เทคโนโลยีอวกาศ
ชั้นประถมศึ
ก
ษาปีที่ 6
คุณครูมลฤดี แสนเดช
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
พัฒนาการภขาอรงะเทงาคนโนโลยีอวกาศ
อวกาศ หมายถึง อาณาบริวเวณอันกว้างใหญ่ที่อยู่เลยชั้นบรรยากาศของโลกออก
ไป ไม่สามารถระบุถึงขอบเขตได้อย่างชัดเจน โดยปกติอวกาศเป็นที่ว่างเปล่า มีความหนา
แน่นน้อย การศึกษาความรู้เกี่ยวกับอวกาศจำเป็นต้องใช้ความรู้ เครื่องมือ และกลวิธี
ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
ดังนั้น เทคโนโลยีอวกาศ จึงหมายถึง ระเบียบการนำความรู้ เครื่องมือและวิธีการ
ต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ และ
อวกาศ ตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ และการ
ดำรงชีวิตของมนุษย์ด้วย เช่น การนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้สำรวจและตรวจสอบสภาพ
อากาศของโลก เป็นต้น
สื่ อการสอนครู แต๊ก
สหภาพโซเวียตส่ง สปุตนิก 1 สหภาพโซเวียตส่งนักบิน
ดาวเทียมดวงแรกของโลก อวกาศหญิงคนแรกของโลก
ขึ้นไปโคจรรอบโลก แล้วได้ ขึ้นไปในอวกาศพร้อมกับ
ทำการทดลองเกี่ยวกับการ ยานวอสต็อก 6
ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตใน
อวกาศ โดยการส่งสุนัขชื่อ สหภาพโซเวียตส่ง วาเลนตินา สหรัฐอเมริกาส่งนักบินอวกาศ สหรัฐอเมริกาทำการส่ง
ไลกา ไปพร้อมกับ นักบินอวกาศคนแรก เทเรซโควา นิโคเลเยฟ ไปกับ ยานอะพอลโล 11 ยานวอยเอเจอร์ 1 และ 2
ยานสปุตนิก 2 ของโลกขึ้นไปโคจรรอบ เพื่อลงสำรวจบนดวงจันทร์ ขึ้นไปสำรวจวงแหวนดาวเสาร์
โลกพร้อมกับ
พร้อมกับนักบินอวกาศ ชื่อ และดวงจันทร์ ดวงที่
ยานวอสต็อก 1 นีลอาร์มสตรอง เอ็ดวิน อัลดริน เป็นบริวารของดาวเสาร์
และไมเคิล คอลลินส์ และขยายโครงการของ
เป็นครั้งแรกที่มีมนุษย์สามารถ ยานวอยเอเจอร์ 2
ก้าวลงเหยียบบนดวงจันทร์ได้ ในการสำรวจดาวยูเรนัส
และดาวเนปจูน
ยูริ กาการิน สื่ อการสอนครู แต๊ก
สหรัฐอเมริกาส่ง ยานมาร์ส องค์การนาซาทำการส่ง องค์การนาซาได้ทำการ บริษัทเวอร์จินกาแล็กติก
พาธไฟน์เดอร์ เพื่อไปสำรวจ ยานดีพอิมแพค ไปสำรวจ ปล่อยยาน Parker Solar ในสหรัฐอเมริกาส่ง
ดาวอังคาร โดยใช้ยานอวกาศ ดาวหางเทมเปล 1 ซึ่งเป็น ยานวีเอสเอส ยูนิตี
หุ่นยนต์ 6 ล้อ ชื่อ โซเจอร์เนอร์ เพื่อสำรวจส่วนนอกสุด เป็นยานอวกาศเพื่อ
ดาวหางที่ช่วยให้ ของชั้นบรรยากาศ
ถ่ายภาพดาวอังคาร นักดาราศาสตร์สามารถ ดวงอาทิตย์ การท่องเที่ยว มีผู้โดยสาร
ส่งกลับมายังโลก อธิบายการเกิดระบบสุริยะ คือ เบท โมเสส
เมื่อหลายล้านปีที่แล้วได้ องค์การนาซาได้ส่งดาวเทียม
สหรัฐอเมริกา และองค์การ
สำรวจธารน้ำแข็ง ICEsat-2
อวกาศยุโรปร่วมกัน เพื่อทำการสำรวจและเก็บข้อมูล
ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ปริมาณการละลายของ
ฮับเบิล ขึ้นไปโคจรรอบโลก ธารน้ำแข็งบนพื้นโลก
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
เทภคาโรนะโงลายีนที่ใช้
ในการสำรวจอวกาศ
กล้องโทรทรรศน์
เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้
สังเกตวัตถุบนท้องฟ้าที่อยู่ไกล ๆ
โดยขยายภาพของวัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
เทภคาโรนะโงลายีนที่ใช้
ในการสำรวจอวกาศ
ดาวเทียม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นเพื่อส่ง
ขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อใช้งานใน
วัตถุประสงค์ที่ต่างกัน เช่น
การพยากรณ์ การติดต่อสื่อสาร
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
เทภคาโรนะโงลายีนที่ใช้
ในการสำรวจอวกาศ
จรวด
เป็นยานพาหนะที่ใช้ในการส่งยานอวกาศ
เพื่อให้หลุดพ้นจากแรงโน้มถ่วงของโลก
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
เภทาครโะนงโาลนยีที่ใช้
ในการสำรวจอวกาศ
ยานอวกาศ
เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ในการเดินทาง
เพื่อสำรวจอวกาศของมนุษย์
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีที่ใช้
ในการสำรวจอวกาศ
ยสานถอานวีกาศ เป็นยานอวกาศขนาดใหญ่ที่
มนุษย์สามารถอาศัยอยู่ได้และ
ปฏิบัติภารกิจในนั้นได้หลายเดือน
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
ใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ใช้ดาวเทียมสื่อสาร
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาทำหน้าที่ส่งสัญญาณภาพถ่าย สำหรับการสื่อสาร การแพร่สัญญาณทางโทรทัศน์ วิทยุ
ทางอากาศพร้อมทั้งเก็บข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา เช่น เป็นดาวเทียมที่ต้องทำงานอยู่ตลอดเวลา เรียกได้ว่าทำงานตลอด 24 ชม.
