รายงานการอบรม
โครงการพฒั นาศักยภาพ
ขา้ ราชการครูและบุคลากร สายงานการสอนด้วย SET e-learning
OTD 1401 : หลกั สตู รหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
นางซ่าซีตา มีบุญลาภ
ครูผูช้ ว่ ย
โรงเรียนทงุ่ สง
สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
บนั ทึกขอ้ ความ
ส่วนราชการ โรงเรยี นทงุ่ สง อาเภอทุ่งสง จงั หวัดนครศรีธรรมราช
ที่ วนั ท่ี ๑9 มนี าคม ๒๕๖๕
เร่อื ง
เรยี น ผูอ้ านวยการโรงเรียนทุ่งสง
ข้าพเจ้า นางซ่าซีตา มีบุญลาภ ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรียนทุ่งสง ได้เข้าร่วมอบรมและผ่านการทดสอบ
โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร สายงานการสอนด้วย SET e-learning รหัส OTD 1401 หลักสูตร
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
บัดน้ี การอบรมและการทดสอบดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอรายงานผลการอบรม
ดงั เอกสารแนบท้าย
จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ
ลงช่ือ...........................................................
(นางซ่าซีตา มีบุญลาภ)
ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย
ความเหน็ ของรองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คล
………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่ …………………………………………...
(นางปรมิ ภาภรณ์ กลบั ผดุง)
รองผ้อู านวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล
ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน
………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ…………………………………………...
(นายนราวุธ สุจติ ะพนั ธ์)
ผู้อานวยการโรงเรยี นทงุ่ สง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบ
ใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ท้ังนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุฟกขั้น ตอน และ
ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก
ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วย
ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
เป็นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบดว้ ยคณุ สมบัติ ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมน่ ้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบยี นตนเอง
และผอู้ ื่น เช่น การผลติ และการบรโิ ภคทอี่ ยใู่ นระดบั พอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกย่ี วกบั ระดับความพอเพยี งนั้น จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล
โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัยท่ีเกยี่ วข้อง ตลอดจนคานึงถงึ ผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ข้ึนจากการกระทานั้นๆ อย่าง
รอบคอบ
๓. ภมู ิคมุ้ กัน หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านตา่ งๆ ทีจ่ ะ
เกดิ ขึน้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคต
