตั ว
อะยัง วจุ จะต ิ ภิกขะเว โสโก ฯ ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา โสกะ.
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว ปะริเทโว ฯ ดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย ปรเิ ทวะ (ความร่ําไรรําพัน)-
โย โข ภกิ ขะเว เปน อยา งไรเลา? ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย
อัญญะตะรญั ญะตะเรนะ พยฺ ะสะเนนะ ผปู ระกอบดว ยความฉบิ หายอนั ใดอนั หนงึ่ -
สะมนั นาคะตสั สะ อญั ญะตะรญั ญะตะเรนะ หรือผูที่ความทุกขอันใดอนั หน่ึง-
ทุกขะธมั เมนะ ผุฏฐัสสะ มาถกู ตองแลว อันใดเลา
อาเทโว ปะรเิ ทโว อาเทวะนา ความครา่ํ ครวญ ความรา่ํ ไรราํ พนั กริ ยิ าทค่ี ราํ่ ครวญ
ปะริเทวะนา อาเทวิตตั ตงั ปะรเิ ทวติ ตั ตงั กริ ยิ าทร่ี า่ํ ไรราํ พนั ความทสี่ ตั วค รา่ํ ครวญ ราํ่ ไรราํ พนั
อะยงั วุจจะติ ภกิ ขะเว ปะรเิ ทโว ฯ ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา ปริเทวะ.
กะตะมญั จะ ภกิ ขะเว ทุกขังฯ ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ทุกข (ความไมสบายกาย)-
ยัง โข ภกิ ขะเว เปนอยา งไรเลา ? ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย
กายกิ ัง ทกุ ขัง กายิกัง อะสาตงั ความทกุ ขทางกาย ความไมน า ยินดที างกาย
กายะสมั ผสั สะชงั ทุกขงั อะสาตัง เวทะยิตงั เวทนาไมน า ยนิ ดเี ปน ทกุ ขเ กดิ แตส มั ผสั ทางกาย อนั ใดเลา
อทิ งั วุจจะต ิ ภกิ ขะเว ทกุ ขงั ฯ ดกู อนภิกษุทัง้ หลาย น้ีเราเรยี กวา ทกุ ข.
กะตะมัญจะ ภิกขะเว โทมะนสั สงั ฯ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย โทมนัส (ความเสียใจ)-
ยัง โข ภกิ ขะเว เปนอยา งไรเลา? ดกู อนภิกษุท้งั หลาย
เจตะสกิ งั ทุกขงั เจตะสกิ งั อะสาตัง ความทกุ ขท างใจ ความไมน า ยนิ ดีทางใจ
เจโตสัมผสั สะชัง ทกุ ขงั อะสาตงั เวทะยติ งั เวทนาไมน า ยนิ ดเี ปน ทกุ ขเ กดิ แตส มั ผสั ทางใจ อนั ใดเลา
อทิ ัง วุจจะติ ภกิ ขะเว โทมะนสั สัง ฯ ดกู อ นภกิ ษุท้ังหลาย นเ้ี ราเรยี กวา โทมนสั .

24 มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร

กะตะโม จะ ภิกขะเว อุปายาโส ฯ ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย อปุ ายาส (ความคับแคน ใจ)-
โย โข ภิกขะเว เปน อยา งไรเลา? ดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย
อญั ญะตะรัญญะตะเรนะ พยฺ ะสะเนนะ ผปู ระกอบดวยความฉบิ หายอันใดอนั หนง่ึ -
สะมนั นาคะตัสสะ อญั ญะตะรญั ญะตะเรนะ หรอื ผูท คี่ วามทกุ ขอ นั ใดอนั หนึ่ง-
ทุกขะธมั เมนะ ผฏุ ฐสั สะ มาถูกตองแลว อันใดเลา
อายาโส อปุ ายาโส ความรันทด ความคบั แคนใจ
อายาสิตตั ตงั อปุ ายาสติ ตั ตงั ความที่สตั วร นั ทด ความทส่ี ตั วคบั แคนใจ
อะยัง วจุ จะต ิ ภิกขะเว อุปายาโส ฯ ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย นเี้ ราเรียกวา อปุ ายาส.
ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ความประสบสัตว สังขาร-
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว ซึง่ ไมเปน ทีร่ ัก เปน ทุกข เปน อยา งไรเลา ?
อปั ปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ฯ ดูกอนภกิ ษุทั้งหลาย
อธิ ะ ภกิ ขะเว อารมณเ หลาใดในโลกนี้-
ยสั สะ เต โหนติ ซึง่ ไมเปนที่ปรารถนา ไมเปนทร่ี ักใคร ไมเปนทปี่ ล้ืมใจ
อะนิฏฐา อะกนั ตา อะมะนาปา คือ รูป เสียง กลนิ่ รส และโผฏฐพั พะ ยอมมีแกผ ูนน้ั
รปู า สทั ทา คันธา ระสา โผฏฐพั พา อนึ่ง หรอื ชนเหลา ใด-
เย วา ปะนสั สะ เต โหนติ
อะนัตถะกามา อะหติ ะกามา เปนผูไมห วังประโยชน เปน ผูไ มห วงั ความเจริญ เปน ผูไมหวงั -
อะผาสกุ ามา อะโยคักเขมะกามา
ยา เตห ิ สงั คะติ สะมาคะโม ความสขุ เปนผูไมหวังความสงบปลอดภัย ตอบุคคลนน้ั
สะโมธานงั มิสสีภาโว
อะยัง วจุ จะต ิ ภิกขะเว การไปรว ม การมารวม การประชมุ รวม
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทกุ โข ฯ การระคนดวยอารมณแ ละสตั วเหลานั้น อันใด
ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย นเ้ี ราเรยี กวา ความประสบกบั -
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สัตว สงั ขาร ซงึ่ ไมเ ปน ทรี่ กั เปน ทุกข.
ปิเยห ิ วปิ ปะโยโค ทุกโข ฯ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ความพลดั พรากจากสตั ว-
อธิ ะ ภกิ ขะเว สังขาร ซงึ่ เปนที่รัก เปน ทกุ ข เปน อยางไรเลา ?
ยัสสะ เต โหนติ ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย
อฏิ ฐา กันตา มะนาปา อารมณเ หลาใดในโลกน-ี้
รปู า สัททา คนั ธา ระสา โผฏฐัพพา ซึ่งเปน ท่ีปรารถนา เปน ทร่ี กั ใคร เปนทป่ี ล้มื ใจ คือ
เย วา ปะนสั สะ เต โหนติ รปู เสยี ง กลิ่น รส และโผฏฐพั พะ ยอมมแี กผนู ้ัน.
อตั ถะกามา หิตะกามา อนงึ่ หรอื ชนเหลาใด-
ผาสกุ ามา โยคักเขมะกามา เปน ผหู วงั ประโยชน เปน ผหู วงั ความเจรญิ เปน ผหู วงั -
มาตา วา ปติ า วา ภาตา วา ภะคนิ ี วา ความสขุ เปน ผหู วงั ความสงบปลอดภยั ตอ บคุ คลนน้ั
มติ ตา วา อะมจั จา วา ญาตสิ าโลหติ า วา
คือ มารดาบดิ า พี่ชายนอ งชาย พ่ีหญงิ นองหญงิ
มติ ร เพอื่ น หรอื ญาติสาโลหิต,

มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร 25

ยา เตหิ อะสังคะต ิ อะสะมาคะโม การไมไปรวม การไมมารว ม การไมป ระชมุ รว ม
อะสะโมธานัง อะมิสสภี าโว การไมร ะคนกับดวยอารมณและสัตวเหลานัน้ อนั ใด
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย นีเ้ ราเรียกวา
ปเิ ยห ิ วิปปะโยโค ทุกโข ฯ ความพลัดพรากจากสัตว สงั ขารซึง่ เปนทีร่ กั เปนทุกข.
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย การตองการสิ่งที่ไมสามารถจะ-
กะตะมญั จะ ภิกขะเว เอาได กเ็ ปนทกุ ข เปน อยา งไรเลา ?
ยมั ปจิ ฉัง นะ ละภะต ิ ตมั ป ิ ทกุ ขังฯ
[ ชาตธิ ัมมานัง ภิกขะเว สตั ตานัง ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย เหลาสตั ว ท่ีมีความเกดิ -
เอวัง อจิ ฉา อุปปัชชะติ เปนธรรมดา มีความปรารถนาอยางนวี้ า
‘อะโห วะตะ มะยงั นะ ชาตธิ มั มา อสั สามะ ”โอหนอ ขอเราพึงเปนผไู มมคี วามเกดิ เปนธรรมดาเถิด
นะ จะ วะตะ โน ชาติ อาคจั เฉยยาติ * อนงึ่ ขอความเกดิ อยามมี าถึงแกเราเลยหนอ„ ดังน้ี
นะ โข ปะเนตงั อิจฉายะ ปัตตัพพงั ขอ น้นั สัตวไมพงึ ไดตามความปรารถนาโดยแท
อิทัมปิ ยมั ปิจฉัง นะ ละภะติ ตมั ป ิ ทุกขงั ฯ] แมข อ นกี้ ช็ อ่ื วา การไมไ ดใ นสง่ิ ทตี่ นปรารถนา กเ็ ปน ทกุ ข.
[ ชะรา/ พฺยาธ/ิ มะระณะ/ [ ความแก/ ความเจ็บไข/ ความตาย/
โสกะปะรเิ ทวะทกุ ขะโทมะนัสสุปายาสะ] ความโศก-ความร่ําไรรําพัน-ความไมสบายกาย-
ความไมสบายใจ-ความคบั แคน ใจ]
* พฺยาธี อาคัจเฉยยนุ ติ
โสกะปะริเทวะทกุ ขะโทมะนสั สปุ ายาสา อาคจั เฉยยนุ ติ