การสำรวจจำนวนและชนิดของเมฆ ติดตามลักษณะ
อากาศที่แปรปรวน การตรวจวัดความเร็วลม ความชื้น ไม่มีวันหยุด เพื่อที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารของโลกเข้าไว้ด้วยกัน
และอุณหภูมิ เพื่อการพยากรณ์และเตือนภัยพิบัติต่าง ๆ ดาวเทียมสื่อสารทำหน้าที่เป็นสถานีรับส่งคลื่นวิทยุและเชื่อมโยงเครือข่าย
การสื่อสารของโลก ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารภายในหรือภายนอกประเทศ ทั้ง
โดยเฉพาะการเกิดพายุที่รุนแรง
โทรศัพท์ โทรเลข โทรสาร รวมถึงการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์
สัญญาณวิทยุ และการส่งข้อมูลดิจิตอลต่าง ๆ
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
ใช้ดาวเทียมสำรวจ ใช้ดาวเทียมนำร่องหรือ GPS
ทรัพยากร
เป็นระบบบอกตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ซึ่งประกอบ
ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติเป็นการผสมผสานระหว่าง ด้วยเครือข่ายดาวเทียมจำนวน 32 ดวง โคจรรอบโลกในทิศทาง
เทคโนโลยีการถ่ายภาพและโทรคมนาคม มักถูกใช้เป็นสถานี
ต่างๆ ที่ระยะสูง 20,000 กิโลเมตรส่งสัญญาณมาบนโลก
เคลื่อนที่ในการสำรวจแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติที่สำคัญ พร้อมๆ กัน แต่เนื่องจากดาวเทียมแต่ละดวงอยู่ห่างจากเครื่อง
รวมถึงการตรวจตราและเฝ้าสังเกตการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลก รับบนพื้นโลกไม่เท่ากันดังภาพที่ 5 เครื่องรับจึงได้รับสัญญาณ
อีกทั้ง ยังช่วยในการเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยาและนิเวศวิทยาที่เป็น
ประโยชน์ เช่น การสำรวจพื้นที่ป่าไม้ การสำรวจพื้นที่การเกษตร จากดาวเทียมแต่ละดวงไม่พร้อมกัน วงจรอิเล็คทรอนิกส์ใน
และการใช้ที่ดิน รวมไปถึงเพื่อการอนุรกษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เครื่องรับ GPS นำค่าเวลาที่แตกต่างมาคำนวณหาพิกัด
ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรของไทยมีชื่อว่า ธีออส (Theos) ภูมิศาสตร์บนพื้นโลก ปัจจุบันเครื่องรับ GPS เป็นที่นิยมใช้กันใน
หมู่นักเดินทางมีทั้งแบบมือถือ ติดตั้งบนรถ เรือ และเครื่องบิน
สื่ อการสอนครู แต๊ก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ใช้ความรู้มาประดิษฐ์ของใช้
ใช้ดาวเทียมดาราศาสตร์ เช่น หมวกกันน็อกที่นักปั่น
จักรยานสวมเพื่อปกป้องศีรษะ
เป็นดาวเทียมที่มีกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ดาราศาสตร์สำหรับ
ศึกษา ในการสำรวจดาวและ วัตถุต่าง ๆ สำรวจ ตรวจวัด วัตถุ รองเท้านักกีฬาที่มีวัสดุกัน
กระแทก
ท้องฟ้าและปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ดาวเทียมสังเกตการณ์
ดาราศาสตร์ มีทั้งประเภทที่โคจรรอบโลก และประเภทที่โคจรผ่าน
ไปใกล้ดาวเคราะห์หรือลงสำรวจดาวเคราะห์ ซึ่งเรียกดาวเทียม
ประเภทนี้ว่า ยานอวกาศ เช่น ยานอวกาศวอยเอเจอร์ที่โคจรเฉียด
ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เป็นต้น
สื่ อการสอนครู แต๊ก