The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kamonphon5820, 2021-09-12 00:10:10

สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)

สมเด็จพระวนั รัต
(เฮง เขมจารี)
ป.ธ.9)



ประวตั ิ

ชาติกาเนิด สมเด็จพระวนั รัต (เฮง เขมจารี ป.ธ.9) นามเดิมช่ือ

เฮง หรือ กิมเฮง แซ่ฉั่ว เกิดเมื่อวนั จนั ทร์ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2424 ณ
บา้ นท่าแร่ ต. สระแกกรัง อ.น้าซึม จ.อุทยั ธานี บิดาเป็ นชาวจีน ชื่อ นาย
ต้วั เก๊า มารดาช่ือ นางทบั ทิม มีพ่ีน้องร่วมบิดามารดาพดว้ ยกนั 4 คน
ท่านเป็ นคนที่ 3 มารดาไดเ้ สียชีวิตเมื่อคลอดลูกคนท่ี 4 ซ่ึงเป็นหญิงและ
เสียชีวิตพร้อมกนั ยายชื่อ นางแห ไดอ้ ุปถมั ภเ์ ล้ียงดูตลอดมา

เมื่ออายุได้ 8 ปี ป้าช่ือ นางเกศร์ ไดพ้ าไปฝากเรียนหนงั สือไทย
อยู่ในสานักอาจารยช์ ัง วดั ขวิด เมืองอุทยั ธานี จนมีความรู้อ่านหนงั สือ
ไทยได้ ต่อมาอายุได้ 11 ปี ยายและป้าไดพ้ าไปฝากอยู่ในสานกั ของพระ
ปลดั ใจ คงฺคสโร (ต่อมาเป็ นพระราชาคณะที่พระสุนทรมุนี เจา้ คณะ
จงั หวดั อุทยั ธานี) เจา้ อาวาสวดั ทุ่งแกว้

เม่ือไปอยู่วดั ทุ่งแกว้ ไดศ้ ึกษาภาษาบาลี เริ่มอ่านและเขียน
อกั ษรขอม แลว้ หัดอ่านหนงั สือพระมาลยั ตามประเพณีการศึกษาในสมยั
โบราณ แลว้ ท่องสูตรมูลกจั จายน์และเรียนสนธิ เรียนนามถึงกิต เรียน
อุณณาทและการก เรียนพระธรรมบทและมงคลทีปนี กบั พระอาจารย์
หลายท่าน จากน้นั ไดเ้ ขา้ ไปเรียนหนังสือเพิ่มเติมที่กรุงเทพฯ เช่น เรียน
ลูกคิด เรียนเลข เป็ นตน้ คร้ันอายุย่างเขา้ 12 ปี บรรพชาเป็ นสามเณร

และไดส้ ึกจากสามเณรถึง 2 คร้ัง เพราะตอ้ งเซ่นไหวบ้ รรบุรุษ ใน
เทศกาลตรุษจีนตามธรรมเนียมของจีน

อุปสมบทและศึกษาปริยัติธรรม เมื่ออายุย่างเขา้ 13 ปี จึง

บรรพชาเป็นสามเณรอกี และเรียนภาษาบาลีอยใู่ นวดั ทุ่งแกว้ ตลอดมา จน
เรียนมลู กจั จายน์ เรียนพระธรรมบทจนจบ และเรียนมงคลทีปนี ไปแลว้ 6-7
ผกู คร้ันอายยุ า่ งเขา้ 17 ปี จึงลงมาอยวู่ ดั มหาธาตุฯ กรุงเทพฯ เมื่อวนั ท่ี 22
ตลุ าคม 2440 และอยกู่ บั พระมหายิม้ คณะเลข 23 (ซ่ึงในเวลาน้นั ยงั ไม่มีเลข
ประจาคณะ แต่เรียกว่า คณะตน้ จนั ทน์ เพราะมีตน้ จนั ทนอ์ ยหู่ ลงั กฏุ ิ 3 ตน้ )
สมยั น้นั สมเดจ็ พระวนั รัต (ฑิต) ดารงสมณศกั ด์ิท่ีพระพมิ ลธรรม เป็นเจา้
อาวาสวดั มหาธาตุฯ และมีพระราชาคณะผชู้ ่วย 2 องค์ คือ พระราชโมลี
(จา่ ย) และพระอมรเมธาจารย์ (เขม้ ) ท่านไดเ้ ขา้ เรียนพระปริยตั ิธรรมและ
บาลีโดยเขา้ สอบพระปริยตั ิธรรมสนามหลวง
ดงั น้ี

พ.ศ. 2441 สอบไดเ้ ปรียญ 3 ประโยค
พ.ศ. 2443 สอบไดเ้ ปรียญ 4 ประโยค
พ.ศ. 2444 สอบไดเ้ ปรียญ 5 ประโยค
พ.ศ. 2445 อปุ สมบท ณ พนั ธสีมาวดั มหาธาตฯุ