โดยมี เงอ่ื นไข ของการตัดสินใจและดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพยี ง ๒ ประการ ดังนี้
๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ ก่ียวกับวิชาการตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรอบดา้ น ความ
รอบคอบท่จี ะนาความรเู้ หล่านนั้ มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพอื่ ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังใน
การปฏิบตั ิ
๒. เงอื่ นไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซอ่ื สตั ย์
สจุ รติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ
แนวทางการทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพยี งเนน้ หาขา้ วหาปลาก่อนหาเงินหาทอง คือ ทามาหากินก่อนทา
มาค้าขายโดยการสง่ เสริม:
1.การทาไร่นาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพ่ือใหเ้ กษตรกรพฒั นาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง
2.การปลกู พืชผักสวนครัวลดค่าใช้จ่าย
3.การทาปยุ๋ หมกั ปยุ๋ คอกและใช้วสั ดเุ หลือใช้เปน็ ปจั จัยการผลติ (ปุย๋ )เพ่ือลดค่าใชจ้ ่ายและบารุงดิน
4.การเพาะเห็ดฟางจากวสั ดเุ หลือใชใ้ นไร่นา
5.การปลูกไม้ผลสวนหลังบา้ น และไม้ใชส้ อยในครวั เรือน
6.การปลูกพืชสมนุ ไพร ช่วยสง่ เสริมสุขภาพอนามยั
7.การเลี้ยงปลาในร่องสวน ในนาขา้ วและแหลง่ น้า เพอื่ เป็นอาหารโปรตีนและรายได้เสริม
8.การเลย้ี งไก่พื้นเมือง และไก่ไข่ ประมาณ 10-15 ตัวต่อครวั เรอื นเพอ่ื เปน็ อาหารในครวั เรอื น โดยใช้
เศษอาหาร รา และปลายข้าวจากผลผลิตการทานา ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์จากการปลูกพืชไร่ เปน็ ต้น
9.การทาก๊าซชวี ภาพจากมลู สตั ว์
พระราชดารัสโดยยอ่ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในวันฉลองสริ ิราชสมบัตคิ รบ 60 ปี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอย่าง
ลึกซึ้งและกวา้ งไกล ไดท้ รงวางรากฐานในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองได้
มีความ " พออยู่พอกิน" และมีความอิสระที่จะอยู่ได้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลง
ของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวิเคราะห์ว่าหากประชาชนพ่ึงตนเองได้แล้วก็จะมีส่วนช่วยเหลือเสริมสร้าง
ประเทศชาติโดยส่วนรวมไดใ้ นทส่ี ดุ พระราชดารัสที่สะท้อนถึงพระวสิ ัยทัศน์ในการสร้างความเข้มแข็งในตนเอง
ของประชาชนและสามารถทามาหากินให้พออยู่พอกนิ ได้ ดงั นี้
"….ในการสร้างถนน สร้างชลประทานให้ประชาชนใช้นั้น จะต้องช่วยประชาชนในทางบุคคลหรือ
พัฒนาให้บุคคลมีความรู้และอนามัยแข็งแรง ด้วยการให้การศึกษาและการรักษาอนามัย เพื่อให้ประชาชนใน
ทอ้ งทีส่ ามารถทาการเกษตรได้ และค้าขายได้…"
ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงขึ้นน้ีจึงทาให้เกิดความเข้าใจได้
ชัดเจนในแนวพระราชดารขิ อง "เศรษฐกิจพอเพยี ง" ซ่ึงไดท้ รงคิดและตระหนักมาชา้ นาน เพราะหากเราไม่ไป
