The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR การศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านปางหินฝน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Yimyam Jamsai Sasila-or Chaiban, 2022-06-22 23:46:12

SAR การศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านปางหินฝน 2564

SAR การศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านปางหินฝน 2564



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR)

การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ปก ารศึกษา 2564

โรงเรยี น บานปางหินฝน
อําเภอ แมแจม จงั หวดั เชยี งใหม

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 6
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



การใหค วามเหน็ ชอบ

รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจําปการศึกษา 2564
ของโรงเรียนบานปางหนิ ฝน

ตามท่ีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบานปางหินฝน คร้ังท่ี 2 /
2565 เม่ือวันที่ 1๔ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ไดพิจารณารายงานการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ประจาํ ปก ารศึกษา 2564 ของโรงเรียนบา นปางหนิ ฝนแลว

เห็นชอบใหด าํ เนนิ การนํารายงานสง หนว ยงานตนสงั กัดและนําเผยแพรตอสาธารณชนได
(นายสมชาย ยงั่ สันติวงศ)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
โรงเรียนบานปางหินฝน



คํานํา

รายงานประจําปของสถานศึกษา ปการศึกษา 2564 ฉบับน้ี โรงเรียนบานปางหินฝน ไดจัดทําข้ึน
ตามกฎกระทรวง วาดว ย การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ขอ 3 ที่ระบุใหสถานศึกษาแตละแหงจัดให
มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกําหนด พรอมท้ังจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาและดําเนินการตามแผนที่กําหนดไวจัดใหมีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการดําเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดสง
รายงานผลการประเมินตนเองใหแ กหนวยงานตน สังกัดหรอื หนวยงานทีก่ ํากบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน ประจําทกุ ป

เอกสารรายงานประจําปของสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบสวนสําคัญ คือ บทสรุปของผูบริหาร
สถานศึกษา สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน สวนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สวนท่ี 3 สรุปผลการ
ประเมนิ และแนวทางการพัฒนา และสวนท่ี 4 ภาคผนวก

โรงเรียนบานปางหินฝน ขอขอบคุณคณะกรรมการดําเนินงานและผูเกี่ยวของทุกฝายท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียนที่มีสวนรวมในการจัดทําเอกสารรายงานฉบับนี้ และหวังวาเอกสารรายงานฉบับน้ี จะ
เปนประโยชนตอการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปถัดไป และเปนฐานขอมูลในการกําหนด
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตลอดจนเพ่ือ
ประโยชนในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (องคการมหาชน) ตอไป

โรงเรยี นบานปางหนิ ฝน
พฤษภาคม 2564



สารบัญ

เร่ือง หนา
คาํ นํา............................................................................................................................................ก
สารบญั .........................................................................................................................................ข
บทสรุปของผบู รหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................ค
สว นท่ี 1 ขอมลู พ้ืนฐาน........................................................................................................ 1

1.1 ขอมูลทัว่ ไป .....................................................................................................................1
1.2 ขอมูลครูและบคุ ลากร......................................................................................................1
1.3 ขอ มลู นกั เรยี น .................................................................................................................3
1.4 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ...............................................................................4
1.5 ผลการประเมินตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ...........................................................7
1.6 ผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอานของผูเรียน (RT) .......................................... 11
1.7 ผลการการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ (NT).............................. 13
1.8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ....................................... 16
1.9 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ......................... 18
สว นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา...................................................................19
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน................................. 19
สว นท่ี 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา...........................................................28
สวนท่ี 4 ภาคผนวก .............................................................................................................42
คณะผจู ัดทาํ



บทสรปุ ของผูบริหารสถานศึกษา

จากการประเมินตนเองของโรงเรียนบานปางหินฝน ปการศึกษา 2564 ตามมาตรฐานการศึกษา ระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ผลการประเมินตนเองในภาพรวมของโรงเรียนบานปางหินฝน อยูในระดับคุณภาพ ดี
เลิศ แบง เปน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น อยูในระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ มผี ลการดําเนินงานดังนี้ ในดาน
ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธิท์ างวิซาการ ผูเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ ไดรับการประเมินความสามารถดานการ
อานออกของผูเรียน (Reading Test : RT) รวมท้ัง 2 สมรรถนะ ไดใ นระดับดีมากคดิ เปน รอยละ 50.00 และ
ระดับดีคิดเปนรอยละ 50.00 อีกทั้งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดทดสอบความสามารถของผูเรียน
ระดับชาติ (National : NT) ดานภาษาไทยคะแนนเฉลี่ยรอยละของโรงเรียนสูงกวาระดับชาติ และผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน O-NET นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ทําคะแนนเฉลี่ยปการศึกษา
2564 สูงกวา ปก ารศึกษา 2563 ไดแก วิชาคณิตศาสตร และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ทําคะแนนเฉลี่ย
วิชาคณิตศาสตรและวิชาวิทยาศาสตร ไดคะแนนเฉล่ียปการศึกษา 2564 สูงกวาปการศึกษา 2563 ท้ังน้ีใน
ภาพรวมผูเรียนสามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง มีทักษะการฟง พูด อาน เขียน สามารถเขียนสื่อสารไดดี
รูจักการวางแผน สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดีตามหลักประชาธิปไตย กลาแสดงออก และแสดงความ
คิดเห็นหรือวิพากษไดอยางสรางสรรค สืบคนขอมูลหรือแสวงหาความรูจากสื่อ เทคโนโลยีได ดวยตนเอง
รวมทั้งสามารถวิเคราะห จําแนกแยกแยะไดวาส่ิงไหนดี สําคัญ จําเปน รวมทั้งรูเทาทัน สื่อและสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ผูเรียนรูและตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด ตาง ๆ เลือกรับประทาน
อาหารที่สะอาด และมีประโยชน รักการออกกําลังกาย นักเรียนทุกคน สามารถเลนกีฬาไดอยางนอยคนละ
ประเภท ยอมรับในกฎกติกา สามารถแลกเปล่ียนเรียนรูซึ่งกันและกัน และมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตาม
หลักสูตร มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยูในระดับคุณภาพ ดีเลิศ มีผลการพัฒนา
ดังน้ี โรงเรยี นบานปางหนิ ฝน ไดดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผานมา โดยการศึกษา
ขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และ
จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนรวมกัน ในการกําหนดเปาหมาย ปรับวิสัยทัศน
กําหนดพันธกิจ กลยุทธ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผนพัฒนา
คณุ ภาพจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจําปใหสอดคลอ งกบั สภาพปญหา ความตองการพัฒนาและนโยบาย
การปฏิรูปการศึกษา โดยพัฒนาเนนผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย พัฒนาครูใหมีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
สนับสนนุ การอบรมเพิม่ ความรคู วามสามารถในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นนผเู รียนเปนสําคัญท้ังทาง
ภายในสถานศึกษาโดยการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางบุคลากรในสถานศึกษาในดานการใชส่ือไอซีที เพื่อการ
เรียนการสอน พรอมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ ดําเนินการพัฒนา
ตามแผนงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการ
ดําเนินงาน และจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษาอยางเหมาะสมและชัดเจน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ
จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ อยูในระดับคุณภาพ ดีเลิศ จากการประเมินประเด็นพิจารณา
ดังน้ี 1) ครูพัฒนาตนเองอยูเสมอ มีความต้ังใจ มุงม่ันในการปฏิบัติหนาท่ีอยางเต็มเวลาและความสามารถจัด
กิจกรรมใหนักเรียนแสวงหาความรูจากส่ือเทคโนโลยีดวยตนเองอยางตอเน่ือง 2) ครูใหนักเรียนมีสวนรวมใน
การจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรูจัดกิจกรรมใหนักเรียนเรียนรูจากการคิด ไดปฏิบัติจริง
ดวยวิธีการและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย 3) มีชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ระหวางครูและผูท่ี
เกยี่ วของเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู


แผนงานการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ใหไ ดระดบั คุณภาพท่ีสูงข้นึ
จากกระบวนการ SWOT จุดเดนและจุดที่ควรพัฒนาของโรงเรียนบานหินฝน ควรพัฒนาการจัด
กจิ กรรมการเรียนรูท ีเ่ นน ผเู รียนเปน รายบคุ คลใหช ัดเจนข้ึน มีการจดั ทําการวิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียนให
สามารถเรียนรูไดเต็มศักยภาพ โรงเรียนบานปางหินฝนจึงไดวางแผน แนวทางพัฒนาคุณภาพใหดีขึ้นกวาเดิม
หรือคงสภาพในดานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชนไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเรียน
การสรางเครือขายความรวมมอื ของผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีความเขมแข็ง มีสวน
รว มรบั ผดิ ชอบตอ ผลการจดั การศึกษา และการขบั เคล่ือนคณุ ภาพการจัดการศึกษา
โรงเรียนบานปางหินฝน มุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือการพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะการเรียนรูใน
ศตวรรษที่ 21 เปนผูมีความรูคูคุณธรรม มีทักษะชีวิต นอมนําศาสตรพระราชา อันจะสงผลตอคุณภาพ
สถานศกึ ษาเปน ทปี่ ระจักษต อ ชมุ ชน สังคมและประเทศชาตสิ บื ไป

(นายกมล แสงบญุ )
ผูอํานวยการโรงเรียนบา นปางหินฝน

1

สว นที่ 1

ขอมูลพ้นื ฐาน

1.1 ขอ มูลทว่ั ไป

ชื่อโรงเรียน บา นปางหนิ ฝน

ทอ่ี ยู 55 หมู 10 ตําบลปางหนิ ฝน อําเภอแมแจม จังหวดั เชียงใหม

สงั กัด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 6

โทรศพั ท 086-1883890

โทรสาร -

E-mail : [email protected]

1.2 ขอมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา

1) จํานวนบคุ ลากร

บุคลากร ผูบรหิ าร ครูผูส อน พนกั งาน ครูอตั รา เจา หนา ที่ รวมทั้งหมด
ราชการ จา ง อน่ื ๆ

ปก ารศึกษา 1 12 0 1 2 16
2564

2) วุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบคุ ลากร

0.00% 6.25% 0.00% 0.00% ปรญิ ญาเอก
0.00% ปริญญาโท
ปรญิ ญาตรี
25.00% ประกาศนียบตั รบัณฑติ
ปวส.
68.75% ม.6
ต่าํ กวา ปวช.