กะตะเม จะ ภิกขะเว ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย
สงั ขติ เตนะ ปญั จุปาทานักขันธา ทุกขาฯ โดยยอ อปุ าทานขนั ธทง้ั ๕ เปน ทกุ ข เปนอยางไรเลา ?
เสยยะถที งั : รูปูปาทานกั ขันโธ นค้ี ือ : อุปาทานขนั ธ คือ รูป,
เวทะนปู าทานกั ขันโธ สญั ญปู าทานักขันโธ อปุ าทานขันธ คอื เวทนา, อุปาทานขันธ คอื สญั ญา,
สังขารูปาทานกั ขันโธ วญิ ญาณูปาทานักขันโธ อปุ าทานขนั ธ คอื สงั ขาร, อุปาทานขนั ธ คอื วิญญาณ.
อเิ ม วุจจันต ิ ภกิ ขะเว ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย เหลานี้เราเรยี กวา
สังขิตเตนะ ปัญจปุ าทานักขันธา ทกุ ขา ฯ โดยยอ อปุ าทานขันธท้งั ๕ เปนตวั ทกุ ข.
อิทัง วจุ จะติ ภกิ ขะเว
ทุกขงั อะรยิ ะสัจจัง ฯ ดกู อนภิกษทุ ้ังหลาย น้เี ราเรยี กวา
อริยสัจ คอื ทกุ ข.

ทกุ ขสมทุ ัย

กะตะมัญจะ ภกิ ขะเว ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย กอ็ ยา งไรเลา?
ทกุ ขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ฯ อรยิ สจั คือ ทกุ ขสมุทยั (เหตใุ หเ กิดทกุ ข) ?

26 มหาสตปิ ฏั ฐานสูตร

ยายัง ตัณหา ตัณหา (ความทะยานอยาก) นอ้ี นั ใด

โปโนพภะวิกา นนั ทิราคะสะหะคะตา เปน เหตไุ ปเกดิ ในภพใหม เปน ไปกบั ความเพลนิ กาํ หนดั

ตัตรฺ ะตตั ฺราภนิ นั ทินี เสยยะถที งั : ดวยอํานาจแหง ความเพลิดเพลนิ ยง่ิ ในอารมณนน้ั ๆ คือ:

กามะตณั หา ภะวะตณั หา วภิ ะวะตณั หา ฯ กามตัณหา ภวตณั หา วภิ วตณั หา.
ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย กต็ ณั หาน้นั น่ันแล
สา โข ปะเนสา ภิกขะเว ตัณหา เมอ่ื จะเกิดขน้ึ ยอมเกดิ ข้ึนไดในทไ่ี หน?

กัตถะ อุปปัชชะมานา อปุ ปชั ชะติ เมื่อจะตง้ั อยู ยอมต้งั อยไู ดใ นที่ไหน?

กัตถะ นิวสี ะมานา นวิ สี ะต ิ ฯ ทีใ่ ด เปน ท่ีรกั ใคร เปน ทีพ่ อใจ ในโลก

ยัง โลเก ปิยะรปู ัง สาตะรปู ัง

เอตเถสา ตณั หา อปุ ปชั ชะมานา อุปปัชชะติ ตัณหานนั้ เมอ่ื จะเกิดข้ึน ยอมเกิดข้นึ ไดในทีน่ ่ัน.
เมื่อจะต้ังอยู ยอ มต้ังอยไู ดใ นที่นั่น.
เอตถะ นวิ ีสะมานา นิวสี ะติ ฯ กอ็ ะไรเลา เปน ที่รักใคร เปนทพ่ี อใจ ในโลก?

กิญจะ โลเก ปิยะรูปัง สาตะรูปัง ฯ

๑) จกั ขุง โลเก [โสตัง/ ฆานัง/ ชิวหา/ ตา/ หู/ จมกู / ลน้ิ / กาย/ ใจ

กาโย/ มะโน] [ เปน ทร่ี กั ใคร เปนที่พอใจ ในโลก

[ ปยิ ะรูปัง สาตะรูปงั
เอตเถสา ตณั หา อุปปชั ชะมานา อปุ ปชั ชะติ ตัณหาน่ัน เมอื่ จะเกิดข้นึ ยอ มเกดิ ขน้ึ ทน่ี ่นั .
เมื่อจะตั้งอยู ยอ มต้งั อยูท ี่นนั่ .]
เอตถะ นิวสี ะมานา นวิ สี ะต ิ ฯ]

๒) รปู า โลเก [สัททา/ คันธา/ ระสา/ รปู / เสียง/ กลน่ิ / รส/
โผฏฐพั พา/ ธมั มา] [ ] โผฏฐพั พะ/ ธรรมารมณ []
๓) จักขุวิญญาณัง โลเก [โสตะ/ ฆานะ/ การเห็น/ การไดย ิน/ การไดก ลิ่น/ การรรู ส/
ชิวหา/ กายะ/ มะโน] [ ] การรสู ่ิงตองกาย/ การรูเร่อื งในใจ [ ]
๔) จักขุสมั ผสั โส โลเก ” [ ] สัมผัสทาง ตา/ ห/ู จมกู / ลน้ิ / กาย/ ใจ [ ]
๕) จักขุสมั ผสั สะชา เวทะนา โลเก ”[ ] เวทนาท่เี กดิ จากสัมผัสทางตา „ [ ]
๖) รปู ะสัญญา โลเก [สทั ทะ/ คนั ธะ/ ความจําไดหมายรูใ น รูป/ เสียง/ กลน่ิ /
ระสะ/ โผฏฐพั พะ/ ธมั มะ] [ ] รส/ โผฏฐัพพะ/ ธรรมารมณ [ ]
[ ] ความจงใจใน รปู „ []
๗) รูปะสัญเจตะนา โลเก ” [ ] ความอยากใน รปู „ []
๘) รปู ะตณั หา โลเก ” [ ] ความตรึกใน รูป „ []
๙) รูปะวติ ักโก โลเก ” [ ] ความตรองใน รปู „ []
๑๐) รูปะวิจาโร โลเก ”
อิทัง วจุ จะติ ภกิ ขะเว ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย นเ้ี ราเรยี กวา-
อรยิ สัจ คือ ทกุ ขสมทุ ัย (เหตใุ หเกดิ ทกุ ข).
ทกุ ขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ฯ

มหาสติปฏั ฐานสตู ร 27

ทกุ ขนิโรธ

กะตะมัญจะ ภกิ ขะเว ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย กอ็ ยางไรเลา ?
ทุกขะนโิ รโธ อะริยะสัจจัง ฯ อริยสจั คือ ทุกขนโิ รธ (ธรรมทด่ี บั ทกุ ข)
โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวริ าคะนิโรโธ ความสาํ รอก ความดบั โดยไมม เี หลอื ความสละ
จาโค ปะฏนิ สิ สัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ ความสละคนื ความปลอ ยวาง ความไมอ าลยั ในตณั หานน้ั
สา โข ปะเนสา ภิกขะเว ตัณหา ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ก็ตณั หานนั้ นั่นแล
กตั ถะ ปะหยี ะมานา ปะหยี ะติ เมือ่ จะละเสีย ยอ มละเสยี ไดใ นที่ไหน?
กตั ถะ นริ ชุ ฌะมานา นริ ุชฌะต ิ ฯ เมอ่ื จะดับไป ยอ มดับไปไดในที่ไหน?
ยงั โลเก ปยิ ะรูปัง สาตะรปู งั ท่ีใด เปนท่ีรกั ใคร เปน ที่พอใจ ในโลก
เอตเถสา ตัณหา ปะหียะมานา ปะหียะติ ตัณหานนั้ เมอ่ื จะละเสยี ยอมละเสยี ไดในทน่ี นั่ .
เอตถะ นิรุชฌะมานา นริ ุชฌะต ิ ฯ เมอื่ จะดับไป ยอมดับไปไดใ นทนี่ ่ัน.
กิญจะ โลเก ปิยะรูปงั สาตะรปู ัง ฯ กอ็ ะไรเลา เปนทีร่ กั ใคร เปนทพ่ี อใจ ในโลก?
๑) จักขงุ โลเก [โสตงั / ฆานัง/ ชิวหา/ ตา/ หู/ จมูก/ ลิน้ / กาย/ ใจ
กาโย/ มะโน]
[R ปยิ ะรปู ัง สาตะรูปงั [R เปน ทรี่ ักใคร เปนทพ่ี อใจ ในโลก
เอตเถสา ตณั หา ปะหียะมานา ปะหยี ะติ ตณั หาน่นั เมือ่ จะละเสีย ยอ มละเสียทนี่ นั่ .
เอตถะ นิรชุ ฌะมานา นิรุชฌะติ ฯ] เมอ่ื จะดับไป ยอมดบั ไปท่นี น่ั .]
๒) รูปา โลเก [สทั ทา/ คันธา/ ระสา/ รปู / เสยี ง/ กล่ิน/ รส/
โผฏฐพั พา/ ธมั มา][R] โผฏฐพั พะ/ ธรรมารมณ [R]
๓) จกั ขวุ ญิ ญาณัง โลเก [โสตะ/ ฆานะ/ การเห็น/ การไดย นิ / การไดก ล่นิ / การรูรส/
ชวิ หา/ กายะ/ มะโน] [R] การรสู ิ่งตองกาย/ การรูเรื่องในใจ [R]
๔) จกั ขุสัมผสั โส โลเก ” [R] สัมผัสทาง ตา/ หู/ จมูก/ ล้นิ / กาย/ ใจ [R]
๕) จกั ขสุ มั ผสั สะชา เวทะนา โลเก ” [R] เวทนาทเ่ี กดิ จากสมั ผัสทางตา „ [R]
๖) รูปะสญั ญา โลเก [สัททะ/ คันธะ/ ความจาํ ไดหมายรูใน รปู / เสยี ง/ กล่นิ /
ระสะ/ โผฏฐพั พะ/ ธมั มะ] [R] รส/ โผฏฐพั พะ/ ธรรมารมณ [R]
๗) รปู ะสญั เจตะนา โลเก ” [R] ความจงใจใน รปู „ [R]
๘) รูปะตัณหา โลเก ” [R] ความอยากใน รปู „ [R]
๙) รปู ะวติ ักโก โลเก ” [R] ความตรกึ ใน รูป „ [R]
๑๐) รูปะวิจาโร โลเก ” [R] ความตรองใน รปู „ [R]
อทิ ัง วจุ จะต ิ ภิกขะเว ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา-
ทกุ ขะนโิ รโธ อะรยิ ะสัจจงั ฯ อริยสัจ คือ ทกุ ขนิโรธ (ธรรมเปนท่ีดบั ทกุ ข).