พี่งพา ยดึ ติดอยูก่ บั กระแสจากภายนอกมากเกินไป จนไดค้ รอบงาความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทยๆไปหมด
มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานที่ไม่ม่ันคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดข้ึน
หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นน้ี ดังนั้น "เศรษฐกิจพอเพียง" จึงได้ส่ือ
ความหมาย ความสาคญั ในฐานะเป็นหลกั การสงั คมทีพ่ ึงยดึ ถือ
ในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นท้ังหลักการและกระบวนการทางสังคม ต้ังแต่ขั้นฟื้นฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรม
ย่ังยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินข้ึนไปถึงขั้นแปรรูป
อุตสาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสมทุน ฯลฯ บน
พ้ืนฐานเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนนี้ เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพัฒนาขึ้นมาอย่างมั่นคงทั้งในด้านกาลังทุนและ
ตลาดภายในประเทศ รวมทั้งเทคโนโลยีซ่ึงจะค่อยๆ พัฒนาข้ึนมาจากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่
ภายในชาติ และท้ังท่ีจะพึงคดั สรรเรยี นร้จู ากโลกภายนอก
เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นเศรษฐกิจทพ่ี อเพียงกบั ตัวเอง ทาใหอ้ ยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจาเป็นที่ทาได้
โดยตัวเองไม่ต้องแข่งขันกับใคร และมีเหลือเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่มี อันนาไปสู่การแลกเปลี่ยนในชุมชน
และขยายไปจนสามารถท่ีจะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดท่ีเร่ิมจากตนเองและ
ความร่วมมือ วิธีการเช่นนี้จะดึงศักยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความผู้
พนั กบั “จติ วิญญาณ” คอื “คุณคา่ ” มากกวา่ “มลู ค่า”
ในระบบเศรษฐกิจพอเพยี งจะจัดลาดับความสาคัญของ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” มูลค่าน้ันขาดจิต
วญิ ญาณ เพราะเปน็ เศรษฐกิจภาคการเงิน ทเ่ี นน้ ท่ีจะตอบสนองต่อความต้องการที่ไม่จากัดซึ่งไร้ขอบเขต ถ้าไม่
สามารถควบคุมได้การใช้ทรัพยากรอย่างทาลายล้างจะรวดเร็วขึ้นและปัญหาจะตามมา เป็นการบริโภคท่ี
ก่อให้เกิดความทุกข์หรือพาไปหาความทุกข์ และจะไม่มีโอกาสบรรลุวัตถุประสงค์ในการบริโภค ที่จะก่อให้
ความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผู้บริโภคต้องใช้หลักขาดทุนคือกาไร (Our loss is
our gain) อย่างนี้จะควบคุมความต้องการท่ีไม่จากัดได้ และสามารถจะลดความต้องการลงมาได้ ก่อให้เกิด
ความพอใจและความสุขเท่ากับได้ตระหนักในเร่ือง “คุณค่า” จะช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้ ไม่ต้องไปหาวิธีทาลาย
ทรัพยากรเพ่ือให้เกิดรายได้มาจัดสรรสิ่งที่เป็น “ความอยากที่ไม่มีท่ีสิ้นสุด” และขจัดความสาคัญของ “เงิน”
ในรูปรายได้ท่ีเป็นตัวกาหนดการบริโภคลงได้ระดับหนึ่ง แล้วยังเป็นตัวแปรที่ไปลดภาระของกลไกของตลาด
และการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซึ่งบุคคลโดยทั่วไปไม่สามารถจะควบคุมได้ รวมท้ังได้มีส่วนในการป้องกันการ
บริโภคเลยี นแบบ (Demonstration Effects) จะไมท่ าให้เกดิ การสญู เสยี จะทาให้ไม่เกดิ การบริโภคเกิน (Over
Consumption) ซง่ึ ก่อใหเ้ กิดสภาพเศรษฐกจิ ดี สงั คมไม่มีปญั หา การพัฒนายง่ั ยนื
การบริโภคท่ีฉลาดดังกล่าวจะช่วยป้องกันการขาดแคลน แม้จะไม่ร่ารวยรวดเร็ว แต่ในยามปกติก็จะ
ทาให้ร่ารวยมากขึ้น ในยามทุกข์ภัยก็ไม่ขาดแคลน และสามารถจะฟ้ืนตัวได้เร็วกว่า โดยไม่ต้องหวังความ
ชว่ ยเหลือจากผู้อื่นมากเกินไป เพราะฉะนั้นความพอมีพอกนิ จะสามารถอุ้มชูตัวได้ ทาให้เกิดความเข้มแข็ง และ
ความพอเพียงนั้นไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง แต่มีการ
แลกเปลีย่ นกันไดร้ ะหว่างหมู่บ้าน เมือง และแม้กระท่ังระหว่างประเทศ ที่สาคัญคือการบริโภคน้ันจะทาให้เกิด
ความรู้ที่จะอยู่ร่วมกับระบบ รักธรรมชาติ ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง เพราะไม่ต้องทิ้งถิ่นไปหางานทา
เพอื่ หารายได้มาเพอื่ การบรโิ ภคที่ไม่เพยี งพอ
ประเทศไทยอุดมไปด้วยทรัพยากรและยังมีพอสาหรับประชาชนไทยถ้ามีการจัดสรรท่ีดี โดยยึด "
คณุ ค่า " มากกวา่ " มูลค่า " ยึดความสัมพันธ์ของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับความต้องการท่ีไม่จากัดลง
มาให้ได้ตามหลักขาดทุนเพ่ือกาไร และอาศัยความร่วมมือเพ่ือให้เกิดครอบครัวที่เข้มแข็งอันเป็นรากฐานท่ี
สาคญั ของระบบสังคม
การผลิตจะเสียค่าใช้จ่ายลดลงถ้ารู้จักนาเอาสิ่งที่มีอยู่ในขบวนการธรรมชาติมาปรุงแต่ง ตามแนว
พระราชดาริในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแล้วซึ่งสรุปเป็นคาพูดท่ีเหมาะสมตามที่ ฯพณฯ พลเอกเปรม ตินณสูลา
นนท์ ท่วี า่ “…ทรงปลูกแผ่นดิน ปลูกความสุข ปลดความทุกข์ของราษฎร” ในการผลิตน้ันจะต้องทาด้วยความ
รอบคอบไม่เห็นแก่ได้ จะต้องคิดถึงปัจจัยที่มีและประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง มิฉะน้ันจะเกิดปัญหาอย่างเช่นบาง
คนมโี อกาสทาโครงการแต่ไม่ได้คานึงว่าปัจจัยต่าง ๆ ไม่ครบ ปัจจัยหน่ึงคือขนาดของโรงงาน หรือเคร่ืองจักรท่ี
สามารถที่จะปฏิบัติได้ แต่ข้อสาคัญท่ีสุด คือวัตถุดิบ ถ้าไม่สามารถท่ีจะให้ค่าตอบแทนวัตถุดิบแก่เกษตรกรท่ี
เหมาะสม เกษตรกรกจ็ ะไม่ผลิต ยิง่ ถา้ ใช้วัตถดุ ิบสาหรับใชใ้ นโรงงาน้ัน เป็นวัตถุดิบท่ีจะต้องนามาจากระยะไกล
หรือนาเข้าก็จะยิ่งยาก เพราะว่าวัตถุดิบท่ีนาเข้าน้ันราคาย่ิงแพง บางปีวัตถุดิบมีบริบูรณ์ ราคาอาจจะต่าลงมา
แต่เวลาจะขายสิ่งของท่ีผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจึงทาให้ราคาตก หรือกรณีใช้
เทคโนโลยที างการเกษตร เกษตรกรรูด้ ีว่าเทคโนโลยีทาให้ต้นทุนเพ่ิมขึ้น และผลผลิตท่ีเพ่ิมน้ันจะล้นตลาด ขาย
ไดใ้ นราคาทล่ี ดลง ทาใหข้ าดทุน ต้องเปน็ หน้ีสิน
การผลิตตามทฤษฎีใหมส่ ามารถเปน็ ตน้ แบบการคิดในการผลติ ท่ดี ีได้ ดงั น้ี
1. การผลติ น้ันมุง่ ใช้เปน็ อาหารประจาวันของครอบครัว เพื่อให้มีพอเพยี งในการบริโภคตลอดปี เพ่ือ