2

3) สาขาวิชาท่ีจบการศกึ ษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จาํ นวน ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน ในแต
(คน) ละสาขาวิชา (ชม./สปั ดาห)

1. บรหิ ารการศึกษา 1 5
2. คณิตศาสตร 2 22
3. วิทยาศาสตร 2 24
4. ภาษาไทย 2 25
5. ภาษาอังกฤษ 1 25
6. สังคมศึกษา 1 23
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 22
8. ประถมศึกษา 1 25
9. ปฐมวัย 1 25
10. สขุ ศกึ ษา-พลศึกษา 0 0
11. ศลิ ปะ 1 20
12. เกษตร 1 24
14
รวม

3

1.3 ขอมลู นกั เรยี น (ขอ มูล ณ มถิ ุนายน 2564)

จาํ นวนนกั เรียนปการศึกษา 2564 รวมทัง้ ส้นิ 131 คน

ระดับชน้ั เรียน จาํ นวนหอ งเรียน จาํ นวนนกั เรยี น รวม เฉลีย่ ตอหอง
ชาย หญิง
อ.2 1 11 9 ตอ 1
อ.3 1 56 13 13 ตอ 1
รวม 2 49 24
ป.1 1 8 14 8 8 ตอ 1
ป.2 1 53 11 11 ตอ 1
ป.3 1 56 11 11 ตอ 1
ป.4 1 74 11 11 ตอ 1
ป.5 1 56 7 7 ตอ 1
ป.6 1 61 11 11 ตอ 1
รวม 6 38 59 14 ตอ 1
ม.1 1 31 28 14 13 ตอ 1
ม.2 1 68 13 23 ตอ 1
ม.3 1 94 23
รวม 3 10 13 50
รวมทัง้ หมด 9 25 25 131
64 67

เปรียบเทยี บขอมูลนกั เรยี นอนุบาล ปก ารศึกษา 2562-2564

อนบุ าล 2 อนุบาล 3 รวม

21 21 24
15 11 13
13
8 6

ปการศึกษา 2562 ปก ารศึกษา 2563 ปก ารศกึ ษา 2564

4

เปรียบเทยี บขอ มูลจาํ นวนนักเรยี น ป.1 - ม.3 ปการศกึ ษา 2562 -
120 2564 105 109 109

100

80 46 48 59 59 61 50 2562
60 2563
2564
40

20

0 ม.ตน รวมทัง้ หมด
ประถม

1.4 ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

1.4.1 วิสัยทัศน พนั ธกจิ เปาหมาย
วสิ ัยทศั น (Vision)
ภายในป พ.ศ. 2564 โรงเรียนบา นปางหินฝน ผเู รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มี

คุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถดา นงานอาชีพ รจู ักใชเทคโนโลยี พัฒนาทักษะชวี ิตตามแบบเศรษฐกิจ
พอเพียง

พนั ธกจิ (Mission)
1. จัดการศึกษาโดยเนน ผเู รียนเปนสาํ คัญ พัฒนาผเู รียนใหเปน คนดี มคี วามภมู ิรู ภูมิคุณธรรม
2. พัฒนาดา นวชิ าการ เทคโนโลยแี ละทักษะชีวติ อยางตอเนือ่ ง
3. สงเสรมิ ใหผูเรียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข องสถานศึกษา
4. พัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรในโรงเรียนใหทาํ งานอยา งเปนระบบและมีประสิทธิภาพ
5. สงเสรมิ ใหช ุมชนมีสวนรวมในการจดั การศึกษา

เปา หมาย (Goal)
1. ผูเรยี นทกุ คนไดร ับการพฒั นาใหเปน คนทีส่ มบูรณท ง้ั ทางดานรางกาย อารมณ สงั คม

สติปญญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีทักษะในการดาํ รงชวี ติ มคี วามรสู ูอาเซยี น
2. มเี ทคโนโลยที ่ที ันสมยั ในการบรหิ ารและการจัดการศึกษา
3. ผูเ รียนทกุ คนมคี วามภาคภูมใิ จในความเปนไทย รวมอนรุ ักษ สบื สานภูมิปญญาทองถน่ิ ไทย
4. บุคลากรทกุ คนไดร บั การพัฒนาใหม ีความรูอยา งตอเนือ่ ง ความสามารถในการจดั กิจกรรม

การเรยี นรูใหเปนไปอยางมีคุณภาพ
5. ชุมชนเขามามีสว นรวมในการจัดการศึกษาเพมิ่ ข้ึน

1.4.2. อตั ลกั ษณ
รักสมานสามคั คี เปนคนดีทั้งกายใจ

5
1.4.3. เอกลกั ษณ

จติ บริการ รักงานอาชพี
1.4.4. มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
แนบทายประกาศโรงเรยี นบานปางหนิ ฝน เร่ืองใหใ ชมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ระดบั ปฐมวัยและ

ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
ฉบบั ลงวันท่ี ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.๒๕๖๑ มจี ํานวน ๓ มาตรฐาน ไดแก
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเรียน

๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู รียน
๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข องผูเ รียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปน สาํ คัญ
แตล ะมาตรฐานมีรายลเอยี ดดังนี้
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู รียน
๑) มีความสามารถในการอา น การเขียน การสื่อสารและการคิดคํานวณ
๒) มีความสามารถในการวิเคราะหแ ละคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความ
คิดเหน็

และแกป ญหา
๓) มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม
๔) มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
๖) มคี วามรู ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีตอ งานอาชีพ
๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข องผูเรียน
๑) การมคี ุณลกั ษณะและคา นยิ มทด่ี ตี ามท่ีสถานศึกษากําหนด
๒) ความภมู ใิ จในทองถนิ่ และความเปนไทย
๓) การยอมรับทจ่ี ะอยูรวมกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา งกายและจติ สังคม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑. การมีเปาหมายวสิ ัยทัศน และพนั ธกิจที่สถานศึกษากาํ หนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารการจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดําเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ นนคณุ ภาพของผเู รียนรอบดาน ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
ทกุ กลมุ เปาหมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ การจดั การเรยี นรูอยา งมคี ุณภาพ

6
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นนผูเ รยี นเปน สาํ คัญ
๓.1 จัดการเรียนรูผา นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ สามารถนาํ ไปประยุกตใชในชีวติ ได
๓.2 ใชส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรทู ่เี อื้อตอ การเรียนรู
3.๓ มกี ารบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา งเปน ระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผูเรียน
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู ละใหข อ มูลสะทอ นกลบั เพื่อพฒั นา และปรับปรุงการจดั การเรยี นรู
1.4.5. งาน/โครงการ/กิจกรรม (ระบุช่ืองาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ดี าํ เนินการในปการศกึ ษาท่ี
รายงาน)
โครงการทไ่ี ดด าํ เนินการในปการศึกษา 2564 มที ัง้ หมด 20 โครงการ ดงั น้ี

1) สง เสรมิ ผเู รียนใหมคี วามรูและทักษะทีจ่ ําเปนตามหลกั สูตร
2) หองสมดุ มชี ีวิต
3) พัฒนาแหลง เรยี นรแู ละหอ งปฏบิ ตั กิ าร
4) การพัฒนางานระบบขอมูลสารสนเทศนกั เรียนและงานวัดผลประเมนิ ผลการศึกษา
5) พฒั นาการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาอยา งมีคุณภาพ
6) พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย
7) โรงเรยี นคณุ ภาพประจําตําบลและโรงเรยี นประชารฐั (ดีใกลบ าน)
8) สงเสรมิ การสอนทักษะอาชีพ
9) พัฒนาอาคารสถานที่
10) การสง เสริมสนบั สนุนงานบรหิ ารงานทัว่ ไป
11) พัฒนาแผนงานและเสนอของบประมาณ
12) การจดั ระบบงานพสั ดแุ ละครภุ ัณฑ
13) ผบู รหิ ารปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา ที่ อยางมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล
14) สง เสริมบคุ ลากรใหเปนครูมอื อาชพี
15) พฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคานยิ มท่ีพงึ ประสงค
16) พัฒนาระบบสภานกั เรียนและวันสาํ คญั
17) ผูเ รียนมสี ขุ ภาวะที่ดแี ละมีสนุ ทรียภาพ
18) พัฒนางานระบบดูแลชวยเหลอื นักเรียน
19) การขบั เคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสสู ถานศึกษา
20) โครงการนกั เรยี นพักนอน/ประจํา

7

1.5 ผลการประเมินระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (ขอ มูล ณ 31 มีนาคม 2565)
1) ขอ มลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (ขอมูล ณ 31 มนี าคม 2565)

รอ ยละของนักเรียนทม่ี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล ะรายวิชาในระดบั 3 ขึน้ ไป
จาํ แนกตามระดับชัน้ ปก ารศึกษา 2564

120.00

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ภาษาไทย 62.50 81.82 90.91 63.64 71.43 45.45 41.67 23.08 31.58