28 มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร

ทกุ ขนิโรธคามินปี ฏปิ ทา

กะตะมัญจะ ภิกขะเว ดูกอนภกิ ษุทงั้ หลาย ก็อยา งไรเลา ?
ทกุ ขะนโิ รธะคามินี อริยสัจ คอื ทุกขนโิ รธคามนิ ีปฏปิ ทา
ปะฏปิ ะทา อะริยะสัจจัง ฯ (ขอปฏิบตั ิใหถ งึ ธรรมเปนท่ดี บั ทุกข)
อะยะเมวะ อะริโย อฏั ฐังคิโก มัคโค ทางอันประเสรฐิ ประกอบดวยองค ๘ นแ้ี ล
เสยยะถีทัง: สัมมาทิฏฐ ิ สมั มาสังกปั โป ทางน้ี คอื : ความเหน็ ชอบ ความดําริชอบ
สัมมาวาจา สมั มากัมมนั โต สัมมาอาชโี ว การเจรจาชอบ การกระทําชอบ การเลยี้ งชีพชอบ
สมั มาวายาโม สมั มาสะติ สัมมาสะมาธ ิ ฯ ความพยายามชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั จิตม่นั ชอบ
กะตะมา จะ ภกิ ขะเว สัมมาทฏิ ฐิ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย สมั มาทฐิ คิ วามเหน็ ชอบเปน อยา งไร
ยงั โข ภิกขะเว ทกุ เข ญาณัง ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ความรอู นั ใดเปน ความรใู นทกุ ข
ทุกขะสะมทุ ะเย ญาณัง ความรูในเหตุใหเกดิ ทกุ ข

ทกุ ขะนิโรเธ ญาณัง ความรูใ นธรรมเปน ทดี่ บั ทุกข

ทกุ ขะนโิ รธะคามนิ ยิ า ปะฏปิ ะทายะ ญาณงั ความรใู นขอปฏบิ ตั ิใหถ งึ ธรรมเปน ทด่ี ับทุกข
อะยงั วุจจะต ิ ภิกขะเว สมั มาทฏิ ฐิ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ้ังหลาย น้ีเราเรยี กวา สัมมาทฐิ ิ
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สัมมาสงั กปั โป ฯ ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย สัมมาสงั กปั ปะ (ความดํารชิ อบ)-
เนกขมั มะสงั กัปโป เปนอยางไร? ความดาํ รใิ นการออกจากกาม
อัพยฺ าปาทะสงั กปั โป ความดาํ รใิ นความไมพยาบาท
อะวหิ ิงสาสังกัปโป ความดาํ ริในการไมเบยี ดเบยี น
อะยัง วุจจะต ิ ภกิ ขะเว สัมมาสังกปั โป ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา สมั มาสงั กปั ปะ.
กะตะมา จะ ภกิ ขะเว สมั มาวาจา ฯ ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย สัมมาวาจา (การเจรจาชอบ)-
มุสาวาทา เวระมะณี เปน อยางไร? การเวนจากการกลา วเทจ็
ปสิ ณุ ายะ วาจายะ เวระมะณี การเวนจากวาจาสอ เสยี ด
ผะรสุ ายะ วาจายะ เวระมะณี การเวนจากวาจาหยาบ
สมั ผปั ปะลาปา เวระมะณี การเวนจากการเจรจาเพอเจอ
อะยงั วจุ จะติ ภิกขะเว สัมมาวาจา ฯ ดกู อนภกิ ษุทั้งหลาย นีเ้ ราเรียกวา สัมมาวาจา.
กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มากมั มนั โต ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย สมั มากมั มนั ตะ (การกระทาํ ชอบ)-
ปาณาติปาตา เวระมะณี เปน อยางไร? การเวน จากการฆา สตั ว
อะทนิ นาทานา เวระมะณี การเวน จากการถอื เอาสงิ่ ของที่เจา ของไมไดใ ห
กาเมส ุ มิจฉาจารา เวระมะณี การเวนจากความประพฤติผิดในกาม
อะยัง วจุ จะต ิ ภกิ ขะเว สัมมากมั มันโต ฯ ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย น้ีเราเรียกวา สัมมากัมมนั ตะ.

มหาสติปฏั ฐานสตู ร 29

กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาอาชโี ว ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย สมั มาอาชวี ะ (การเลย้ี งชพี ชอบ)
อธิ ะ ภกิ ขะเว อะรยิ ะสาวะโก เปน อยา งไร? ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย พระอรยิ สาวก-
มิจฉาอาชวี ัง ปะหายะ ในธรรมวินยั น้ี ละการเลยี้ งชีวติ ทีผ่ ดิ เสยี
สัมมาอาชีเวนะ ชีวกิ งั กปั เปติ ยอ มสาํ เรจ็ ความเปน อยดู ว ยการเลยี้ งชวี ติ ทช่ี อบ.
อะยงั วุจจะต ิ ภกิ ขะเว สมั มาอาชโี ว ฯ ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย น้เี ราเรียกวา สัมมาอาชีวะ.

กะตะโม จะ ภิกขะเว สมั มาวายาโม ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย สมั มมหาาวสตาิปยฏั าฐมานะส(ตู ครวา2มพ9ยายามชอบ)
อิธะ ภกิ ขะเว ภิกขุ
เปนอยางไร? ดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษใุ นธรรมวินัยน้ี