เมื่อวนั จนั ทร์ เดือน 7 ข้นึ 11 ค่า ปี ขาล ตรงกบั วนั ท่ี 16 มิถุนายน
โดยมีสมเด็จพระวนั รัต (ฑิต) เป็นพระอุปัชฌายะ และพระธรรมวโรดม
(จ่าย) วดั เบญจมบพิตรกบั พระเทพเมธี (เขม้ ) วดั พระเชตพุ นฯ เป็นคู่
กรรมวาจาจารย์ และในปี น้ี สอบไดเ้ ปรียญ ถึง 2 ประโยคจึงไดเ้ ปรียญ 7
ประโยค

พ.ศ. 2446 สอบไดเ้ ปรียญ 8 ประโยค และ

สมเด็จพระวนั รตั (ฑิต)ไดถ้ วายตวั ฝากเรียนฎีกาสงั คหะ (อภิธมฺมตฺถวภิ าวินี)
กบั พระเจา้ นอ้ งยาเธอกรมหลวงวชิรญาณวโรรสทรงเป็นพระอาจารยแ์ ต่น้นั
มา

พ.ศ. 2447 สอบไดเ้ ปรียญ 9 ประโยค เมื่ออายยุ า่ งเขา้ 24 ปี
สมเดจ็ ฯ ไดร้ ับพระราชทาน สมณศกั ด์ิ ตามลาดบั ดงั น้ี

พ.ศ. 2452 เป็นพระศรีวิสุทธิวงศ์
พ.ศ. 2455 เป็นพระราชสุธี
พ.ศ. 2459 เป็นพระเทพโมลี
พ.ศ. 2464 เป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์
พ.ศ. 2471 เป็นพระพิมลธรรม
พ.ศ. 2482 เป็นสมเดจ็ พระวนั รตั เมื่ออายุ 59 ปี 38 พรรษา

สมเด็จพระวนั รัต (เฮง เขมจารี) เป็ นนักการศึกษา ตาแหน่ง
หน้าท่ีประจาที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงและยืดยาวนานของท่านคือ นายก
มหาธาตุวิทยาลยั ซ่ึงท่านไดร้ ับช่วงสืบต่อมาจากสมเด็จพระวนั รัต (ฑิต)
พระอุปัชฌายข์ องท่าน และท่านก็สามารถทานุบารุงและจดั การศึกษา
ของสถานศึกษาฝ่ ายพระมหานิกายแห่งน้ี ให้เจริญกา้ วหน้าเป็นอย่างย่ิง
สมดงั พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ซ่ึง
ปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษส์ ังฆิกเสนาสน
ราชวิทยาลยั ทา้ ว ความเดิมถึงพระราชปณิธานที่ทรงต้งั มหาธาตุวิทยาลยั
ไวว้ ่า“อีกสถานหน่ึงเป็ น ที่เล่าเรียนของคณะสงฆฝ์ ่ ายมหานิกาย ไดต้ ้งั ไว้
ที่วดั มหาธาตุฯ ไดเ้ ปิ ดการเล่าเรียนมาต้งั แต่วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน รัตนโกสิ
นทรศก 108 (พ.ศ. 2432) สืบมา”

สมเด็จฯทุ่มเทชีวิตจิตใจและสติปัญญาลงในการจดั การศึกษา
ของมหาธาตุวิทยาลยั อย่างจริงจงั นอกจากจดั การศึกษาโดยตรงแลว้ เพ่ือ
สนับสนุนการศึกษาให้มนั่ คงถาวรย่ิงข้ึน สมเด็จฯไดข้ วนขวายจดั ต้งั
มูลนิธิบารุงการศึกษาพระปริยตั ิธรรมของมหาธาตุ วิทยาลยั ข้ึน
เม่ือ พ.ศ. 2468 เรียกชื่อตามตราสารต้งั มูลนิธิว่า “มูลนิธิโรงเรียนบาลี
มหาธาตุวิทยาลยั ”มีคณะกรรมการท้งั ฝ่ ายบรรพชิตและฝ่ าย คฤหัสถ์ร่วม
จดั การ และมีระเบียบดาเนินการอย่างรัดกุมเป็ นอย่างดีย่ิงสานักงานของ
มูลนิธิต้งั อยู่ท่ีสานกั งานพระคลงั ขา้ งท่ีในพระบรมราชวงั

การจดั ต้งั มูลนิธิของสมเด็จฯ ทาให้มหาธาตุวิทยาลยั สมยั น้นั มีฐานะ
มน่ั คงเขม้ แข็งและสามารถขยายการศึกษาได้ กวา้ งขวางย่ิงข้ึน