คณติ ศาสตร 62.50 90.91 100.00 90.91 85.71 54.55 41.67 30.77 42.11

วิทยาศาสตร 62.50 90.91 100.00 63.64 85.71 100.00 66.67 69.23 47.37

สงั คมศกึ ษาฯ 62.50 90.91 72.73 63.64 85.71 18.18 41.67 76.92 63.16

ประวตั ศิ าสตร 62.50 90.91 63.64 81.82 85.71 81.82 58.33 69.23 73.68

สขุ ศกึ ษาฯ 62.50 90.91 100.00 63.64 71.43 9.09 58.33 53.85 63.16

ศลิ ปะ ดนตรี 37.50 72.73 100.00 90.91 100.00100.00 75.00 76.92 52.63

การงานฯ 62.50 90.91 100.00 90.91 85.71 63.64 83.33 69.23 47.37

ภาษาอังกฤษ 37.50 90.91 90.91 90.91 100.00 54.55 50.00 46.15 47.37

เพม่ิ เติม รวมทุกวิชา 62.50 72.73 1.00 90.91 100.00 72.73 75.00 76.92 89.47

เพิ่มเตมิ ........ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

8

2) ผลประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

รอ ยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
จําแนกตามระดับคุณภาพ ปการศกึ ษา 2564

รวมท้ังสิน้

ม.3

ม.2

ม.1

ป.6

ป.5

ป.4

ป.3

ป.2

ป.1

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม
ทง้ั สิ้น
ดีเ่ ย่ยี ม 0.00 100.00100.00 81.82 71.43 0.00 66.67 46.15 47.37 57.28

ดี 62.50 0.00 0.00 9.09 28.57 100.00 33.33 38.46 47.37 35.92

ผาน 37.50 0.00 0.00 9.09 0.00 0.00 0.00 15.38 5.26 6.80

ไมผ าน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

9

3) ผลการประเมนิ การอาน คดิ วิเคราะหแ ละเขียน

รอ ยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะหแ ละ
เขยี น

จาํ แนกตามระดับคณุ ภาพ ปก ารศึกษา 2564

รวมทงั้ สนิ้

ม.3

ม.2

ม.1

ป.6

ป.5

ป.4

ป.3

ป.2

ป.1

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม
ทง้ั สนิ้
ดเ่ี ย่ียม 62.50 100.00 36.36 63.64 100.00 72.73 41.67 46.15 36.84 58.25

ดี 12.50 0.00 63.64 27.27 0.00 27.27 58.33 38.46 42.11 33.01

ผาน 25.00 0.00 0.00 9.09 0.00 0.00 0.00 7.69 15.79 6.80

ไมผา น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

10

4) ผลการประเมนิ สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน 5 ดา น ปการศึกษา 2564

ผลการประเมินสมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น 5 ดา น ปก ารศึกษา
2564

ํจานวนนักเ ีรยน (คน) 120
100
การ การคดิ การ การใช การใช
80 สอื่ สาร แกปญหา ทักษะชวี ิต เทคโนโลยี
60 103
40 103 103 103 103
20 0 0000

0

ผาน
ไมผ าน

5) ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ปก ารศึกษา 2564

รอยละของผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ปการศกึ ษา
2564

100.00
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม

ทั้งส้นิ
ผาน 100.00100.00100.00100.00100.00100.00100.00100.00100.00100.00
ไมผาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

11

1.6 ผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอา นของผเู รียน (Reading Test : RT

1) ผลการประเมนิ ความสามารถดานการอานของผเู รียน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 1
ปการศกึ ษา 2564

คะแนนเฉล่ียรอ ยละผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอานของผูเรยี น (RT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 ปการศกึ ษา 2564

90.00

80.00
70.00

60.00

50.00

40.00

30.00
20.00

10.00

0.00 การอา นออกเสียง การอานรเู รอื่ ง รวม 2 สมรรถนะ

ระดบั โรงเรยี น 65.50 78.00 71.75

ระดบั เขตพื้นที่ 58.78 61.65 60.24

ระดับประเทศ 69.95 72.79 71.38

2) ผลการประเมนิ ความสามารถดานการอานของผเู รยี น (RT) ปการศึกษา 2563 - 2564
2.1) เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอา นของผเู รียน (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1

และรอยละของผลตา งระหวา งปการศึกษา 2563 – 2564

สมรรถนะ ป ป รอ ยละของผลตา ง
การศกึ ษา การศกึ ษา ระวางปการศกึ ษา
การอานออกเสยี ง 2563 2564
การอานรเู รื่อง -12.30
รวม 2 สมรรถนะ 77.80 65.50 8.60
69.40 78.00 -1.85
73.60 71.75

12

2.2) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถดานการอานของผเู รียน (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปที่
1 และรอยละของผลตางระหวา งปก ารศึกษา 2563 - 2564 จําแนกตามรอยละของระดบั คณุ ภาพ

ผลประเมินการอา นออกเสียง

ปรบั ปรุง 0.00
0.00

พอใช 0.00
0.00

ดี 75.00
40.00

ดมี าก 25.00 60.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00

รอยละของจํานวนนักเรียน ป 2564 รอ ยละของจํานวนนกั เรยี น ป 2563

ผลประเมินการอา นรเู รือ่ ง

ปรบั ปรุง 0.00
0.00

พอใช 0.00 10.00

ดี 25.00
40.00

ดีมาก 75.00
50.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00

รอยละของจํานวนนักเรยี น ป 2564 รอยละของจาํ นวนนักเรยี น ป 2563

13

ผลการประเมนิ รวมทัง้ 2 สมรรถนะ

ปรับปรงุ 0.00
0.00

พอใช 0.00 10.00

ดี 50.00
30.00

ดมี าก 50.00
60.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00

รอ ยละของจํานวนนกั เรยี น ป 2564 รอ ยละของจาํ นวนนักเรียน ป 2563

1.7 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)

1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผูเรยี นระดับชาติ(NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3
ปการศึกษา 2564

แผนภมู เิ ปรบี เทยี บคะแนน NT ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3
ปการศกึ ษา 2564

60.00 โรงเรยี น เขตพื้นท่ี ประเทศ 51.2745.9952.79
50.00 56.8150.7856.14 45.7241.1949.44
40.00
30.00 ดา นภาษาไทย ดา นคณิตศาสตร รวมทัง้ 2 ดาน
20.00
10.00 56.81 45.72 51.27
0.00 50.78 41.19 45.99
56.14 49.44 52.79
โรงเรียน
เขตพน้ื ที่
ประเทศ

14

คะแนนเฉล่ียรอ ยละของจํานวนนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมินการทดสอบ
ความสามารถพ้ืนฐานของผเู รียนระดับชาติ (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3 ป

การศึกษา 2564
จําแนกตามระดับคณุ ภาพ

80.00 72.72
70.00

60.00 54.54 54.54 54.54

50.00 36.36 18.18 18.18 ดา นภาษาไทย
40.00 36.36 18.18 9.099.09 ดานคณติ ศาสตร
รวมทั้ง 2 ดาน
30.00
20.00 18.18

10.00

0.00

ดีมาก ดี พอใช ปรับปรงุ

2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเรียนระดับชาติ ปการศกึ ษา 2563 -
2564

2.1) เปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ (NT)
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3 และรอยละของผลตางระหวา งปก ารศึกษา 2563 – 2564

ป ป
ความสามารถ การศกึ ษา การศึกษา รอยละของผลตาง
256๓ 256๔ ระวา งปการศกึ ษา

ดา นภาษาไทย 53.40 56.81 3.41
-3.48
ดา นคณิตศาสตร 49.20 45.72 -0.03

รวมความสามารถเฉลยี่ ท้ัง 2 ดาน 51.30 51.27

15
2.2) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู รยี นระดับชาติ (NT)
และรอ ยละของผลตา งระหวางปการศึกษา 2563 - 2564 จําแนกตามรอยละของระดับคุณภาพ

ความสามารถดานภาษาไทย

ปรับปรุง 9.09
10.00

พอใช 18.18
20.00

ดี 36.36
50.00

ดีมาก 36.36
20.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00

รอ ยละของจํานวนนักเรียน ป 2564 รอ ยละของจํานวนนกั เรยี น ป 2563

ความสามารถดานคณติ ศาสตร

ปรับปรุง 0.00 9.09

พอใช 54.54
40.00

ดี 18.18
40.00

ดมี าก 18.18
20.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00

รอ ยละของจํานวนนักเรียน ป 2564 รอ ยละของจาํ นวนนกั เรยี น ป 2563

16

1.8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ปก ารศกึ ษา 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน(O-NET) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี
6

60.00

50.00

คะแนนเฉล่ีย 40.00

30.00

20.00

10.00

0.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร คะแนนรวมเฉลีย่
50.38 39.22 36.83 34.31 40.19
ระดบั ประเทศ 49.54 35.46 35.85 33.68 38.63
ระดบั สงั กดั สพฐ. 48.28 31.83 34.64 32.80 36.89
ระดบั เขตพื้นที่ 35.41 29.55 30.76 24.09 29.95
ระดับโรงเรยี น

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่
3

คะแนนเฉล่ีย 60.00
50.00
40.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร คะแนนรวมเฉลย่ี
30.00 51.19 31.11 24.47 31.45 34.56
20.00 52.13 30.79 24.75 31.67 34.84
10.00 46.67 25.85 21.09 29.70 30.83
0.00 45.15 26.47 22.35 30.49 31.12

ระดบั ประเทศ
ระดับสังกดั สพฐ.
ระดับเขตพน้ื ที่
ระดบั โรงเรียน

17
2) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปการศกึ ษา 2563 – 2564

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน ปก ารศกึ ษา 2563- 2564
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6

100.00 คะแนนเฉล่ีย
80.00
60.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร คะแนนรวม
40.00 53.75 20.00 40.83 เฉลยี่
20.00 77.06 29.55 30.76 24.09 47.91
0.00 35.41 29.95
-20.00 -41.65 -24.20 10.76 -16.74
-40.00 -17.96
-60.00

2563
2564
ผลการพัฒนา

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน ปก ารศกึ ษา 2563- 2564
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

60.00 คะแนนเฉล่ีย
50.00
40.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร คะแนนรวม
30.00 28.24 21.41 24.09 เฉล่ยี
20.00 50.81 26.47 22.35 30.49 31.14
10.00 45.15 31.12
0.00 -5.66 -1.77 0.94 6.40
-10.00 -0.02