กะตอะโนมุป ปจะนั นภากิ นขงั ะ เปว าสปมัะกมานอังา ชอีโวะ กฯสุ ะลดากูนอ ังนภกิ ษทุ ง้ั หลาเพยอ่ื สจมั ะมยางั อากชศุ วี ละธ(รกรามรเอลนัย้ี เงปชนพี บชาอปบท) ยี่ งั ไมเ กดิ -
อธิ ะ ภกิ ขธะมั เมว าอนะังร ยิอะสนาปุ วปะโากทายะ เปน อยา งไร? ดกู อไมนใภหกิเ กษิดทุ ขงั้ ึ้นห,ลาย พระอรยิ สาวก-
มิจฉาอาชฉวี ันังท ปงั ะชหะาเยนะต ิ วายะมะติ ในธรรมวินยั นี้ ลยะอ กมายรังเลค้ียวางมชพวี ิตอทใจี่ผใหิดบเสังยีเกดิ , ยอ มพยายาม
สัมมาอาชวีเริ วิยนงั ะ อ ชาีวรกิะภัง ะกตปั ิ เปติ ยอ มสาํ เรจ็ ความยเปอน มอปยรดูารว ภยคกวามารหมเาลเสพตยี้ ปิยี งฏั รชฐา,วีนสติ ตู ทร ช่ี อ2บ9 .
อะยัง วจุ จจิตะตงัิ ภ ปิกัคขคะเณั ว หสามั ตมิ ปาอะาทชะีโหวะ ฯติ ดูกอ นภิกษุทง้ั หลยาอยมปนรี้เะรคาเอรงยี ตก้งั วจาติ ไสวัม. มาอาชวี ะ.
กะตะโโมม อจจะุปะ ป ภภนั กิ ิกนขขาะะนเวเังว ส ปสมั าัมปมาะวกาาอายนาาชงัโ โีมอว ะฯฯกสุ ะลดกูานอ นนงั ภภกิ กิ ษษทุเทุพง้ั งั้ห่ือหลจลาะยาลยสะสมัอมั กามศุวาาลอยธาชรมวีระะม(ค(-กวารมเพลยี้ างยชาพี มชอบ)
อิธะ ภิกขธะัมเมว าภอนะกิังร ขยิปุ ะะสหาาวนะาโยกะ เปปนนออยยางา ไงรไ?อร?นัดเดกู ปอกู น อ ภบนิกาภษปกิุททษ้ัง่เี หกทุ ลดิงั้ าหขยลึ้นภาแกิยลษวพใุ น,รธะรอรรมยิวินสัยาวนก้ี -
อมะจิ นฉปุาอปานั ชฉนวี นั งัาท นปงั ะชปหะาเปยนะตกิ าวนายัง ะอมะะกตสุ ิ ะลานงั ในธรรเมพวอ่ื นิยจยัะอยนมงั ้ียอลงักะคศุ กวลาธรมรเรพลมย้ีอองใจชนั ใีวเปหติ น บทบงัี่ผาเปกิดิดเทส,ย่ี ยี งัยไอมมเ กพดิ ย- ายาม
ธสัมมานอางั ช วอเีริ วะยิ นนังะ ุปอ ปชาวีารทกิะภงัาย ะกะตปั ิ เปติ ยอ มสาํไเมรใจ็ ยหคอเกวมาิดปมขรเ้นึ ปา,รน ภอคยวดู าว มยเกพาียมรหรเาล,สตยี้ ปิ งัฏชฐาวีนติสูตทร ช่ี อ2บ9.
ฉอะนั ยทงั ัง วชุจะจจเติ ะนตตงัิ ิ ภ วปกิาคัยขะคมเณั วะ หตสาิมั ตมิ ปาอะาทชะโี หวะ ฯติ ดกู อนยภอิกมษยยุทอ งั มง้ั คหปวลรามาะยคพอนงใ้เีจตรใัง้าหเจรบิตียงั ไกเวกว.ิดา, สยัมอ มพาอยาาชยีวาะม.
วิรยิ งั กอะาตระะโโภมมะ ตอจจะิ ะ น ภภุปิกิกปขขนัะะเนวเว าส นสัมังมั กมาวสุ าาอะยลาาชาโนีโมวัง ฯฯ ดกู อ นนภภยกิ กิอ ษษมทุ ทุปงั้ ง้ัหรหลารลาภยาเพยคสือ่วสมั าจมั มะามเวยพาาองัยียการชมศุ ,วีะละ(ธค(กรวรารมเพลทย้ีย่ างงัยชไาพีมชเ กอดิบ-)
จอิตธะต งั ภ ปิกขัคธะัมคเมณัว าหภอนาะกิงั ตร ขิย อุ ปะปุ สะปทาาวะทะหโาะกยตะิ เปปนน ออยยายงา ไองรไม?รป?ดรดกู ะอกูคนอใภหนงกิ ตเภกษงั้ กิุทดจษ้งัขติ หทุึน้ไลวง้ั,า.หยลภากิยษพุในรธะรอรรมยิวนิสยัาวนกี้ -
อมะิจนฉุปาอปปุานั ชปฉนีวนั งัานทน ปาังน ะชงัปห ะาปเปยนาะปตกะ ิ ากวนายนัง ะงั อม อะะกะตกสุ ิ สุ ะะลลาานนงั งั เใพนื่อธจรระเมลพะวอื่ อนิจกัยะยศุนงั ล้ีอลธยกระศุอ รกมลมาธยร-รงัเรลคม้ยีวอางมชนั วีพเปิตอน ทใบจผ่ี าใปิดหเบทสงยี่ั ียเงักไดิมเ,กยดิ อ -มพยายาม
ธสัมมานองัาช วปอิรีเวะยิ นหังะ ปุาอ นปชาาีวารยทกิะะภงัาย ะกะตปั ิ เปติ อยันอ มเปสนาํไบเมราใจ็ หปคเทกวี่เิดากมขิดยเน้ึ ปขอ,้ึน มแอปลยรวดู า,รว ภยคกาวราเมลเยี้พงียชรวี ,ติ ทช่ี อบ.
ฉอะันยทงั งั วชจุ ะจจเิตะนตตงั ิ ิ ภ วปกิาคัยขะคมเณั วะ หตสาิ มั ตม ิ ปาอะาทชะโี หวะ ฯติ ยดอกู มอยนงัยภคอิกวมษายุทมัง้งัพคหอวลยาใมาจอ ยพใมหอปนบใรี้เจังระใเาคกหเริดอบียงั,ตเกกยว้งั ดิอจา ,มติ สยพไัมวอย.มาพยาอายามาชยวี าะม.
วิรยิ ัง กอะาตระะโภมะ ตอจะปุิ ปภันกิ นขะาเนวัง ส กมั ุสมะาลวายนางั โม ฯ ยดกูอ อมนปภรยกิ าอษรมทุเภพปงั้ คหื่อรวาลคราวมภยาเคสมพวมั ตยีามมงั้ราอ,เวพยายียู ารเมพ,ะ่อื ม(คหาวสาตามิปมฏัพไฐยมานาเสยลตู ารอมะช2เอล9บือ)น-
จอิตธะต งั ภ ปกิ ขัคธะมัคเมัณว าหภนากิังต ขิ ฐุ ปติ ะยิ ทาะ อหะสตัมิ โมสายะ ยเปอนมอยปา รยงะไอ รคม?เอพปดงอ่ืรูกตะคอคงั้ วนจอาภติงมิกตไงษวั้งอุท.จก้ังติ หงไลาวมา.ยยิง่ภขิกน้ึษุในเพธรอ่ื รคมวนิาัยมนไพี้ บลู ย-
อะนปุ อกปปุะันนตปภนะุปนัยิ าโปโนมนยาัน งัภนจ นางัปะาว านปาภปยงัาิกะ ปกข ะะเสุากวเนะาวปลนงั ุล าสงั อลน ัมอาะงั มยะกกาะุสอสุ ะาะลชลาโีานวนงั ังฯ เดพกู ่ืออ จนะภเลพกิ ะอ่ืษออเจจทุพกะะง้ัื่อยศุ หยงัคลงัอวธกาายรุศมรสลเมจมัธ-รมริญรามอมาอทเชพนัี่ยวเ่อืะังปคไน(มกวบาเการมปเิดลเตท-ยี้ ย่ีม็งงัชรไพีอมชบเ กอ-ดิบ-)
ธอัมิธะม าภนิกงั ข ภอปะาเุปะวนหะป นุปอานาะทปยราายิะท ะาปสยาะรวิปะโรู กยิ า อเปนั น เปอยน ใไาบมหงาใไเกแปหร?หิดเทกงขด่ีเิดกึ้นกู ขิดุศ,อนึ้ ขลน,ึน้ธภแรกิ รลษมว ทุ , ง้ัี่เหกิดลาขยึ้นพแลระว อ, รยิ สาวก-
ฉมันิจฉทางั อ ชาชะฉเีวันังทต ปงัิ วะชาหะยาเะยนมะตะิ ตวิ ายะมะติ ยในอ ธมรยรงัยมคอววมินยายยัอมงั นมพคี้ยอวลงัาใะมคจกพใวหาอรมบใเจพลังใเีย้อกหงใิดบจชงั,ใวี เหิตกยเิดทอดก,ม่ผีดิ ยพิดขอ เย้นึ สมา,ยีพยายอมามยาพมยายาม
วสิรมั ยิ มงั า อาชวริรเีะวยิภนงัะะ ตอ ิชาีวรกิะภงั ะกตปั ิ เปติ ยอ มสปาํยรเาอรรจ็มยภคปอควรรมวาาปารมรมภรภเปเคาคพรนววภียาอามรคยม,เวดูพเพาวียมยี รเร,กพ,ายี รรเล, ยี้ งชวี ติ ทช่ี อบ.
จอติะยตังงั วปจุ คัจจิตคะตณั ังิ หภ าปกิ ตัคขิ คะปเัณะวท หสะามัหตมะ ิ ปตาอิะาทชะีโหวะ ฯต ิ ฯ ยดอกู มอปนยรภะอกิ คมษยอปุทองรรมงั้ตะะหปคัง้คลจรออาะติงยงคตไตวอง้ั น้งั.จงจีเ้ติ รติ ไั้งาวไจเวร. ิต.ียไกวว.า สัมมาอาชีวะ.
อกปุะตนปอะปุะันโยปนมนังานั า จนนวะังุจังา จ นภปกะิกังาสุต ปขกะิ ะภลุสเกวาิกะา นลนขสงัาะัมน เมวอังา ะวสกาัมุสยมะาลโามาวน าฯยงั าโมเด พกูฯ่อื คนจภะวเลกิาพมษะอ่ื อตทุดจกง้ักูะหอศุ อยลยลนงัาูยธกภเรศุพสิกรมัลอ่ืษมมธคทุ-ารวงั้ ราหมยลทาไมาม่ยี ะเังล(ไคนอมวเี้ ะรเากมเาลเิดพรอื -ยียนากย-วามาสชอมั บม)าวายามะ.
ธอมัิธะม าภนกิ ังข ฐอปะเิตปุะวหิยป าภกา นทิกะอตาขะยะุสะมมั าโ มจสะา ยภะกิ ขะเว สัมมาสะตเอปพันิ น อ่ืฯเอปคยนวา ใงาบหไมราเ ?งกดปอิดกูทกอขูก่ีเกงอึน้ าิดน,ภมภขกิยกิ้นึ ษิง่ษแขทุ ลน้ึ ั้งงั้ วหห,ลเลพาายอ่ื ยคภสวกิ มัาษมุในไาพธสรตบรมิลู (วคยินว-ยั านม้ี ระลกึ ชอบ)-
ภฉอะันิยนโทยุปงั ภ ปชาันวะอนาเธินยาะะตน ิภังเว วกิ ปาปขยาลุะปเลมวะาะ กยภตาะิกนขงั ุ อะกุสะลานัง เยพอ่อื มคยวงัยเาพคอมอ่ื วมเจปจายะมรน งยั ิญพอคงั ยอวากใเงพมจศุ ไใพรล่ือห?ธคอบรดใวรจงักูามเใมอ กหอนเดิบตนัภ,งัม็เกิ ปเยรกษน อดุทิ บบมงั้,าห-ยปพลอ ยทามยา่ี พยงั ภไายิกมาษเยกุใาดินม-ธรรมวนิ ยั นี้
ภวธริัมาิยวมงัะา นนอางัาย ระอะ ะภปนะาปุตรปิ ารู ทยิ ายะ แยหอ มงกปุศยไรมลาอ รใธมหภรปเครกรมวิดาาทรขม่ีเภึ้นกเคพ,ดิ วียขาร้นึม,แเพลยีว ,ร,
ฉจิตนั ตทัง ปชะัคเคนณั ตหิ วาาตยิ ะปมะะทตะิ หะติ ยอ มยปงัยรคะอควมาอยปมงัรพตคะ้งัอวคจาใอมติจงพใไตหวอ้ัง.เใกจจิตดใหไขวบนึ้ .ัง,เกยดิ อ,มยพอยมาพยยามายาม

30 มหาสติปัฏฐานสูตร

กาเย กายานุปสั สี วหิ ะระติ ยอมเปนผตู ามพจิ ารณาเห็นกายในกายอยู

อาตาป  สัมปะชาโน สะตมิ า มีความเพียรเผากเิ ลส มีสัมปชัญญะ มีสติ

วเิ นยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนสั สัง ถอนความยินดีและยนิ รา ยในโลกออกเสียได.