ใชเ้ ปน็ อาหารประจาวนั และเพ่ือจาหน่าย
2. การผลติ ต้องอาศยั ปัจจัยในการผลิต ซึ่งจะต้องเตรยี มให้พรอ้ ม เช่น การเกษตรต้องมีน้า การจดั ให้
มีและดูแหลง่ น้า จะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งการผลติ และประโยชน์ใชส้ อยอน่ื ๆ
3. ปัจจัยประกอบอนื่ ๆ ท่จี ะอานวยให้การผลติ ดาเนินไปด้วยดี และเกดิ ประโยชนเ์ ชอ่ื มโยง
(Linkage) ท่ีจะไปเสริมให้เกดิ ความยงั่ ยนื ในการผลิต จะตอ้ งรว่ มมอื กนั ทกุ ฝ่ายทั้ง เกษตรกร ธรุ กิจ ภาครฐั
ภาคเอกชน เพ่ือเชือ่ มโยงเศรษฐกจิ พอเพียงเขา้ กบั เศรษฐกิจการคา้ และใหด้ าเนินกิจการควบคู่ไปดว้ ยกนั ได้
การผลติ จะต้องตระหนักถึงความสมั พนั ธ์ระหว่าง “บุคคล” กบั “ระบบ” การผลติ นนั้ ตอ้ งยดึ มนั่ ในเร่ืองของ
“คุณคา่ ” ใหม้ ากกว่า “มูลค่า” ดังพระราชดารัส ซึง่ ได้นาเสนอมาก่อนหน้านี้ที่ว่า
“…บารมนี ้ัน คอื ทาความดี เปรยี บเทียบกับธนาคาร …ถ้าเราสะสมเงินใหม้ ากเราก็สามารถทจี่ ะใช้
ดอกเบย้ี ใชเ้ งินท่ีเป็นดอกเบ้ยี โดยไมแ่ ตะต้องทนุ แต่ถา้ เราใช้มากเกดิ ไป หรือเราไม่ระวงั เรากิน เขา้ ไปใน
ทุน ทนุ มันก็น้อยลง ๆ จนหมด …ไปเบกิ เกนิ บัญชีเขาก็ต้องเอาเรอื่ ง ฟ้องเราใหล้ ม้ ละลาย เราอยา่ ไปเบกิ เกนิ
บารมที ี่บา้ นเมือง ท่ปี ระเทศได้สร้างสมเอาไวต้ ้ังแตบ่ รรพบุรษุ ของเราใหเ้ กนิ ไป เราต้องทาบา้ ง หรือเพิ่มพนู ให้
ประเทศของเราปกติมอี นาคตที่มั่นคง บรรพบุรุษของเราแต่โบราณกาล ได้สรา้ งบา้ นเมอื งมาจนถงึ เราแล้ว ใน
สมัยนี้ท่ีเรากาลังเสยี ขวัญ กลวั จะไดไ้ มต่ อ้ งกลัว ถา้ เราไม่รักษาไว้…”
การจัดสรรทรพั ยากรมาใช้เพ่ือการผลติ ท่ีคานงึ ถึง “คุณค่า” มากกวา่ “มลู คา่ ” จะก่อใหเ้ กิด
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง “บุคคล” กับ “ระบบ” เป็นไปอยา่ งย่ังยืน ไมท่ าลายทงั้ ทนุ สงั คมและทนุ เศรษฐกิจ
นอกจากนจี้ ะต้องไมต่ ดิ ตารา สร้างความรู้ รัก สามัคคี และความรว่ มมือร่วมแรงใจ มองกาลไกลและมี
ระบบสนบั สนุนท่ีเปน็ ไปได้
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงปลูกฝงั แนวพระราชดารใิ หป้ ระชาชนยอมรบั ไปปฏิบัตอิ ย่างต่อเนื่อง
โดยให้วงจรการพฒั นาดาเนนิ ไปตามครรลองธรรมชาติ กลา่ วคอื ทรงสรา้ งความตระหนักแก่ประชาชนใหร้ ับรู้
(Awareness) ในทกุ คราเมื่อ เสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเยี่ยมประชาชนในทุกภูมภิ าคต่าง ๆ จะทรงมีพระราช
ปฏิสนั ถารใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบถงึ ส่ิงท่ีควรรู้ เช่น การปลกู หญา้ แฝกจะชว่ ยป้องกันดินพงั ทลาย และใชป้ ุย๋
ธรรมชาติจะช่วยประหยัดและบารงุ ดิน การแก้ไขดนิ เปรยี้ วในภาคใต้สามารถกระทาได้ การ ตดั ไม้ทาลายปา่ จะ
ทาใหฝ้ นแล้ง เปน็ ตน้ ตัวอย่างพระราชดารัสทีเ่ กี่ยวกบั การสร้างความตระหนักใหแ้ ก่ประชาชน ไดแ้ ก่
“….ประเทศไทยนเ้ี ปน็ ท่ที ีเ่ หมาะมากในการตัง้ ถน่ิ ฐาน แต่ว่าต้องรกั ษาไว้ ไมท่ าให้ประเทศไทยเปน็
สวนเปน็ นากลายเปน็ ทะเลทราย กป็ ้องกัน ทาได้….”