2563
2564
ผลการพัฒนา

18

1.9. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปการศกึ ษา 2564

มาตรฐาน ระดับ แปลผล
คุณภาพ ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน ดเี ลศิ
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู รียน 4 ดเี ลศิ
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข องผเู รยี น 4 ดเี ลศิ
ดีเลิศ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 4 ดีเลศิ
2.1 มเี ปาหมาย วิสัยทศั น และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากําหนดชัดเจน 4 ดเี ลิศ
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา 4
2.3 ดาํ เนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน คุณภาพของผูเ รยี นรอบดา น ตาม ดีเลิศ
4 ดเี ลิศ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุกกลุมเปา หมาย
4 ดเี ลิศ

2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหมีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี 4 ดีเลศิ
2.5 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเี่ ออื้ ตอการจัดการ 4 ดีเลศิ
เรียนรูอยา งมีคณุ ภาพ
ดเี ลิศ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การ 4 ดเี ลิศ
และการจดั การเรียนรู ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน ผูเรียนเปนสําคัญ 4
4 ดเี ลศิ
3.1 จดั การเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถ
นําไปประยุกตใ ชใ นชีวิตได 4 ดเี ลิศ
4
3.2 ใชส อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรียนรูทเี่ อื้อตอการเรียนรู 4
3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยางเปนระบบ และนาํ ผลมาพัฒนา 4
ผเู รยี น
3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรูและใหขอมลู สะทอนกลับเพือ่ พัฒนาและ 4
ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

19

สว นท่ี 2

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

มาตรฐาน ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน ผูเรียนเปน สาํ คญั ดเี ลิศ
ดเี ลิศ
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ รยี น
ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ

1.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบานปางหินฝนสงเสริมใหครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยจัด
กิจกรรมและโครงการที่สงเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ การรูจักปองกัน และหลีกเล่ียงตนเองท่ีเสี่ยงตอความ
รุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปญหาทางเพศ สงเสริมใหนักเรียนเห็นคุณคาในตนเองมีความม่ันใจ กลา
แสดงออกอยา งเหมาะสม มีการจัดกระบวนการพัฒนาผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู ให
เปนไปตามศักยภาพของผูเรียน และเปนไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร มีการออกแบบการ
จัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน โดยมีการจัดการเรียนรูทั้งรูปแบบ รวมมือกันเรียนรู แบบใช
กระบวนการคิด กระบวนการใชปญหาเปนหลัก และเนนเรื่องการอานออกของผูเรียนเปนเรื่องสําคัญที่สุด
โดยมุงพัฒนาใหผูเรียนทุกคนอานออกและเขียนไดต้ังแตระดับชั้น ป. 1 พัฒนาครูทุกคนใหมีความสามารถ
ในการนําเทคนิควิธีสอนใหตรงตามศักยภาพผูเรียน จัดกิจกรรมที่สงเสริมนิสัยรักการอาน และแสวงหา
ความรูดวยตนเองจากหองสมุด ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอ้ือใหผูเรียน เรียนรูดวยตนเอง สราง
และพัฒนาแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษา และใชประโยชนจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอก
สถานศึกษา ดังนั้นโรงเรียนบานปางหินฝนจึงกําหนดมาตรฐานการศึกษาดานคุณภาพผูเรียนจํานวน 2
ดาน ไดแก 1) ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ดานคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ดาน
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นมงุ เนนใหนักเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร การคิดคํานวณ
รวมท้ังการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห คิดอยางมี
วิจารณญาณ มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมี
ความรู ทักษะพนื้ ฐาน เจตคตทิ ี่ดตี อ งานอาชพี สาํ หรบั ดานคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนมุงเนนให
ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด และ มีสุขภาวะทางรางกายและสังคม ความ
ภูมิใจในทอ งถ่นิ และความเปน ไทยการยอมรบั ท่ีจะอยรู ว มกันบนความแตกตางและหลากหลาย

20

1.2 ผลการดาํ เนนิ งาน
ดังน้ี ในดานผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิซาการ ผูเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ ไดรับการ

ประเมินความสามารถดา นการอานออกของผูเรียน (Reading Test : RT) รวมทั้ง 2 สมรรถนะ ไดในระดับ
ดมี ากคดิ เปน รอ ยละ 50.00 และระดับดีคิดเปนรอยละ 50.00 อีกทั้งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ได
ทดสอบความสามารถของผูเรียนระดับชาติ (National : NT) ดานภาษาไทยคะแนนเฉลี่ยรอยละของ
โรงเรียนสูงกวาระดับชาติ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน O-NET นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 6 ทาํ คะแนนเฉลี่ยปก ารศึกษา 2564 สูงกวาปการศึกษา 2563 ไดแก วิชาคณิตศาสตร
และนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 3 ทําคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตรและวิชาวิทยาศาสตร ไดคะแนนเฉล่ียป
การศึกษา 2564 สูงกวาปการศึกษา 2563 ท้ังน้ีในภาพรวมผูเรียนสามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง มี
ทักษะการฟง พดู อา น เขยี น สามารถเขียนสื่อสารไดด ี รูจ ักการวางแผน สามารถทาํ งานรวมกับผูอื่นไดดีตามหลัก
ประชาธิปไตย กลาแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษไดอยางสรางสรรค สืบคนขอมูลหรือแสวงหา
ความรูจากสื่อ เทคโนโลยีได ดวยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห จําแนกแยกแยะไดวาสิ่งไหนดี สําคัญ จําเปน
รวมทั้งรูเทาทัน ส่ือและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ผูเรียนรูและตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด
ตา ง ๆ เลอื กรบั ประทานอาหารทสี่ ะอาด และมีประโยชน รกั การออกกาํ ลงั กาย นกั เรียนทกุ คน สามารถเลน กีฬาได
อยางนอยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกา สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน และมีคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคตามหลักสตู ร

1.3 จุดเดน
- ผเู รียนรูจักดแู ลสุขภาพ รจู ักเลือกรบั ประทานอาหารทีม่ ีคุณคา
- ผเู รยี นมสี ุขนิสยั ที่ดี มีน้ําหนัก สวนสูงตามเกณฑ
- ผูเรียนมกี ารออกกําลังกายสม่ําเสมอ มีความรูเกีย่ วเรื่องยาเสพติด
- ผูเรียนมสี นุ ทรียภาพและลกั ษณะนิสัยดานศลิ ปะ ดนตรีและกีฬา
- ผเู รยี นรปู ระโยชนและโทษของอนิ เตอรเนต็ กลา แสดงออก รูจักการใหเ กยี รติผูอน่ื

1.4 จดุ ควรพฒั นา
- ผูเ รยี นควรไดร บั การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิในกลุมสาระการเรียนรู ทง้ั 8 กลุมสาระการเรยี นรู
- ผเู รียนควรไดร บั การพฒั นาใหมีความสามารถในการคิดวิเคราะห
- ผูเรยี นควรไดรบั การพัฒนาใหม ีความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค
- ผเู รียนควรไดรับการพัฒนาดา นทกั ษะการทาํ งาน

1.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหด ีข้ึนกวา เดิม
1) พัฒนาใหน ักเรียนมที ักษะในการอา น การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคํานวณเปนไปตาม

เกณฑทโี่ รงเรียนกําหนดในแตระดับช้นั
2) พัฒนาใหน กั เรียนมคี วามสามารถในการคิดจําแนก แยกแยะ ใครค รวญไตรต รอง พิจารณาอยาง

รอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหาอยางมี
เหตุผล

3) พฒั นาใหน กั เรียนมคี วามสามารถในการรวบรวมความรูไดทั้งดวยตนเองและการทํางานเปนทีม
เชื่อมโยงองคความรู และประสบการณมาใชในการสรางสรรคส ่งิ ใหม ๆ

4) พัฒนาใหนักเรียน มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา
ตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู การสอ่ื สาร การทํางาน อยางสรางสรรค และมีคณุ ธรรม

21

5) พัฒนาใหนักเรียน มีความกาวหนาในการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมใน
ดา นความรู ความเขา ใจ ทกั ษะ กระบวนการตาง ๆ รวมทัง้

6) พัฒนาใหนักเรียนมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู ทักษะพ้ืนฐานในการ
จัดการเจตคติท่ีดีพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น มีพฤติกรรมเปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพ
ในกฎกตกิ า

7) พัฒนาใหนักเรียนมีคานิยมและจิตสํานึกตามท่ีสถานศึกษามีความภูมิใจในทองถ่ิน เห็นคุณคา
ของความเปน ไทย มีสวนรว มในการอนรุ กั ษวฒั นธรรมประเพณไี ทยรวมทง้ั ภมู ิปญญาไทย

8) พัฒนาใหนักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ และสังคม แสดงออกอยาง
เห ม าะ ส ม ใน แ ต ล ะ ช ว งว ัย

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ

2.1 กระบวนการพัฒนา
สงเสริมการบริหารการจัดการศึกษาโดยใชสถานศึกษาเปนฐาน การอบรมคุณธรรมจริยธรรมและ

การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ การพัฒนาระบบบริหารดานวิชาการและการจัดการศึกษา การพัฒนาการ
จัดการองคโครงสรางบริหารงานแบบมีสวนรวม การสงเสริมการบริหารเชิงยุทธและสงเสริมการกระจาย
อํานาจ มีการประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผน กําหนดแนวทางใน
การพัฒนาระบบการบริหารสถานศึกษา ปรับวิสัยทัศน รวมกันกําหนดเปาหมาย กําหนดพันธกิจ กลยุทธ
ในการจัดการศึกษาของสถาน ศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการ ประจําป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศึกษา พรอมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดขอบ ดําเนินการพัฒนา
ตามแผนงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมิน ผลการ
ดาํ เนนิ งาน และสรุปผลการดําเนินงาน