เวทะนาส ุ เวทะนานปุ ัสส ี วิหะระติ ยอมเปนผตู ามพิจารณาเหน็ เวทนาในเวทนาอยู
มีความเพยี รเผากิเลส มสี ัมปชญั ญะ มีสติ
อาตาป  สัมปะชาโน สะตมิ า
ถอนความยินดแี ละยินรายในโลกออกเสียได.
วิเนยยะ โลเก อะภชิ ฌาโทมะนสั สัง
ยอมเปน ผตู ามพิจารณาเห็นจติ ในจติ อยู
จิตเต จติ ตานปุ สั ส ี วหิ ะระติ
มคี วามเพียรเผากเิ ลส มสี ัมปชัญญะ มสี ติ
อาตาป  สมั ปะชาโน สะตมิ า
ถอนความยนิ ดแี ละยนิ รายในโลกออกเสยี ได.
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนสั สัง
ยอมเปน ผตู ามพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมอยู
ธัมเมส ุ ธมั มานปุ สั ส ี วิหะระติ
มีความเพยี รเผากิเลส มสี ัมปชญั ญะ มสี ติ
อาตาป สัมปะชาโน สะติมา
วเิ นยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสงั ฯ ถอนความยินดแี ละยนิ รา ยในโลกออกเสยี ได.
ดูกอนภกิ ษุทัง้ หลาย นเี้ ราเรยี กวา สัมมาสติ.
อะยงั วจุ จะติ ภกิ ขะเว สัมมาสะติ ฯ

กะตะโม จะ ภกิ ขะเว สมั มาสะมาธิ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย สมั มาสมาธิ (ความตงั้ จติ มน่ั ชอบ)-

อธิ ะ ภิกขะเว ภกิ ขุ เปน อยางไร? ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภิกษุในธรรมวินยั นี้

ววิ จิ เจวะ กาเมหิ สงดั แลวจากกามท้ังหลาย (กามฉนั ทะนวิ รณ)

วิวิจจะ อะกสุ ะเลหิ ธมั เมหิ สงดั แลว จากธรรมทเ่ี ปน อกศุ ลทง้ั หลาย (นวิ รณท เ่ี หลอื )

สะวิตักกัง สะวิจารัง วเิ วกะชัง ปตสิ ขุ ัง ประกอบดว ยวิตก วจิ าร มปี ตแิ ละสขุ อันเกดิ จากวเิ วก

ปะฐะมัง ฌานัง อปุ ะสัมปัชชะ วหิ ะระติ เขา ถึงปฐมฌานแลวแลอย.ู

วิตักกะวจิ ารานงั วปู ะสะมา เพราะความทวี่ ิตกและวิจารระงับลง

อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เปนเคร่อื งผอ งใสแหงใจภายใน

เจตะโส เอโกทภิ าวงั ใหสมาธิเปน ธรรมอันเอก ผุดมีข้นึ .

อะวิตกั กงั อะวจิ ารงั สะมาธชิ ัง ปติสขุ ัง ไมม วี ติ ก ไมม วี จิ าร มแี ตป ต แิ ละสขุ ทเ่ี กดิ จากสมาธิ

ทตุ ิยัง ฌานงั อุปะสมั ปชั ชะ วหิ ะระติ เขา ถึงทุติยฌานแลว แลอยู.

ปตยิ า จะ วริ าคา อุเปกขะโก จะ วหิ ะระติ อนงึ่ เพราะความจางคลายไปแหง ปต ิ ยอ มเปน ผอู ยอู เุ บกขา

สะโต จะ สัมปะชาโน มีสติ และสมั ปชญั ญะ

สขุ ัญจะ กาเยนะ ปะฏสิ ังเวเทติ และเสวยความสุขอยูด ว ยนามกาย

ยันตงั อะริยา อาจกิ ขันติ ชนดิ ทพ่ี ระอรยิ เจา ทง้ั หลายยอ มกลา วสรรเสรญิ ผนู นั้ วา

‘อุเปกขะโก สะติมา สุขะวหิ ารตี ิ ”เปน ผูอยอู เุ บกขา มีสติ อยเู ปน ปกตสิ ุข„ ดังน้ี

ตะติยงั ฌานงั อปุ ะสมั ปัชชะ วหิ ะระติ เขา ถึงตติยฌานแลวแลอยู.

มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร 31

สุขสั สะ จะ ปะหานา เพราะละสขุ เสยี ได

ทุกขัสสะ จะ ปะหานา และเพราะละทกุ ขเสียได

ปพุ เพวะ โสมะนสั สะ- เพราะความทีโ่ สมนัสและ-

โทมะนสั สานัง อตั ถังคะมา โทมนัสทัง้ สอง ในกาลกอ น อสั ดงคดับไป

อะทกุ ขะมะสขุ งั ไมม ที ุกข ไมมีสุข

อเุ ปกขาสะติปาริสทุ ธิง มแี ตค วามทสี่ ตเิ ปน ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธเ์ิ พราะอเุ บกขา

จะตตุ ถัง ฌานัง อุปะสมั ปัชชะ วหิ ะระติฯ เขา ถึงจตุตถฌานแลวแลอยู.
อะยงั วจุ จะติ ภิกขะเว สมั มาสะมาธิ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย นีเ้ ราเรยี กวา สมั มาสมาธ.ิ
อิทงั วุจจะต ิ ภกิ ขะเว ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย น้เี ราเรียกวา
ทกุ ขะนโิ รธะคามนิ ปี ะฏปิ ะทา อะรยิ ะสจั จงั ฯ อรยิ สัจ คือ ทุกขนิโรธคามนิ ีปฏปิ ทา ดงั นี้

] อิต ิ อัชฌัตตงั วา ธมั เมสุ ] ภกิ ษยุ อ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทง้ั หลาย-
ธมั มานุปัสส ี วหิ ะระติ เปน ภายในบา ง.
พะหิทธา วา ธัมเมสุ ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้ังหลาย-
ธัมมานุปสั ส ี วหิ ะระติ เปน ภายนอกบาง.
อัชฌตั ตะพะหทิ ธา วา ยอ มพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย-
ธมั เมสุ ธมั มานปุ สั สี วิหะระติ ท้งั ภายในภายนอกบา ง.
สะมุทะยะธมั มานุปสั ส ี วา ยอ มพจิ ารณาเห็นธรรมดา-
ธมั เมส ุ วิหะระติ คอื ความเกิดขน้ึ ในธรรมบาง.
วะยะธมั มานปุ สั สี วา ยอมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
ธมั เมสุ วิหะระติ คือความเสื่อมไปในธรรมบาง.
สะมทุ ะยะวะยะธัมมานปุ สั สี วา ยอ มพจิ ารณาเหน็ ธรรมดา-
ธัมเมสุ วหิ ะระต ิ ฯ คอื ทง้ั ความเกดิ ขน้ึ ทงั้ ความเสอ่ื มไปในธรรมบา ง.
‘อัตถิ ธมั มาติ วา ปะนสั สะ ก็หรือสตขิ องเธอน้นั ที่ต้ังมั่นอย-ู
สะต ิ ปัจจุปัฏฐติ า โหติ วา ”ธรรมมีอย„ู .
ยาวะเทวะ ญาณะมตั ตายะ เพยี งเพอ่ื ญาณคอื ความรู
ปะฏิสสะติมัตตายะ ฯ เพียงเพอ่ื เปนท่ีอาศยั ระลกึ .
อะนสิ สโิ ต จะ วิหะระติ เธอยอ มเปน ผอู นั ตณั หาและทฐิ ไิ มอ าศยั อยดู ว ย.
นะ จะ กิญจ ิ โลเก อปุ าทยิ ะต ิ ฯ ยอมไมย ึดถอื อะไรๆ ในโลกดว ย.
เอวัมป ิ โข ภิกขะเว ภกิ ขุ ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย ภิกษุ-
ธัมเมส ุ ธัมมานุปัสสี วหิ ะระต ิ ฯ ยอ มตามพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมท้งั หลาย
จะตูส ุ อะริยะสัจเจส ุ ฯ คอื อริยสจั ท้ังสี่ อยา งน้ีแล.

32 มหาสติปัฏฐานสูตร

อานสิ งส การเจรญิ สติปัฏฐาน

โย ห ิ โกจิ ภิกขะเว อิเม จัตตาโร สะติปฏั ฐาเน ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ผใู ดผหู นง่ึ พงึ เจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔
เอวัง ภาเวยยะ สัตตะ วัสสานิ นี้อยางน้ัน ตลอด ๗ ป,

ตัสสะ ทวฺ ินนงั ผะลานัง ผูน น้ั พงึ หวงั ผล ๒ ประการ

อัญญะตะรัง ผะลัง ปาฏิกงั ขัง อนั ใดอันหนึ่ง คือ

ทฏิ เฐ วะ ธัมเม อญั ญา พระอรหตั ตผลในปจ จบุ นั ชาตินี้ ๑

สะติ วา อปุ าทเิ สเส อะนาคามิตา ฯ หรอื เมอื่ ยงั มีอปุ าทิ* เหลืออยู ก็เปนพระอนาคามี ๑.