ทรงสร้างความสนใจแก่ประชาชน (Interest) หลายทา่ นคงได้ยนิ หรือรับฟัง โครงการอนั เนอ่ื ง มาจาก
พระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทมี่ นี ามเรียกขานแปลกหู ชวนฉงน น่าสนใจตดิ ตามอยู่เสมอ เช่น
โครงการแก้มลงิ โครงการแกล้งดิน โครงการเส้นทางเกลือ โครงการน้าดไี ลน่ า้ เสีย หรือโครงการนา้ สามรส ฯลฯ
เหลา่ น้ี เปน็ ต้น ล้วนเชิญชวนให้ตดิ ตามอย่างใกล้ชดิ แต่พระองค์ก็จะมพี ระราชาธิบายแตล่ ะโครงการอยา่ ง
ละเอยี ด เป็นท่ีเข้าใจงา่ ยรวดเร็วแก่ประชาชนทั้งประเทศ ในประการต่อมา ทรงให้เวลาในการประเมนิ ค่าหรือ
ประเมนิ ผล (Evaluate) ด้วยการศกึ ษาหาข้อมูลต่าง ๆ ว่าโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริของพระองค์
น้ันเป็นอย่างไร สามารถนาไปปฏิบัติได้ในส่วนของตนเองหรอื ไม่ ซึ่งยังคงยึดแนวทางที่ให้ประชาชนเลือกการ
พฒั นาด้วยตนเอง ท่วี า่
“….ขอใหถ้ ือวา่ การงานทจ่ี ะทาน้นั ต้องการเวลา เป็นงานทมี่ ีผูด้ าเนินมาก่อนแล้ว ท่านเปน็ ผทู้ ่ีจะเขา้ ไป
เสรมิ กาลงั จงึ ต้องมคี วามอดทนทีจ่ ะเข้าไปร่วมมือกับผูอ้ ื่น ต้องปรองดองกับเขาใหไ้ ด้ แมเ้ หน็ วา่ มจี ดุ หนงึ่ จุดใด
ต้องแกไ้ ขปรบั ปรุงก็ต้องคอ่ ยพยายามแกไ้ ขไปตามท่ีถูกทค่ี วร….”
ในขนั้ ทดลอง (Trial) เพือ่ ทดสอบว่างานในพระราชดารทิ ี่ทรงแนะนานนั้ จะได้ผลหรอื ไม่ซ่ึงในบางกรณี
หากมีการทดลองไม่แน่ชดั ก็ทรงมักจะมใิ ห้เผยแพรแ่ ก่ประชาชน หากมีผลการทดลองจนแน่พระราชหฤทยั แล้ว
จงึ จะออกไปสูส่ าธารณชนได้ เชน่ ทดลองปลูกหญา้ แฝกเพื่ออนรุ ักษ์ดินและนา้ นั้น ได้มีการคน้ คว้าหาความ
เหมาะสมและความเป็นไปได้จนท่ัวทงั้ ประเทศว่าดยี ง่ิ จึงนาออกเผยแพร่แก่ประชาชน เปน็ ต้น
ขน้ั ยอมรบั (Adoption) โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารนิ น้ั เมือ่ ผ่านกระบวนการมาหลาย
ขั้นตอน บม่ เพาะ และมีการทดลองมาเปน็ เวลานาน ตลอดจนทรงให้ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจาก
พระราชดารแิ ละสถานท่ีอ่ืน ๆ เปน็ แหล่งสาธิตท่ปี ระชาชนสามารถเข้าไปศกึ ษาดไู ด้ถึงตัวอย่างแห่งความสาเรจ็
ดงั นนั้ แนวพระราชดาริของพระองค์จึงเป็นส่งิ ทรี่ าษฎรสามารถพสิ จู น์ได้ว่าจะไดร้ ับผลดตี ่อชีวติ และความ
เปน็ อยู่ของตนได้อย่างไร