2.2 ผลการดาํ เนนิ งาน
ผูบริหารมีความมุงม่ัน เสียสละ มีวิสัยทัศน มีความรูความสามารถพรอมช้ีแนะแนวทางใน

การพัฒนาสถานศึกษา ตลอดจนสงเสริมและสนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง อนึ่งผูบริหาร
ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี ซ่ึงสรางความพึงพอใจของทุกฝายท่ีเกี่ยวของอยางดีย่ิง มีการกําหนด
เปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบาย
การปฏิรูปการศึกษา ความตองการของชุมชนทองถิ่น และสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ
ศึกษาชาติ โดยไดรับความรวมมือจากทุกฝาย สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการ ประจําป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป
การศกึ ษา

2.3 จุดเดน
- ผูบรหิ าร และครูมวี ฒุ ิการศึกษาปรญิ ญาตรี/และปริญญาโท
- ครูมคี วามรูแ ละประสบการณในการสอนนกั เรียน

22

- ครูมกี ารพฒั นาตนเองอยางตอ เนอ่ื ง
- โรงเรียนมกี ารบรหิ ารและการจดั การอยา งเปน ระบบ
2.4 จดุ ควรพัฒนา
- ครูควรฝกทักษะความคิดสรา งสรรค และเสริมสรางจนิ ตนาการแกนกั เรียน
- เปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนา
ผเู รยี น
- สรางเครือขายความรวมมือของผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหมีความ
เขมแข็ง มสี วนรวมรับผิดชอบตอผลการจดั การศึกษา และการขบั เคล่อื นคณุ ภาพ การจัดการศกึ ษา
2.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพใหดขี น้ึ กวา เดิม
1) มีโครงการการบริหารจัดการเกย่ี วกับงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร
2) กจิ กรรมเสริมหลกั สูตรทีเ่ นน คณุ ภาพผูเรียนรอบดา น
3) โครงการจัดการเรยี นการสอนนกั เรียนเรียนรวม
4) โครงการพัฒนาครพู ฒั นาครสู ูครมู ืออาชีพ
5) โครงการจัดสภาพแวดลอมใหเ ปน แหลงเรียนรู

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นนผเู รียนเปนสาํ คญั
ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ

3.1กระบวนการพัฒนา
จัดโครงการสานสัมพันธชุมชนเพื่อพัฒนาการศึกษา กิจกรรมวันสําคัญ กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย
กิจกรรมประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา กิจกรรมประชุมผูปกครอง โรงเรียนดําเนินการสงเสริมใหครู
จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการดําเนินงาน/กิจกรรมอยางหลากหลาย มีการปรับ
โครงสรางรายวิชา หนวยการเรียนรู ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ี
สอดคลองกับหนวยการเรียนรู สนับสนุนใหครูจัดการเรียนการสอนที่สรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวน
รวมไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่ีเนนทักษะการคิด เชน จัดการ
เรียนรูดวยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหนาท่ีใหนักเรียนจัดปายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีตาง ๆ
ทั้งภายในหองเรียน และนอกหองเรียน ครูใชสื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญา
ทอ งถิน่

3.2 ผลการดําเนนิ งาน
คณะกรรมการสถานศึกษาใหค วามสาํ คญั กับการบรหิ ารและจัดการศึกษา โดยไดใหขอคิดเห็นและ

ขอเสนอแนะในการจัดการศึกษา ตลอดจนใหแนวทางในการประสานความรวมมือกับชุมชนรวมพัฒนา
สถานศึกษา สงผลใหสถานศกึ ษาบรรลเุ ปา หมายในการดาํ เนินโครงการตาง ๆ

จากการดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอยางหลากหลาย เพื่อพัฒนาใหครูจัดการเรียนการสอนที่
เนนผเู รยี นเปนสําคญั สงผลใหผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ 3 อยู ในระดบั ดีเลิศ
3.3 จุดเดน

- มกี ารสงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรไดร ับการพฒั นาตนเองอยูเสมอ

23
- ครูมีความต้ังใจ มุงมนั่ ในการพฒั นาการสอน โดยจัดกิจกรรมใหนกั เรยี นไดเ รียนรู ทีเ่ นนทักษะ
กระบวนการคดิ ไดปฏิบตั จิ ริง มกี ารใหวิธีการและแหลงเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย
- นักเรียนมีสวนรว มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอมทเี่ อ้อื ตอการเรียนรู
- ครูไดร บั การพัฒนาวิชาชพี ใหเปน ครูมอื อาชพี ในการจัดการเรียนการสอนทเี่ นนผูเรียนเปนสําคัญ
3.4 จดุ ควรพัฒนา
- ควรกําหนดนโยบายในการพัฒนาหลักสตู รใหค รอบคลุมการจดั ประสบการณ
- ควรสงเสรมิ พฒั นาบุคลากรในดานวธิ ีการสอน และการทําวิจยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นรขู องผเู รยี น
- เปด โอกาสใหผูป กครองไดมีสวนรว มในการพัฒนาผูเรยี น
3.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด ีขน้ึ กวา เดมิ
1) โครงการปรบั ปรุงหลักสตู รสถานศกึ ษา
2) โครงการจดั การเรียนรแู บบโครงงาน
3) โครงการพฒั นาการใชสื่อ เทคโนโลยี สหู องเรียน
4) โครงการสงเสรมิ ใหครูจัดทาํ แผนการจัดการเรยี นรูและนาํ ไปใชจรงิ
5) กิจกรรมสําหรับนกั เรียนท่ีตองการความชว ยเหลือเปนพเิ ศษ/นกั เรยี นเรียนรวมใหนกั เรียนมี
ความรสู ูงขน้ึ ตามระดบั ชน้ั

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอยใู นระดบั ดีเลิศ

จากผลการดําเนินงาน โครงการ และกิจกรรมตาง ๆ สงผลใหสถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประสบผลสําเร็จตามที่ตง้ั เปาหมายไวในแตละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปวาไดระดับดีเลิศ
ทั้งน้ี เพราะมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน อยูในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและ
การจัดการ อยูในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ อยู
ในระดบั ดเี ลศิ

ท้ังน้ี เนื่องจากสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางหลากหลายท่ีเปนไปตาม
ปญหาและความตองการพัฒนาตามสภาพของผูเรียน สอดคลองกับจุดเนนของสถานศึกษา จนมีผลการ
พัฒนามาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียนอยใู นระดับดีเลิศ พฒั นาการของคา เฉลยี่ ผลการทดสอบระดับชาติ
สูงข้ึนจากปการศึกษาที่ผานมา ผูเรียนมีความสามารถในการอานและเขียนการสื่อสารท้ังภาษาไทยไดดี
ความสามารถในการคิดคํานวณการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดดี และมีความประพฤติดาน
คณุ ธรรมจริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะตามทส่ี ถานศึกษากาํ หนดปรากฏอยา งชดั เจน อีกท้ังผลประเมิน
ในมาตรฐานท่ี 2 ในดา นกระบวนการบริหารและการจัดการมีผลประเมินในรายมาตรฐานอยูในระดับดีเลิศ
สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดําเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีสวนรวม ใชผลการ
ประเมินและการดําเนินงานท่ีผานมาเปนฐานในการพัฒนา และสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนา
ตรวจสอบผลการดําเนินงาน และการปรับปรุงแกไขงานใหดีข้ึนอยางตอเนื่อง และมาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีผลประเมินอยูในระดับดีเลิศ มีการวิเคราะห
ออกแบบและจดั การเรียนรทู ีเ่ ปน ไปตามความตองการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรม
การเรียนรู ใชส่ือการเรียนรู ติดตามตรวจสอบและชวยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาและแกปญหารายบุคคล
และการประเมนิ ผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน

24

บญั ชงี บหนา สรุปผลการดําเนนิ งานมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเรียน

ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ/ผลงาน
โดดเดน
1. มีความสามารถในการอา น - กจิ กรรมพัฒนาผูเรียนมนี ิสัยรกั การอานและ
การเขียน การส่ือสาร และ แสวงหาความรูดว ยตนเองจากหอ งสมุด แหลง ผลการประเมินการอาน
การคิดคํานวณ เรียนรู และส่อื ตาง ๆ รอบตัว การเขยี น
- กจิ กรรมพฒั นาผเู รียนมีทักษะในการอาน ฟง - แบบบนั ทกึ การอา น
ดู พดู เขยี น และต้ังคาํ ถามเพ่ือคน ควา หา
ความรเู พม่ิ เติม แบบฝกทกั ษะ
2. มีความสามารถในการคิด กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนมผี ลการประเมนิ - โครงงาน ผลงานนกั เรยี น
วเิ คราะห คิดอยา งมี สมรรถนะสาํ คัญตามหลกั สตู รเปน ไปตามเกณฑ
วจิ ารณญาณ อภิปราย ผลงานนกั เรียน,นวตั กรรม
แลกเปลีย่ น ความคิดเห็น ของคร/ู นกั เรยี น
และแกปญหา มหี อ งปฏบิ ตั ิการ
3. มีความสามารถในการ กิจกรรมพฒั นาครูใชส ื่อและเทคโนโลยที ี่ คอมพิวเตอร
สรางนวัตกรรม เหมาะสมผนวกกบั การนําบริบทและภูมิปญ ญา
ของทอ งถิน่ มาบูรณาการในการจัดการเรยี นรู หลกั สูตรสถานศึกษา
4. มคี วามสามารถในการใช - กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นใชเทคโนโลยใี นการ - ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศและ เรียนรแู ละนาํ เสนอผลงาน ชั้น
การส่อื สาร - กิจกรรมจดั หองสมดุ ทใ่ี หบริการสอ่ื เทคโนโลยี ป.1-ม.3
สารสนเทศทีเ่ อ้ือใหผเู รยี นเรยี นรดู วยตนเอง - ผล RT, NT และ O-Net
และหรอื เรียนรูแ บบมสี วนรวม - การทดสอบชัน้ ป.1-ม.3
5. มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน - กิจกรรมพฒั นาผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการ รายงานสรปุ โครงการ
ตามหลกั สตู รสถานศึกษา เรียนแตล ะกลุมสาระเปนไปตามเกณฑ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตาม - กจิ กรรมยกระดบั คุณภาพสาระการเรียนรู
หลักสูตรสถานศึกษา พืน้ ฐาน 5 สาระ (ไทย คณิต วทิ ย สงั คม
ภาษาอังกฤษ)
6. มผี ลการทดสอบระดบั ชาติ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนมีผลการทดสอบ
ระดบั ชาตเิ ปนไปตามเกณฑ
7. มีความรู ทักษะพื้นฐาน -โครงการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี งสู
และเจตคติทด่ี ตี องานอาชีพ สถานศึกษา
- กจิ กรรมสง เสรมิ ทักษะทางวิชาชีพ