ตฏิ ฐนั ตุ ภกิ ขะเว สัตตะ วัสสาน ิ ฯ ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลาย ๗ ป ยกไว.

โย หิ โกจิ ภิกขะเว อเิ ม จตั ตาโร สะตปิ ัฏฐาเน ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ผใู ดผหู นง่ึ พงึ เจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔
เอวงั ภาเวยยะ ฉะ วสั สาน/ิ ปัญจะ วัสสาน/ิ นอ้ี ยางน้ันตลอด ๖ ป. ..๕ ป
จตั ตาริ วัสสาน/ิ ตีณ ิ วัสสาน/ิ ...๔ ป. ..๓ ป

เทวฺ วัสสานิ/ เอกัง วัสสงั ...๒ ป. ..๑ ป ...

ติฏฐะตุ ภกิ ขะเว เอกงั วสั สัง ฯ ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ๑ ป ยกไว.

โย หิ โกจิ ภิกขะเว อิเม จตั ตาโร สะติปัฏฐาเน ดกู อ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ผใู ดผหู นงึ่ พงึ เจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔
เอวงั ภาเวยยะ สัตตะ มาสานิ นี้อยางน้ัน ตลอด ๗ เดอื น

ตสั สะ ทวฺ ินนงั ผะลานงั ผนู ั้นพงึ หวงั ผล ๒ ประการ

อัญญะตะรงั ผะลัง ปาฏกิ ังขัง อนั ใดอันหนึง่ คอื

ทิฏเฐ วะ ธัมเม อญั ญา พระอรหตั ตผลในปจจบุ นั ชาตนิ ้ี ๑

สะติ วา อปุ าทิเสเส อะนาคามิตา ฯ หรือเมือ่ ยังมีอปุ าทิ* เหลอื อยู ก็เปนพระอนาคามี ๑.

ตฏิ ฐันตุ ภกิ ขะเว สัตตะ มาสานิ ฯ ดกู อ นภกิ ษทุ ้งั หลาย ๗ เดือน ยกไว.

โย หิ โกจิ ภกิ ขะเว อิเม จตั ตาโร สะตปิ ัฏฐาเน ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ผใู ดผหู นง่ึ พงึ เจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔
เอวัง ภาเวยยะ ฉะ มาสาน/ิ ปญั จะ มาสาน/ิ น้ีอยางนั้นตลอด ๖ เดอื น...๕ เดอื น
...๔ เดอื น...๓ เดอื น...๒ เดือน
จตั ตาริ มาสาน/ิ ตีณ ิ มาสาน/ิ เทฺว มาสาน/ิ
เอกงั มาสงั / อฑั ฒะมาสงั ...๑ เดือน...ครง่ึ เดือน...

ตฏิ ฐะต ุ ภกิ ขะเว อฑั ฒะมาโส ฯ ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย คร่ึงเดือน ยกไว.

โย ห ิ โกจ ิ ภิกขะเว อเิ ม จตั ตาโร สะตปิ ฏั ฐาเน ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ผใู ดผหู นงึ่ พงึ เจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔
เอวงั ภาเวยยะ สัตตาหัง นี้อยางนัน้ ตลอด ๗ วนั ,

(*อปุ าทานกเิ ลส คอื ความยดึ มน่ั ดว ยอาํ นาจของตณั หาและทฐิ )ิ

ตัสสะ ทฺวินนัง ผะลานงั มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร 33
อัญญะตะรัง ผะลงั ปาฏิกงั ขัง
ทฏิ เฐ วะ ธมั เม อัญญา ผูน น้ั พงึ หวงั ผล ๒ ประการ
สะติ วา อปุ าทเิ สเส อะนาคามติ า ฯ อนั ใดอันหนึ่ง คือ
พระอรหตั ตผลในปจจบุ ันชาตนิ ี้ ๑
หรอื เมือ่ ยงั มีอปุ าทิเหลืออยู ก็เปนพระอนาคามี ๑.

นคิ มนกถา

‘เอกายะโน อะยัง ภกิ ขะเว มัคโค ”ดกู อ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ทางนเี้ ปนทางสายเอก
สัตตานงั วิสทุ ธยิ า เพอ่ื ความหมดจดวเิ ศษของสัตวทง้ั หลาย
โสกะปะริเทวานัง สะมะตกิ กะมายะ เพอ่ื กา วลว งซง่ึ ความโศกและความร่าํ ไร
ทกุ ขะโทมะนัสสานงั อัตถงั คะมายะ เพอื่ อัสดงคดบั ไปแหงทุกขแ ละโทมนัส
ญายัสสะ อะธิคะมายะ เพอื่ บรรลญุ ายธรรม
นพิ พานสั สะ สจั ฉกิ ิรยิ ายะ เพอ่ื กระทําพระนิพพานใหแ จง .
ยะทิทงั จัตตาโร สะตปิ ัฏฐานาติ ฯ ทางนค้ี อื สตปิ ฏฐาน ๔ ดวยประการฉะน้ี.
อติ ิ ยันตงั วุตตงั คาํ อนั ใด ทีก่ ลา วแลว อยางนี้
อิทะเมตงั ปะฏิจจะ วุตตันติ ฯ คําอนั นนั้ เราอาศัยสตปิ ฏฐาน ๔ นีก้ ลา วแลว ดงั น้ี.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั พระสตู รน้จี บลงแลว.
อตั ตะมะนา เต ภิกขู ภกิ ษเุ หลา นั้น มีใจยนิ ดเี พลิดเพลินนัก-
ภะคะวะโต ภาสติ ัง อะภนิ นั ทนุ ต ิ ฯ ซ่ึงภาษิตของพระผูม พี ระภาคเจา-
ดวยประการฉะน้แี ล.

มะหาสะติปัฏฐานะสตุ ตัง นฏิ ฐิตงั
มหาสตปิ ฏ ฐานสตู ร จบเทาน้ี

Satiñca khavāhaṃ bhikkhave sabbatthikaṃ vadāmi.

Mindfulness, bhikkhus, I say is neeeded everywhere.

Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ 1

Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ

The Great Discourse of the Establishments of Mindfulness

Uddesavārakathā Introduction

Evamme sutaṃ. Thus have I heard.
Ekaṃ samayaṃ bhagavā On one occasion the Blessed One was
kurūsu viharati kammāsadhammaṃ in the Kuru country where there was
nāma kurūnaṃ nigamo. a town of the Kurus named Kammāsadhamma.
Tatra kho bhagavā bhikkhū āmantesi, There the Blessed One addressed the bhikkhus
“bhikkhavo” ti. “Bhadante” ti te thus: “Bhikkhus.” “Bhante,”
bhikkhū bhagavato paccassosuṃ. the bhikkhus replied to the Blessed One.
Bhagavā etadavoca: The Blessed One said this:

“Ekāyano ayaṃ bhikkhave maggo “Bhikkhus, this is the one-way path
sattānaṃ visuddhiyā, for the purification of beings,
sokaparidevānaṃ samatikkamāya, for the surmounting of sorrow and lamentation,
dukkhadomanassānaṃ atthaṅgamāya, for the passing away of pain and dejection,
ñāyassa adhigamāya, for the attainment of the true way,
nibbānassa sacchikiriyāya, for the realisation of Nibbāna,
yadidaṃ cattāro satipaṭṭhānā. namely, the four establishments of mindfulness.
Katame cattāro? What are the four?

Idha bhikkhave bhikkhu Here, bhikkhus, a bhikkhu
kāye kāyānupassī viharati dwells contemplating the body in the body,
ātāpī sampajāno satimā ardent, clearly comprehending, and mindful,
vineyya loke having subdued
abhijjhādomanassaṃ, longing and dejection in regard to the world.
vedanāsu vedanānupassī viharati He dwells contemplating feelings in feelings,
ātāpī sampajāno satimā ardent, clearly comprehending, and mindful,
vineyya loke having subdued
abhijjhādomanassaṃ, longing and dejection in regard to the world.
citte cittānupassī viharati He dwells contemplating mind in mind,
ātāpī sampajāno satimā ardent, clearly comprehending, and mindful,
vineyya loke having subdued
abhijjhādomanassaṃ, longing and dejection in regard to the world.
dhammesu dhammānupassī viharati He dwells contemplating phenomena in
ātāpī sampajāno phenomena, ardent, clearly comprehending, and
satimā vineyya loke mindful, having subdued
abhijjhādomanassaṃ. longing and dejection in regard to the world.