แนวพระราชดารทิ ้ังหลายดงั กล่าวขา้ งต้นน้ี แสดงถึงพระวริ ิยะอุตสาหะที่พระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยู่หวั ทรงทมุ่ เทพระสตปิ ัญญา ตรากตราพระวรกาย เพอื่ ค้นควา้ หาแนวทางการพฒั นาใหพ้ สกนิกรท้งั หลาย
ได้มคี วามร่มเยน็ เป็นสขุ สถาพรย่ังยนื นาน นับเปน็ พระมหากรณุ าธคิ ุณอนั ใหญ่หลวงท่ีได้พระราชทานแก่ปวง
ไทยตลอดเวลามากกว่า 50 ปี จงึ กล่าวไดว้ ่าพระราชกรณียกจิ ของพระองคน์ ั้นสมควรอยง่ ยิง่ ทท่ี วยราษฎรจัก
ไดเ้ จรญิ รอยตามเบื้องพระยคุ ลบาท ตามท่ีทรงแนะนา ส่ังสอน อบรมและวางแนวทางไวเ้ พ่ือใหเ้ กดิ การอย่ดู ีมี
สุขโดยถว้ นเช่นกนั โดยการพัฒนาประเทศจาเปน็ ตอ้ งทาตามลาดับขนึ้ ตอนต้องสร้างพ้นื ฐาน คือ ความพอมี
พอกนิ พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบอ้ื งต้นกอ่ น โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยดั แต่ถกู ต้องตาหลัก
วชิ าการ เพือ่ ได้พน้ื ฐานท่มี ั่นคงพรอ้ มพอสมควรและปฏบิ ตั ิได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม ความเจรญิ และฐานะ
ทางเศรษฐกิจขึน้ ทส่ี งู ขน้ึ ไปตามลาดับ จะก่อให้เกิดความยั่งยนื และจะนาไปสูค่ วามเขม้ แข็งของครอบครัว
ชุมชน และสังคม สดุ ท้ายเศรษฐกจิ ดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายงั่ ยืน
ประการทีส่ าคัญของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. พอมีพอกิน ปลูกพชื สวนครวั ไวก้ ินเองบ้าง ปลูกไมผ้ ลไวห้ ลังบา้ น 2-3 ตน้ พอทจ่ี ะมีไวก้ ินเองใน
ครัวเรือน เหลือจงึ ขายไป
2. พออยู่พอใช้ ทาใหบ้ า้ นน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใช้แตข่ องท่เี ป็นธรรมชาติ (ใช้จุลนิ ทรยี ์
ผสมน้าถูพน้ื บ้าน จะสะอาดกวา่ ใช้น้ายาเคมี) รายจา่ ยลดลง สุขภาพจะดขี ึน้ (ประหยดั ค่ารกั ษาพยาบาล)
3. พออกพอใจ เราต้องรจู้ กั พอ รู้จกั ประมาณตน ไมใ่ คร่อยากใคร่มีเชน่ ผูอ้ ืน่ เพราะเราจะหลงติดกับ
วัตถุ ปญั ญาจะไม่เกดิ
" การจะเป็นเสือนั้นมนั ไม่สาคัญ สาคัญอยทู่ ี่เราพออยู่พอกนิ และมีเศรษฐกจิ การเปน็ อย่แู บบ
พอมีพอกนิ แบบพอมีพอกนิ หมายความว่า อุ้มชตู ัวเองได้ ใหม้ ีพอเพียงกบั ตวั เอง "
"เศรษฐกิจพอเพียง" จะสาเรจ็ ไดด้ ้วย "ความพอดีของตน"
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
เกียรตบิ ัตร
ภาคผนวก ข
เอกสารประกอบการอบรม