25

1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข องผเู รียนโครงการ/กจิ กรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ/ผลงานโดดเดน
ประเดน็ พิจารณา
1. การมีคณุ ลักษณะและ - โครงการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม - ภาพการเขา รว มกิจกรรม
คา นิยมท่ดี ีตามที่สถานศึกษา และคา นยิ มท่ีพึงประสงค คณุ ธรรม
กําหนด - กิจกรรมพฒั นาผูเ รียนมคี ณุ ลกั ษณะ
ท่พี ึงประสงคต ามหลักสตู ร
2. ความภมู ใิ จในทอ งถิ่นและ โครงการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม - ภาพกิจกรรมการรว มในวัน
ความเปนไทย และวันสําคญั สําคัญตา ง ๆ
3. การยอมรบั ทจี่ ะอยูรว มกัน กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นมีมนุษยสัมพันธ - บันทกึ นกั เรยี นรายบุคคล
บนความแตกตางและ ทีด่ แี ละใหเกยี รตผิ อู น่ื
หลากหลาย
4. สขุ ภาวะทางรางกาย และ โครงการผเู รยี นมีสุขภาวะที่ดี และมี - แบบบันทึกนํา้ หนัก/สว นสูงของ
จติ สังคม สุนทรียภาพ นักเรยี น
- แบบบนั ทกึ นกั เรยี นรายบุคคล
- ภาพถา ย

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ/ผลงานโดดเดน
ประเดน็ พจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม - มาตรฐานของโรงเรยี น
1. มเี ปาหมายวิสัยทัศนแ ละ กจิ กรรมการกําหนดมาตรฐาน - ขอมูลสารสนเทศของโรงเรยี น
พันธกิจทสี่ ถานศกึ ษากําหนด การศกึ ษาของสถานศึกษา - รายงานผลการประกันคุณภาพ
ชดั เจน - มาตรฐานการศกึ ษาของ
2. มีระบบบรหิ ารจดั การ - โครงพัฒนาการการประกันคุณภาพ สถานศกึ ษา
คณุ ภาพของสถานศึกษา ภายในของสถานศึกษาอยางมีคณุ ภาพ - หลักสูตรสถานศกึ ษา
- หลักสูตรรายวชิ าเพ่ิมเติม
3. ดําเนนิ งานพัฒนางาน - กิจกรรมพัฒนาผเู รียนมีผลการ
วชิ าการที่เนนคณุ ภาพผเู รียน ประเมนิ สมรรถนะสาํ คัญตามหลกั สตู ร - บันทกึ การไปราชการ
รอบดานตามหลักสตู ร เปนไปตามเกณฑ - บันทกึ การอบรม/ดงู าน
สถานศกึ ษาและทกุ - กิจกรรมพัฒนาผเู รียนมีผลการ - ภาพถาย,วิจัยชั้นเรยี น
กลุม เปา หมาย ประเมนิ สมรรถนะสาํ คัญตามหลกั สตู ร - สนามเด็กเลน
4. พัฒนาครูและบคุ ลากรให เปน ไปตามเกณฑ - มหี องปฏบิ ตั กิ ารตาง ๆ เชน
มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี โครงการสงเสริมบุคลากรใหเ ปนครูมอื หอ งสมุด หองปฏบิ ตั คิ อมพวิ เตอร
อาชีพ

5. จัดสภาพแวดลอ มทาง โครงการพฒั นาแหลงเรยี นรูและ
กายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ หองปฏบิ ัตกิ าร
การจดั การเรียนรูอยางมี
คุณภาพ

26

ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชงิ ประจกั ษ/ผลงานโดดเดน
6. จัดระบบเทคโนโลยี สง เสรมิ การใชและผลิตระบบ -หองปฏิบัติการคอมพวิ เตอร
สารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การ สารสนเทศ รายบุคคลของครูในการ
บรหิ ารจัดการและการจัดการ สอน
เรยี นรู

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปนสาํ คัญ

ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชงิ ประจักษ/ผลงานโดดเดน
1. จัดการเรยี นรูผ า น - โครงการสง เสริมผเู รยี นมคี วามรูและ โครงงาน
กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิ ทักษะทจ่ี ําเปนตามหลกั สตู ร ผลงานนักเรยี น
จริง และสามารถนาํ ไป - กจิ กรรมพฒั นาผูเรียนสรางผลงาน ภาพถาย
ประยกุ ตใ ชในชีวิตได จากเขา รวมกจิ กรรมดานศลิ ปะ ดนตรี
/นาฏศิลป กฬี า/นนั ทนาการ
ประเด็นพิจารณา - โครงการส่ังสอนทักษะอาชีพ
2.ใชส ่อื เทคโนโลยี โครงการ/กจิ กรรม หลักฐานเชงิ ประจักษ/ผลงานโดดเดน
สารสนเทศ และ แหลง - กิจกรรมพฒั นาผูเรียนใชเทคโนโลยีใน - แหลง เรยี นรนู า อยูและทนั สมยั
เรียนรูทีเ่ อื้อตอ การเรียนรู การเรยี นรูแ ละนาํ เสนอผลงาน - หองปฏิบัติการคอมพวิ เตอร
- กจิ กรรมจัดหองสมดุ ทีใ่ หบ ริการสอ่ื - แบบบนั ทกึ การใชห อ งปฏบิ ัต/ิ
3. มีการบริหารจดั การชั้น เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเอื้อใหผเู รยี น สอื่
เรยี นเชิงบวก เรยี นรดู วยตนเอง และหรือเรียนรูแ บบ
มีสว นรว ม
โครงการพัฒนาผูเ รยี นใหมีทักษะใน - โครงงาน
การคนควา และคิดอยา งเปนระบบ/ - วิจัยชั้นเรยี น
กจิ กรรมเรยี นรูด วยโครงงาน - ผลงานนกั เรียน

4. ตรวจสอบและประเมนิ - โครงการพัฒนาระบบขอมูล - แบบประเมินดานการเรียน
ผเู รียนอยา งเปน ระบบและ สารสนเทศนักเรียนและงานวัดผล - แบบ ป.พ.ตา ง ๆ
นาํ ผลมาพฒั นาผเู รียน ประเมนิ ผลการศกึ ษา - ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
- สงเสริมการวัดและประเมนิ ผลกอ น
และหลงั เรยี น
- กจิ กรรมพฒั นาครูใหมีการวัดและ
ประเมินผลที่มุงเนนการพฒั นาการ
เรยี นรูข องผเู รยี น ดวยวธิ ีการที่
หลากหลาย

27

ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กจิ กรรม หลกั ฐานเชงิ ประจักษ/ผลงานโดดเดน
5. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู - โครงการพัฒนาการการประกนั ขอ มูลสารสนเทศ
และใหขอมลู สะทอนกลับ คุณภาพภายในของสถานศึกษาอยา งมี แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป
เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการ คุณภาพ แผนพัฒนาการจดั การศึกษา
จดั การเรียนรทู เ่ี หมาะสมกบั - กจิ กรรมสงเสรมิ ใหน ักเรยี น มาตรฐานการศึกษา
สภาพของสถานศึกษา ผูปกครอง และชมุ ชนมีสวนรวมในการ รายงาน SAR
ประเมินการจดั การศกึ ษา และมีความ รายงานการประชมุ อบรม
พงึ พอใจผลการบริหารการจัด
การศกึ ษา

28

สวนที่ 3

สรุปผลการประเมิน และแนวทางการพัฒนา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปนขอมูลสารสนเทศสําคัญท่ีสถานศึกษา จะตองนําไป
วิเคราะห สังเคราะหเพ่ือสรุปนําไปสูการเช่ือมโยงหรือสะทอนภาพความสําเร็จ กับแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา (3-5 ป) และนําไปใชในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ดังนั้น จากผลการดําเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเดน จุดควร
พฒั นาของแตละมาตรฐาน พรอมทงั้ แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพ่ือใหไ ดคุณภาพที่สงู ขึ้นในอนาคตดงั น้ี

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ

จุดเดน จุดควรพัฒนา
ดานคณุ ภาพของผูเรียน ดานคณุ ภาพของผเู รยี น
- ผเู รยี นรจู ักดแู ลสขุ ภาพ รจู กั เลอื กรับประทาน - ผเู รยี นควรไดรับการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ในกลมุ สาระ
อาหารที่มคี ุณคา การเรยี นรู ทงั้ ๘ กลมุ สาระการเรียนรู
- ผเู รยี นมีสขุ นิสยั ทีด่ ี มนี า้ํ หนกั สวนสูงตามเกณฑ - ผเู รยี นควรไดรับการพฒั นาใหม คี วามสามารถในการ
- ผูเ รียนมกี ารออกกําลังกายสมํา่ เสมอ มคี วามรู คิดวิเคราะห
เกยี่ วเร่ืองยาเสพตดิ - ผเู รียนควรไดรับการพฒั นาใหมีความคดิ ริเร่มิ
- ผเู รยี นมสี นุ ทรยี ภาพและลักษณะนสิ ัยดา นศลิ ปะ สรางสรรค
ดนตรแี ละกฬี า - ผูเ รยี นควรไดรบั การพฒั นาดา นทักษะการทํางาน
- ผูเรยี นรูป ระโยชนแ ละโทษของอนิ เตอรเน็ต กลา
แสดงออก รจู กั การใหเกียรติผูอ่นื ดา นกระบวนการบริหารและการจดั การ

ดานกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ - ครคู วรฝกทกั ษะความคิดสรา งสรรค และ
เสรมิ สรา งจนิ ตนาการแกน กั เรียน
- ผบู รหิ าร และครมู ีวฒุ ิการศกึ ษาปริญญาตร/ี และ - เปด โอกาสใหผ ปู กครองไดม ีสวนรวมในการ
ปริญญาโท เสนอความคิดเหน็ ในการจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนา
- ครูมคี วามรแู ละประสบการณใ นการสอนนกั เรยี น ผูเรียน
- ครมู กี ารพัฒนาตนเองอยา งตอเนือ่ ง
- โรงเรียนมกี ารบรหิ ารและการจดั การอยางเปน - สรางเครอื ขา ยความรวมมือของผมู ีสวน
เก่ยี วขอ งในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหม ีความ
ระบบ เขม แข็ง

ดา นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปน - มสี วนรว มรับผิดชอบตอ ผลการจดั การศึกษา
สาํ คญั และการขับเคลื่อนคุณภาพ การจดั การศึกษา

- มกี ารสง เสริมและสนับสนนุ ใหบ คุ ลากรไดรบั การ ดา นกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน
พัฒนาตนเองอยเู สมอ สําคัญ

- ครมู ีความต้ังใจ มุงม่ันในการพฒั นาการสอน โดย - ควรกําหนดนโยบายในการพฒั นาหลกั สตู รให
จดั กิจกรรมใหนักเรยี นไดเรยี นรู ที่เนน ทักษะ ครอบคลุมการจัดประสบการณ
กระบวนการคิด ไดป ฏบิ ตั จิ รงิ มกี ารใหว ธิ ีการและ

29

จุดเดน จดุ ควรพฒั นา
แหลง เรียนรูท หี่ ลากหลาย - ควรสงเสรมิ พัฒนาบุคลากรในดานวิธกี ารสอน
และการทาํ วจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรียนรูของผูเรียน
- นักเรยี นมสี วนรว มในการจัดบรรยากาศ - เปดโอกาสใหผปู กครองไดม ีสว นรว มในการ
สภาพแวดลอ มท่เี ออื้ ตอการเรียนรู พฒั นาผูเ รียน

- ครูไดรบั การพัฒนาวชิ าชีพใหเ ปน ครูมืออาชีพใน
การจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผูเ รยี นเปน สาํ คัญ

แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพ่อื ใหไดค ุณภาพท่ีสงู ข้ึน

1) โครงการ/กิจกรรมพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทัง้ 8 สาระ
2) โครงการพฒั นาผเู รียนใหกาวทันเทคโนโลยี
3) จดั ทาํ แผนการพฒั นาครใู หเปน ครูมืออาชพี
4) โครงการปรับภูมิทัศน ปรับปรุงอาคารเรียนและสภาพแวดลอ ม
5) โครงการพฒั นาระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรียน
6) โครงการสง เสรมิ จดั กิจกรรมการเรยี นรูท เ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคัญ

30

ภาคผนวก

31

ประกาศโรงเรียนบา นปางหินฝน
เร่อื งใหใ ชมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
.....................................................................

โดยที่มีประกาศใชกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ท่ีกําหนดเปาหมายและยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนไทย และ
การศึกษาไทยในอนาคตประกอบกบั มนี โยบายปฏริ ปู ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพ ท้ังภายใน
และภายนอกของทุกระดับกอนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอไป จําเปนตองปรับปรุงมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหสอดคลองกัน จึงใหยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐาน
การศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.
2554 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ลงวนั ที่ 11 ตลุ าคม พ.ศ. 2559

พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
มาตรา 9 (3)ไดก าํ หนดการจัดระบบโครงสรา ง และกระบวนการจัดการศกึ ษาใหย ดึ หลกั สําคัญขอหนึ่ง คือมี
การกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภท
การศึกษา โดยมาตรา 31 ใหกระทรวงมีอํานาจหนาท่ีกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาและมาตรา 48 ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดให
มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของการ
บริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําป เสนอตอหนวยงานตน
สังกัดหนวยงานที่เก่ียวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
และเพ่ือการรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

โรงเรียนบานปางหินฝน จึงขอยกเลิกประกาศโรงเรียนบานปางหินฝน เรื่อง ใหใช
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 19 ธันวาคมคม
พ.ศ. ๒๕๕9 และปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให
เหมาะสมและสอดคลองกัน เพื่อนาไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบจากขาราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในการประชุม ครัง้ ท่ี 13 / 2561 เมอ่ื วันที่ 25 กนั ยายน พ.ศ. 2561

โรงเรียนบานปางหินฝน จึงประกาศใหใชมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัยและรับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามเอกสารแนบทายประกาศนี้ เพื่อ
เปนเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการประเมิน
คณุ ภาพภายใน ตง้ั แตป ก ารศกึ ษา 2561 เปนตน ไป

ประกาศ ณ วันท่ี 4 ตลุ าคม พ.ศ. 2561

(นายสมคิด แกวคํา)
ผอู าํ นวยการโรงเรียนบา นปางหนิ ฝน

32

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
แนบทายประกาศโรงเรยี นบานปางหนิ ฝน เรอ่ื ง ใหใชมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั ปฐมวยั และ

ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานเพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ฉบบั ลงวนั ท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
.....................................

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ.๒๕61 มี
จํานวน 3 มาตรฐาน ไดแก

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท่ีเนน เดก็ เปน สาํ คญั
แตละมาตรฐานมีรายละเอียดดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
1.1 เดก็ มพี ัฒนาการดา นรา งกาย แข็งแรง มสี ุขนิสัยทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได
1.2 เดก็ มีพฒั นาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณได
1.3 เดก็ มพี ฒั นาการดานสงั คม ชวยเหลอื ตนเอง และเปน สมาชิกท่ดี ีของสังคม
1.4 เดก็ มีพัฒนาการดา นสติ ปิ ญญา ส่ือสารได มที ักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู ด
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 โรงเรยี นมีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้งั 4 ดา น สอดคลองกับบรบิ ทของทองถิน่
2.2 โรงเรยี นจดั ครใู หเ พยี งพอกบั ช้นั เรียน
2.3 โรงเรยี นสง เสริมใหครมู คี วามเชยี่ วชาญดานการจัดประสบการณ
2.4 โรงเรยี นจัดสภาพแวดลอมและสื่อเพ่ือการเรยี นรู อยา งปลอดภยั และเพยี งพอ
2.5 โรงเรียนใหบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ
2.6 โรงเรียนมรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปด โอกาสใหผูเกีย่ วของทุกฝายมสี วนรว ม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณที่เนนเดก็ เปนสําคญั
3.1 ครจู ัดประสบการณท่ีสงเสรมิ ใหเ ด็กมกี ารพัฒนาการทุกดา นอยางสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
3.2 ครสู รา งโอกาสใหเ ดก็ ไดรับประสบการณตรง เลนและปฏบิ ตั อิ ยา งมคี วามสขุ
3.3 ครูจดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ การเรียนรูใชส ือ่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วยั
3.4 ครปู ระเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรุง

การจัดประสบการณและพัฒนาเด็ก

33

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
แนบทายประกาศโรงเรียนบานปางหินฝน เร่อื ง ใหใ ชมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับปฐมวยั และ

ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ฉบบั ลงวันท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561
.....................................

มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา พ.ศ.๒๕61 มีจาน
วน 3 มาตรฐาน ดังน้ี

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู รยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผูเรยี น
๑.๒ คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคของผูเรียน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นนผเู รียนเปนสําคัญ
แตล ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเรยี น

๑) นักเรยี นมีความสามารถในการอา น การเขียน การสือ่ สารตามเกณฑท สี่ ถานศึกษากําหนด
2) นักเรยี นมีความสามารถคดิ คาํ นวณไดตามเกณฑทสี่ ถานศึกษากําหนด
3) นักเรียนมีความสามารถในการวิเคราะหและคิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ และแกปญ หาไดตาเกณฑ
4) นักเรียนมีผลงานหรือชิ้นงานจากการทางานกลุมหรือเดี่ยวได และสามารถอธิบายหลักการ
แนวคิด ขั้นตอนการทางาน และปญ หาอปุ สรรคของการทางานได
5) นกั เรยี นสามารถใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูลได
๖) นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
๗) นกั เรียนมคี วามรู ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ี่ดีพรอ มทจี่ ะศึกษาตอในระดบั ช้นั ทีส่ งู ข้ึน
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข องผูเรยี น
๑) นกั เรียนมีคุณลักษณะและคานิยมท่ีดตี ามเกณฑท ี่สถานศกึ ษากําหนด
๒) นักเรียนมสี วนรว มในกิจกรรมประเพณขี องทอ งถิน่ และมีความภมู ใิ จในความเปน ไทย
๓) นกั เรยี นอยูรวมกันอยา งมคี วามสขุ บนความแตกตา งทางวัฒนธรรมและความหลากหลาย
๔) นักเรยี นมีสุขภาพรางกายทแ่ี ข็งแรงสมบูรณและแสดงออกอยา งเหมาะสมตามชวงวยั
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.๑. โรงเรยี นกาํ หนดเปา หมายวสิ ัยทศั น และพันธกิจทช่ี ดั เจน
๒.2 โรงเรยี นมรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาตามระบบ PDCA
2.3 โรงเรยี นมีการพัฒนาวชิ าการตามคณุ ภาพผูเ รียนตามหลกั สตู รสถานศึกษาทกุ กลุมเปาหมาย
2.4 โรงเรยี นสงเสรมิ และสนับสนุนพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม คี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
2.5 โรงเรียนจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสภาพแวดลอมทางสังคมที่เอื้อตอการจัดการ
เรียนรูอ ยา งมีคณุ ภาพ
2.6 โรงเรยี นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู

34
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ

3.1 ครูสามารถจัดการเรียนรูใหนักเรียนเกิดกระบวนการคิดและคิดสรางสรรคโดยการปฏิบัติจริง
และสามารถนาไปประยุกตใ ชในชีวิตได

3.2 ครสู ามารถใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรูที่หลากหลายที่เอ้อื ตอ การเรยี นรู
3.3 ครมู กี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก
3.4 ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปน ระบบและนาผลมาพัฒนาผเู รยี น
3.5 ครูมีการแลกเปล่ยี นเรียนรูและใหข อมลู สะทอนกลับเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู

35

ประกาศโรงเรยี นบานปางหินฝน
เรือ่ ง กาํ หนดคาเปา หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัยและระดับการศึกษา

ข้นั พืน้ ฐาน เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
-------------------------------------------------

โดยทมี่ ีประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองที่กําหนดเปาหมายและยุทธศาสตร
ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เร่ืองกําหนดหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหใชมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕61 โรงเรียนบานปางหินฝน และปรับ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จาการมีสวนรวมของผูเก่ียวของ ท้ัง
บุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผูปกครอง และประชาชนชุมชนใหเหมาะสมและสอดคลองกัน เพ่ือนําไปสู
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในการประชุม
คร้งั ที่ ๓/๒๕๖๔ เม่อื วนั ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เพ่อื ใหก ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียนบานปางหินฝนมีคุณภาพและมาตรฐานจึงกําหนดคาเปาหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ตามเอกสารแนบทายประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔

(นางภทั รนาถ วะไลใจ)
ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ
รกั ษาการในตาํ แหนง ผอู ํานวยการโรงเรยี นบานปางหินฝน

36

การกาํ หนดคาเปา หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปก ารศึกษา ๒๕๖4
เรือ่ ง กําหนดคาเปา หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย

..................................................................................................

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา เปาหมายมาตรฐาน/

ประเดน็ การพิจารณา

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ ระดบั ยอดเยีย่ ม
๑.๑ มกี ารพฒั นาดานรา งกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภยั ของ ระดบั ยอดเยี่ยม
ระดับ ยอดเยย่ี ม
ตนเองได
๑.๒ มีการพฒั นาดานอารมณ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณได ระดบั ดเี ลศิ
๑.๓ มีการพฒั นาการดานสงั คม ชวยแหลือตนเอง และเปนสมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม ระดับ ดเี ลิศ
๑.๔ มพี ฒั นาการดานสติปญญา ส่อื สารได มีทักษะการคิดพืน้ ฐานและแสวงหาความรูได ระดับ ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ระดับ ยอดเย่ียม
๒.๑ มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดาน สอดคลองกบั บริบทขอองทองถนิ่ ระดบั ดเี ลิศ
๒.๒ จัดครใู หเ พียงพอกับชัน้ เรยี น ระดบั ดเี ลิศ
๒.๓ สงเสริมใหค รูมคี วามเชย่ี วชาญดา นกากรรจดั ประสบการณ ระดับ ดีเลิศ
๒.๔ จัดสภาพแวดลอมและสื่อเพื่อการเรยี นรู อยางปลอดภยั และเพยี งพอ ระดบั ดีเลิศ
๒.๕ ใหบ ริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู พ่อื สนบั สนุนการจัดประสบการณ ระดบั ดีเลิศ
๒.๖ มีระบบบริหารคณุ ภาพที่เปด โอกาสใหผ เู กยี่ วของทุกฝายมีสวนรวม ระดับ ดีเลิศ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณทเ่ี นน เดก็ เปน สําคญั ระดับ ดีเลิศ
๓.๑ จัดประสบการณท ่สี งเสรมิ ใหเ ดก็ มีการพัฒนาการทุกดา นอยางสมดุลเต็มศักยภาพ ระดบั ดีเลศิ
๓.๒ สรางโอกาสใหเ ด็กไดร ับประสบการณตรง เลนและปฏบิ ัติอยา งมีความสขุ ระดบั ยอดเย่ียม
๓.๓ จัดบรรยากาศทเ่ี อื้อตอการเรียนรูใ ชสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวยั ระดบั ดเี ลศิ
๓.๔ ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงแลละนําผลประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุง ระดับ ดเี ลิศ
การจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเดก็
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

37

การกําหนดคาเปา หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปการศกึ ษา ๒๕๖4
เรือ่ ง กาํ หนดคาเปาหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

..................................................................................................

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา คาเปาหมายมาตรฐาน/
ประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ รยี น ระดบั ยอดเยย่ี ม
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน ระดับ ดีเลศิ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับ ยอดเยย่ี ม
2.1 มีเปา หมาย วิสยั ทัศน และพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากําหนดชดั เจน ระดบั ยอดเยี่ยม
2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดาํ เนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ นน คุณภาพของผูเ รียนรอบดา น ตามหลักสูตร ระดับ ดีเลศิ
ระดับ ดีเลศิ
สถานศึกษาและทกุ กลุมเปาหมาย ระดับ ดีเลศิ
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี
2.5 จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ตอ การจดั การเรยี นรูอยา งมี ระดบั ยอดเยี่ยม
ระดับ ยอดเยี่ยม
คณุ ภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการ ระดับ ยอดเยี่ยม

จดั การเรียนรู ระดบั ยอดเย่ยี ม
ระดบั ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปนสําคญั
3.1 จัดการเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนําไป ระดับ ยอดเยี่ยม
ระดบั ยอดเย่ียม
ประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตได ระดับ ยอดเยีย่ ม
3.2 ใชส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง เรียนรูทีเ่ อื้อตอ การเรยี นรู
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก ระดบั ดีเลศิ
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปน ระบบ และนําผลมาพัฒนาผเู รียน
3.5 มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรแู ละใหข อมูลสะทอนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรงุ ระดับ ยอดเยยี่ ม

การจดั การเรียนรู

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

38

คาํ ส่ังโรงเรยี นบานปางหินฝน
ท่ี ๐14 / ๒๕๖5

เร่ือง แตง ต้งั คณะกรรมการจัดทํารายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
……………….…………………………………..

อาศัยตามมาตรา ๘๖ แหงพระราชบัญญัติครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ โรงเรียนจึง
แตงตั้งใหขาราชการครู พนักงานราชการ ครูอัตราจางและลูกจางประจําเปนคณะกรรมการจัดทํารายงาน
การประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖4 ดงั นี้

๑. นายกมล แสงบุญ ผอู าํ นวยการ ประธานกรรมการ
๒. นางสาววรัณญา รัชตะวฒุ ิ ครูชาํ นาญการ รองประธานกรรมการ
3. นางภัทรนาถ วะไลใจ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ
4. นางสาวสาวิตรี สุขสมพนารกั ษ ครชู าํ นาญการ กรรมการ
5. นายพิทกั ษ พทิ าคาํ ครู กรรมการ
6. นายพรอมพงศ วรนาถยืนยง ครู กรรมการ
7. นางสาวเปรมฤทยั คําฟอง ครู กรรมการ
8. นางสาวนัยนา สมจติ รแกว ครู กรรมการ
9. นางสาวพัชรี บญุ ทพิ ย ครู กรรมการ
10. นางสาวพิมพพ จี วเิ ศษคุณ ครผู ชู วย กรรมการ
11. นายชยั ณรงค อาชพี สุขกมล ครูผูชว ย กรรมการ
๑2. นายบรรจง วิเศษคณุ ครูอตั ราจาง กรรมการ
๑3. นางสาวลาวัลย ดาํ รงกาญจนกุล ครูพกั นอน กรรมการ
๑4. นางสาวศศิลออ ชยั บาล ครู กรรมการและเลขานุการ
15. นางสาวจณิ หว รา เตปน ครู ผูช ว ยกรรมการและเลขานุการ

ใหม ีหนา ทใี่ นการดําเนินการจดั ทํารายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจําป
การศึกษา ๒๕๖4 ใหแลวเสร็จเพอ่ื ใชเ ปนฐานขอมลู ทีจ่ าํ เปนสําหรบั การประเมนิ ภายนอกตอไป

ทั้งน้ตี ัง้ แต วันท่ี 24 เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖5 เปน ตน ไป
สงั่ ณ วนั ที่ 24 เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖5

(นายกมล แสงบุญ)
ผูอาํ นวยการโรงเรียนบา นปางหนิ ฝน

39

40

ประมวลภาพกจิ กรรม

แจกใบงาน-แบบฝกหดั สาํ หรับการเรยี นการสอนแบบออนแฮนดใ นสถาการณก ารแพรระบาด
ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา-2019 ปการศกึ ษา 2564

เลอื กต้ังสภานักเรยี น ๒๕๖๔

41
โครงการฝกอบรมลูกเสือตา นภัยยาเสพติด
กิจกรรมไหวค รู ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

42
รบั การนิเทศติดตามจากสํานักเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต ๖

ประจาํ ภาคเรียนที่ ๑

รบั การนเิ ทศตดิ ตามจากสํานักเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม เขต ๖
ประจําภาคเรียนที่ ๒

43
เขา รวมอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบคุ ลากร
แนะแนวนักเรยี นโรงเรยี นในเขตรับผดิ ชอบและพน้ื ท่ใี กลเคยี ง

44
เดินขบวนรณรงคงดเผาปา ลดหมอกควัน
กจิ กรรมทาํ บญุ เวยี นเทียนวันมาฆบชู า ปการศึกษา ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version