2 Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ Contemplation of the Body
Mindfulness of Breathing
Kāyānupassanā
Ānāpānapabbaṃ. And how, bhikkhus, does a bhikkhu
dwell contemplating the body in the body?
Kathañca bhikkhave bhikkhu Here, bhikkhus, a bhikkhu,
kāye kāyānupassī viharati? gone to the forest, to the foot of a tree,
Idha bhikkhave bhikkhu or to an empty hut,
araññagato vā rukkhamūlagato vā sits down; having folded his legs crosswise,
suññāgāragato vā straightened his body, and
nisīdati pallaṅkaṃ ābhujitvā, established mindfulness in front of him.
ujuṃ kāyaṃ paṅidhāya Just mindful he breathes in,
parimukhaṃ satiṃ upaṭṭhapetvā. mindful he breathes out.
so sato va assasati Breathing in long,
sato passasati, he understands: ‘I breathe in long’;
dīghaṃ vā assasanto or breathing out long,
dīghaṃ assasāmīti pajānāti, he understands: ‘I breathe out long.’
dīghaṃ vā passasanto Breathing in short,
dīghaṃ passasāmīti pajānāti, he understands: ‘I breathe in short’;
rassaṃ vā assasanto or breathing out short,
rassaṃ assasāmīti pajānāti, he understands: ‘I breathe out short.’
rassaṃ vā passasanto He trains thus: ‘I will breathe in
rassaṃ passasāmīti pajānāti, experiencing the whole body’;
sabbakāyapaṭisaṃvedī he trains thus:‘I will breathe out
assasissāmīti sikkhati, experiencing the whole body.’
sabbakāyapaṭisaṃvedī He trains thus: ‘I will breathe in
passasissāmīti sikkhati, tranquilising the bodily formation’;
passambhayaṃ kāyasaṅkhāraṃ he trains thus: ‘I will breathe out
assasissāmīti sikkhati, tranquilising the bodily formation.’
passambhayaṃ kāyasaṅkhāraṃ Just as, bhikkhus, a skilled
passasissāmīti sikkhati. lathe-worker or his apprentice,
Seyyathāpi bhikkhave dakkho when making a long turn,
bhamakāro vā bhamakārantevāsī vā understands: ‘I make a long turn’;
dīghaṃ vā añchanto or, when making a short turn,
dīghaṃ añchāmīti pajānāti, understands: ‘I make a short turn’;
rassaṃ vā añchanto so too, bhikkhus, a bhikkhu
rassaṃ añchāmīti pajānāti. breathing in long,
evameva kho bhikkhave bhikkhu he understands: ‘I breathe in long’;
dīghaṃ vā assasanto or breathing out long,
dīghaṃ assasāmīti pajānāti, he understands: ‘I breathe out long.’
dīghaṃ vā passasanto Breathing in short,
dīghaṃ passasāmīti pajānāti, he understands: ‘I breathe in short’;
rassaṃ vā assasanto or breathing out short,
rassaṃ assasāmīti pajānāti,
rassaṃ vā passasanto

rassaṃ passasāmīti pajānāti, Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ 3
sabbakāyapaṭisaṃvedī
assasissāmīti sikkhati, he understands: ‘I breathe out short.’
sabbakāyapaṃisaṃvedī He trains thus: ‘I will breathe in
passasissāmīti sikkhati, experiencing the whole body’;
passambhayaṃ kāyasaṅkhāraṃ he trains thus:‘I will breathe out
assasissāmīti sikkhati, experiencing the whole body.’
passambhayaṃ kāyasaṅkhāraṃ He trains thus: ‘I will breathe in
passasissāmīti sikkhati. tranquilising the bodily formation’;
he trains thus: ‘I will breathe out
Iti ajjhattaṃ vā kāye tranquilising the bodily formation.’
kāyānupassī viharati,
bahiddhā vā kāye In this way he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body internally,
ajjhattabahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
samudayadhammānupassī vā or he dwells contemplating the body
kāyasmiṃ viharati, in the body both internally and externally.
vayadhammānupassī vā Or else he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of arising,
samudayavayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati. its nature of vanishing,
‘Atthi kāyo’ ti vā panassa or he dwells contemplating in the body
sati paccupaṭṭhitā hoti its nature of both arising and vanishing.
yāvadeva ñāṇamattāya Or else mindfulness that ‘there is a body’
paṭissatimattāya. is simply established in him
Anissito ca viharati to the extent necessary for bare knowledge and
na ca kiñci loke upādiyati. repeated mindfulness.
Evampi bhikkhave bhikkhu And he dwells independent,
kāye kāyānupassī viharati. not clinging to anything in the world.
That is how, bhikkhus, a bhikkhu
Iriyāpathapabbaṃ dwells contemplating the body in the body.

Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu The Four Postures
gacchanto vā gacchāmīti pajānāti,
ṭhito vā ṭhitomhīti pajānāti, Again, bhikkhus, a bhikkhu
nisinno vā nisinnomhīti pajānāti, when walking, understands: ‘I am walking’;
sayāno vā sayānomhīti pajānāti, when standing, he understands: ‘I am standing’;
Yathā yathā vā panassa kāyo paṇihito when sitting, he understands: ‘I am sitting’; when
hoti tathā tathā nampajānāti. lying down, he understands: ‘I am lying down’;
or however his body is disposed,
Iti ajjhattaṃ vā kāye he understands it accordingly.
kāyānupassī viharati,
bahiddhā vā kāye In this way he dwells contemplating the body
in the body internally,
or he dwells contemplating the body

4 Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ in the body externally,
or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body both internally and externally.
ajjhattabahiddhā vā kāye Or else he dwells contemplating in the body
kāyānupassī viharati, its nature of arising,
samudayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of vanishing,
vayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of both arising and vanishing.
samudayavayadhammānupassī vā Or else mindfulness that ‘there is a body’
kāyasmiṃ viharati. is simply established in him
‘Atthi kāyo’ti vā panassa to the extent necessary for bare knowledge and
sati paccupaṭṭhitā hoti repeated mindfulness.
yāvadeva ñāṇamattāya And he dwells independent,
paṭissatimattāya. not clinging to anything in the world.
Anissito ca viharati That is how, bhikkhus, a bhikkhu
na ca kiñci loke upādiyati. dwells contemplating the body in the body.
Evampi bhikkhave bhikkhu
kāye kāyānupassī viharati. Clear Comprehension

Sampajaññapabbaṃ Again, bhikkhus, a bhikkhu is one
who acts with clear comprehension
Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu when going forward and returning,
abhikkante paṭikkante who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when looking ahead and looking away;
ālokite vilokite who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when bending and stretching his limbs;
sammiñjite pasārite who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when wearing his robes and
saṅghāṭipattacīvaradhāraṇe carrying his outer robe and bowl;
who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when eating, drinking, chewing, and tasting;
asite pīte khāyite sāyite who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when defecating and urinating;
uccārapassāvakamme who acts with clear comprehension
sampajānakārī hoti, when walking, standing, sitting, falling asleep,
gate ṭhite nisinne sutte waking up, talking and keeping silent.
jāgarite bhāsite tuṇhībhāve
sampajānakārī hoti. In this way he dwells contemplating the body
in the body internally,
Iti ajjhattaṃ vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
bahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body both internally and externally.
ajjhattabahiddhā vā kāye
kāyānupassī viharati,

samudayadhammānupassī vā Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ 5
kāyasmiṃ viharati,
vayadhammānupassī vā Or else he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of arising,
samudayavayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati. its nature of vanishing,
‘Atthi kāyo’ti vā panassa or he dwells contemplating in the body
sati paccupaṭṭhitā hoti its nature of both arising and vanishing.
yāvadeva ñāṇamattāya Or else mindfulness that ‘there is a body’
paṭissatimattāya. is simply established in him
Anissito ca viharati to the extent necessary for bare knowledge and
na ca kiñci loke upādiyati. repeated mindfulness.
Evampi bhikkhave bhikkhu And he dwells independent,
kāye kāyānupassī viharati. not clinging to anything in the world.
That is how, bhikkhus, a bhikkhu dwells
Paṭikūlamanasikārapabbaṃ contemplating the body in the body.

Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu Unattractiveness of the Body
imameva kāyaṃ uddhaṃ pādatalā
adho kesamatthakā Again, bhikkhus, a bhikkhu reviews
tacapariyantaṃ pūrannānappakārassa this same body up from the soles of the feet
asucino paccavekkhati and down from the top of the hair,
atthi imasmiṃ kāye bounded by skin, as full of many kinds of
kesā lomā nakhā dantā taco impurity thus:
maṃsaṃ nahārū aṭṭhī aṭṭhimiñjaṃ 'In this body there are
vakkaṃ hadayaṃ yakanaṃ head-hairs, body hairs, nails, teeth, skin,
kilomakaṃ pihakaṃ papphāsaṃ flesh, sinews, bones, bone-marrow,
antaṃ antaguṇaṃ udariyaṃ karīsaṃ kidneys, heart, liver,
pittaṃ semhaṃ pubbo lohitaṃ sedo diaphragm, spleen, lungs,
medo assu vasā kheḷo siṅghāṇikā intestines, mesentery, stomach, feces,
lasikā muttanti. bile, phlegm, pus, blood, sweat,
Seyyathāpi bhikkhave fat, tears, grease, spittle, snot,
ubhatomukhā mūtoḷī oil of the joints, and urine.'
pūrā nānāvihitassa dhaññassa Just as though, bhikkhus, there were
seyyathīdaṃ sālīnaṃ vīhīnaṃ a bag with an opening at both ends
muggānaṃ māsānaṃ full of many sorts of grain,
tilānaṃ taṇḍulānaṃ such as hill rice, red rice,
tamenaṃ cakkhumā puriso muñcitvā beans, peas,
paccavekkheyya millet, and white rice,
ime sālī ime vīhī ime muggā and a man with good eyes were to open it
ime māsā ime tilā ime taṇḍulāti and review it thus:
evameva kho bhikkhave bhikkhu 'This is hill rice, this is red rice, these are beans,
imameva kāyaṃ uddhaṃ pādatalā these are peas, this is millet, this is white rice';
so too, bhikkhus, a bhikkhu reviews
this same body up from the soles of the feet and