ในการศึกษาพระปริยตั ิธรรม แมเ้ มื่อสมเด็จฯ บาเพญ็ กุศลในคราวมีอายุ
ครบ 5 รอบ หรือ 60 ปี บริบูรณ์ ใน พ.ศ. 2485 ไดส้ ร้างหนังสือแปลบาลี
แบบสนามหลวง ต้งั แต่ประโยค 3 ถึงประโยค 9 ซ่ึงสมเด็จฯ แปลข้ึน
เพ่ือใชเ้ ป็ นตวั อย่าง แจกจ่ายไปตามสานักเรียนต่าง ๆ ท้งั ในกรุงและหัว
เมือง ตลอดถึงนักเรียนผูต้ อ้ งการท้งั ในสานกั วดั มหาธาตุฯ และต่าง
สานกั

มรณภาพ ท่านไดอ้ าพาธดว้ ยโรคหลอดลมอกั เสบเร้ือรังกบั

ข้วั ปอดโตข้ึน มีอาการไอกาเริบ และมรณภาพในวนั ที่ 10 พฤษภาคม
2486 ณ หอเยน็ คณะเลข 1 วดั มหาธาตุฯ สิริรวมอายุได้ 63 ปี 42 พรรษา

คุณธรรม

1 เป็ นผเู้ คารพต่อพระรัตนตรัย ท่านเป็ นพระเถระทีเคร่งครัด
ในการทาวตั รไหวพ้ ระสวดมนต์ทุกค่าเช้า เพราะท่านถือว่าการทาวตั ร
เชา้ ค่าน้ันเป็ นการแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย โดยท่านไดป้ รารถ
ว่า “การลงทาวตั รเช้าค่าทุกวนั น้ีก็เทียบไดก้ บั การไปสู่ที่บารุงของพระ
บรมศาสดา”

2 เป็ นผูม้ ีความกตญั ญูกตเวที เป็ นคุณสมบตั ิประการหน่ึงของ
ท่าน เช่น การท่ีท่านเคารพอุปัชฌายข์ องท่านมาก ไม่เคยปรากฏอาการที่
แสดงความไม่เคารพแมส้ ักขณะหน่ึง ท่านจะลงสรงนน้าในโอกาสข้ึนปี
ใหม่แด่พระอุปัชฌายข์ องท่านไม่เคยขาดตลอดเวลาท่ีท่านยงั มีชีวิต

2.1 ส่วนการปฎิบตั ิต่อบิดามารดา = ท่านก็เช่ือฟังปฎิบตั ิตามคาสอนของ
บิดามารดาในทุกวนั ตรุษจีนท่านจะจดั การเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษ โดย
ดดั แปลงให้สอดคลอ้ งตามหลกั พระพุทธศาสนา ส่วนที่ไม่เหมาะท่ีพระ
จะทาก็เรียกให้ญาติเป็ นผูก้ ระทาแทน

3 การบาเพ็ญสาราณียธรรม ท่านจะแบ่งปันลาภ ท่ีไดร้ ับมา
ให้กบั พระสงฆ์หรือสามเณรอย่าเป็ นธรรม ส่วนตวั ท่านก็ใช้สอยสิ่งของ
สักการะจากผูศ้ รัทธาอย่างประหยดั

4 เป็ นนกั ปกครองที่ดีเย่ียม การจดั การปกครองของท่านไดร้ ับ
การไวว้ างใจจากพระเถระให้เลื่อนตาแหน่งสูงข้ึนเรื่อยๆ สร้างความ
เจริญรุ่งเรืองแก่พระพุทธศาสนามาโดยลาดบั

4.1 ส่วนการบริหารการศึกษา ท่านสามารถทานุบารุงและจดั การศึกษา
ของสถานศึกษาฝ่ ายมหานิกายให้เจริญกา้ วหน้าเป็นอย่างย่ิง ตามพระ
ราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ที่ว่า วดั
มหาธาตุฯ เป็ นอีกสถานที่หน่ึง ท่ีใชศ้ ึกษาเล่าเรียนคณะสงฆ์ฝ่ าย
มหานิกาย และเปิ ดการเล่าเรียนมาต้งั แต่วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน รัตนโกศก
108 สืบมา

เหรียญปี ๒๔๘๒ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
สะพานสมเดจ็ พระวนั รัต (เฮง เขมจารี)

สะพานสมเด็จพระวนั รัต (เฮง เขมจารี)

จัดทาโดย
นางสาวกมลภรณ์ ใจกลม เลขที่5
นางสาวกญั ญาภทั ร ศรีรักษา เลขที่7
นางสาวจิตตราภรณ์ ปวนสุข เลขท่ี11
นางสาวชานิกา กนั ทาสุข เลขท่ี12
นางสาวณิชวรา มีเจริญ เลขท่ี19
นางสาวดุษฎีนาถ อาณาเขตต์ เลขท่ี20
นางสาวศุภรัสม์ิ เหล่าสูง เลขท่ี34

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/5

เสนอ
คุณครูจุรีรัตน์ คลี่ใบ
โรงเรียนนารีรัตน์จงั หวดั แพร่






Click to View FlipBook Version