6 Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ down from the top of the hair,
bounded by skin, as full of many kinds of
adho kesamatthakā impurity thus:
tacapariyantaṃ pūrannānappakārassa 'In this body there are
asucino paccavekkhati head-hairs, body hairs, nails, teeth, skin,
atthi imasmiṃ kāye flesh, sinews, bones, bone-marrow,
kesā lomā nakhā dantā taco kidneys, heart, liver,
maṃsaṃ nahārū aṭṭhī aṭṭhimiñjaṃ diaphragm, spleen, lungs,
vakkaṃ hadayaṃ yakanaṃ intestines, mesentery, stomach, feces,
kilomakaṃ pihakaṃ papphāsaṃ bile, phlegm, pus, blood, sweat,
antaṃ antaguṇaṃ udariyaṃ karīsaṃ fat, tears, grease, spittle, snot,
pittaṃ semhaṃ pubbo lohitaṃ sedo oil of the joints, and urine.'
medo assu vasā kheḷo siṅghāṇikā
lasikā muttanti. In this way he dwells contemplating the body
in the body internally,
Iti ajjhattaṃ vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
bahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body both internally and externally.
ajjhattabahiddhā vā kāye Or else he dwells contemplating in the body
kāyānupassī viharati, its nature of arising,
samudayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of vanishing,
vayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of both arising and vanishing.
samudayavayadhammānupassī vā Or else mindfulness that ‘there is a body’
kāyasmiṃ viharati. is simply established in him
‘atthi kāyo’ti vā panassa to the extent necessary for bare knowledge and
sati paccupaṭṭhitā hoti repeated mindfulness.
yāvadeva ñāṇamattāya And he dwells independent,
paṭissatimattāya. not clinging to anything in the world.
Anissito ca viharati That is how, bhikkhus, a bhikkhu dwells
na ca kiñci loke upādiyati. contemplating the body in the body.
Evampi bhikkhave bhikkhu
kāye kāyānupassī viharati. Elements

Dhātumanasikārapabbaṃ Again, bhikkhus, a bhikkhu
reviews this same body,
Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu however it is placed, however disposed,
imameva kāyaṃ as consisting of elements thus:
yathāṭhitaṃ yathāpaṇihitaṃ 'In this body there are
dhātuso paccavekkhati the earth element, the water element,
atthi imasmiṃ kāye the fire element, and the air element.'
paṭhavīdhātu āpodhātu Just as though, bhikkhus, a skilled
tejodhātu vāyodhātūti.
Seyyathāpi bhikkhave dakkho

goghātako vā goghātakantevāsī vā Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ 7
gāviṃ vadhitvā cātummahāpathe
vilaso paṭivibhajitvā nisinno assa butcher or his apprentice
evameva kho bhikkhave bhikkhu had killed a cow and were seated at the crossroads
imameva kāyaṃ with it cut up into pieces;
yathāṭhitaṃ yathāpaṇihitaṃ so too, bhikkhus, a bhikkhu
dhātuso paccavekkhati reviews this same body,
atthi imasmiṃ kāye however it is placed, however disposed,
paṭhavīdhātu āpodhātu as consisting of elements thus:
tejodhātu vāyodhātūti. 'In this body there are
the earth element, the water element,
Iti ajjhattaṃ vā kāye the fire element, and the air element.'
kāyānupassī viharati,
bahiddhā vā kāye In this way he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body internally,
ajjhattabahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
samudayadhammānupassī vā or he dwells contemplating the body
kāyasmiṃ viharati, in the body both internally and externally.
vayadhammānupassī vā Or else he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of arising,
samudayavayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati. its nature of vanishing,
‘atthi kāyo’ti vā panassa or he dwells contemplating in the body
sati paccupaṭṭhitā hoti its nature of both arising and vanishing.
yāvadeva ñāṇamattāya Or else mindfulness that ‘there is a body’
paṭissatimattāya. is simply established in him
Anissito ca viharati to the extent necessary for bare knowledge and
na ca kiñci loke upādiyati. repeated mindfulness.
Evampi bhikkhave bhikkhu And he dwells independent,
kāye kāyānupassī viharati. not clinging to anything in the world.
That is how, bhikkhus, a bhikkhu dwells
Navasīvathikāpabbaṃ contemplating the body in the body.

Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu Nine Charnel Ground Contemplations
seyyathāpi passeyya sarīraṃ
sīvathikāya chaḍḍitaṃ Again, bhikkhus,
ekāhamataṃ vā dvīhamataṃ vā as though he were to see a corpse
tīhamataṃ vā uddhumātakaṃ thrown aside in a charnel ground,
vinīlakaṃ vipubbakajātaṃ. one, two,
So imameva kāyaṃ upasaṃharati or three days dead, bloated,
ayampi kho kāyo evaṃdhammo livid, and oozing matter,
a bhikkhu compares this same body with it thus:
'This body too is of the same nature,

8 Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ it will be like that, it is not exempt from that fate.'

evaṃbhāvī evaṃanatītoti. In this way he dwells contemplating the body
in the body internally,
Iti ajjhattaṃ vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
bahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body both internally and externally.
ajjhattabahiddhā vā kāye Or else he dwells contemplating in the body
kāyānupassī viharati, its nature of arising,
samudayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of vanishing,
vayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati, its nature of both arising and vanishing.
samudayavayadhammānupassī vā Or else mindfulness that ‘there is a body’
kāyasmiṃ viharati. is simply established in him
‘atthi kāyo’ti vā panassa to the extent necessary for bare knowledge and
sati paccupaṭṭhitā hoti repeated mindfulness.
yāvadeva ñāṇamattāya And he dwells independent,
paṭissatimattāya. not clinging to anything in the world.
Anissito ca viharati That is how, bhikkhus, a bhikkhu dwells
na ca kiñci loke upādiyati. contemplating the body in the body.
Evampi bhikkhave bhikkhu
kāye kāyānupassī viharati. Again, bhikkhus,
as though he were to see a corpse
Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu thrown aside in a charnel ground,
seyyathāpi passeyya sarīraṃ being devoured by crows,
sīvathikāya chaḍḍitaṃ being devoured by vultures,
kākehi vā khajjamānaṃ being devoured by hawks,
gijjhehi vā khajjamānaṃ being devoured by dogs,
kulalehi vā khajjamānaṃ being devoured by jackals,
suvānehi vā khajjamānaṃ or being devoured by
siṅgālehi vā khajjamānaṃ various kinds of worms,
vividhehi vā pāṇakajātehi a bhikkhu compares this same body with it thus:
khajjamānaṃ. 'This body too is of the same nature,
So imameva kāyaṃ upasaṃharati it will be like that, it is not exempt from that fate.'
ayampi kho kāyo evaṃdhammo
evaṃbhāvī evaṃanatītoti. In this way he dwells contemplating the body
in the body internally,
Iti ajjhattaṃ vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body externally,
bahiddhā vā kāye or he dwells contemplating the body
kāyānupassī viharati, in the body both internally and externally.
ajjhattabahiddhā vā kāye Or else he dwells contemplating in the body
kāyānupassī viharati, its nature of arising,
samudayadhammānupassī vā
kāyasmiṃ viharati,

vayadhammānupassī vā Mahāsatipaṭṭhãnasuttaṃ 9
kāyasmiṃ viharati,
samudayavayadhammānupassī vā or he dwells contemplating in the body
kāyasmiṃ viharati. its nature of vanishing,
‘atthi kāyo’ti vā panassa or he dwells contemplating in the body
sati paccupaṭṭhitā hoti its nature of both arising and vanishing.
yāvadeva ñāṇamattāya Or else mindfulness that ‘there is a body’
paṭissatimattāya. is simply established in him
Anissito ca viharati to the extent necessary for bare knowledge and
na ca kiñci loke upādiyati. repeated mindfulness.
Evampi bhikkhave bhikkhu And he dwells independent,
kāye kāyānupassī viharati. not clinging to anything in the world.
That is how, bhikkhus, a bhikkhu dwells
Puna caparaṃ bhikkhave bhikkhu contemplating the body in the body.
seyyathāpi passeyya sarīraṃ
sīvathikāya chaḍḍitaṃ Again, bhikkhus,
aṭṭhisaṅkhalikaṃ as though he were to see a corpse
samaṃsalohitaṃ thrown aside in a charnel ground,
nahārusambandhaṃ …pe ... a skeleton
aṭṭhisaṅkhalikaṃ with flesh and blood,
nimmaṃsalohitamakkhitaṃ held together with sinews, …
nahārusambandhaṃ …pe ... a fleshless skeleton
aṭṭhisaṅkhalikaṃ smeared with blood,
apagatamaṃsalohitaṃ held together with sinews …
nahārusambandhaṃ ...pe... a skeleton
aṭṭhikāni apagatanahārusambandhāni without flesh and blood,
disāvidisāvikkhittāni held together with sinews …
aññena hatthaṭṭhikaṃ disconnected bones not held together with sinews
aññena pādaṭṭhikaṃ scattered in all directions –
aññena jaṅghaṭṭhikaṃ here a hand-bone,
aññena ūruṭṭhikaṃ there a foot bone,
aññena kaṭiṭṭhikaṃ here a shin-bone,
aññena piṭṭhikaṇṭakaṭṭhikaṃ there a thigh-bone,
aññena phāsukaṭṭhikaṃ here a hip-bone,
aññena uraṭṭhikaṃ there a back-bone,
aññena bāhuṭṭhikaṃ here a rib-bone,
aññena aṃsaṭṭhikaṃ there a chest-bone,
aññena gīvaṭṭhikaṃ here an arm-bone,
aññena hanuṭṭhikaṃ there a shoulder-bone,
aññena dantaṭṭhikaṃ here a neck-bone,
aññena sīsakaṭāhaṃ. there a jaw-bone,
So imameva kāyaṃ upasaṃharati here a tooth-bone,
ayampi kho kāyo evaṃdhammo there the skull –
evaṃbhāvī evaṃanatītoti. a bhikkhu compares this same body with it thus:
'This body too is of the same nature,
it will be like that, it is not exempt from that fate.'


Click to View FlipBook Version