The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rayaaa1747, 2019-09-30 03:03:26

cycle speed water

บทที่-1 (2)

1

บทที่ 1

บทนา

1. ความเป็ นมาของโครงงาน

โลกในปัจจุบนั เกมน้นั เขา้ มามีอิทธิพลต่อเยาวชนอยา่ งมาก โดยเฉพาะกบั เดก็ รุ่นใหม่ท่ีค่อนขา้ งจะ
ทนั สมยั ตอ่ เทคโนโลยเี กมเหล่าถือไดว้ า่ เป็นส่วนหน่ึงของชีวติ เด็กๆไมว่ า่ จะรุ่นเลก็ หรือรุ่นใหญ่ เกมน้ีมี
ท้งั ผลดีและผลเสีย ผลดีที่ใชใ้ นการศึกษาความรู้ต่างๆอยา่ งรวดเร็ว และทนั สมยั ผลเสียคอื เกมหรือ
ขอ้ มลู เน้ือหาท่ีมีความรุนแรงทาใหเ้ กิดพฤติกรรมเลียนแบบของเด็ก ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั เดก็ วา่ จะใชไ้ ปในทาง
ใด และเหมาะสมหรือไม่

ในโลกของเกมมีเดก็ เล็กเล่นเป็นส่วนใหญ่ เราจึงอยากพฒั นาเกมที่มีท้งั ความรู้และความสนุกใหก้ บั
เด็กๆ เพ่ือให้เดก็ ไดเ้ ล่นเกมอยา่ งสนุกสนานและมีความรู้เขา้ มาแทรก เราจึงไดค้ ิดเกมCycle speed water
ที่เหมาะสมและใหค้ วามรู้กบั เด็กๆ

เกมCycle speed waterน้ี ไม่ไดม้ ีขอ้ เสียอยา่ งเดียว เป็นเกมท่ีออกแบบมาสาหรับเดก็ ในวยั เรียนรู้
และกาลงั จดจาส่ิงตา่ งๆรอบตวั รวมถึงบุคคลทว่ั ไปในวยั ตา่ งๆกส็ ามารถเล่นเกมน้ีได้

2. วตั ถุประสงค์ของโครงงาน
2.1 เพอ่ื ศึกษาพฒั นาการสร้างเกมลิงนอ้ ยจอมปัญญา
2.2 เพอ่ื ศึกษาหาประสิทธิภาพของเกม
2.3 ใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาความคิด

3. ขอบเขตของโครงงาน
3.1 เป็นโครงงานพฒั นาเกมเร่ืองลิงนอ้ ยจอมปัญญาโดยการใชโ้ ปรแกรม MS-word, Stencylในการ
พฒั นาเกม
3.2 ขอบเขตเน้ือหา เป็นโครงงานพฒั นาเกมในเร่ืองท่ีกลุ่มสนใจ โดยจดั ทาเกมในหวั ขอ้ เรื่องลิง
นอ้ ยจอมปัญญาโดยแบง่ เน้ือหาออกเป็น3หวั ขอ้ ดงั น้ี

3.2.1 จดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ การพฒั นาเกมดว้ ย MS-word, kodu เรื่องCycle speed
water

2

3.2.2 เครื่องคอมพวิ เตอร์ พร้อมเชื่อมตอ่ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3.2.3 โปรแกรม MS-word, kodu

4. ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากโครงงาน
4.1 มีโครงงานเร่ืองการพฒั นาเกม เรื่องCycle speed water
4.2 เผยแพร่ความรู้เรื่องCycle speed waterใหผ้ ทู้ ี่สนใจไดศ้ ึกษาในรูปแบบของเกม
4.3 มีทกั ษะในการสร้างงานกราฟิ ก และการสร้างเกมในวชิ าคอมพิวเตอร์ และสมารถนา

ความรู้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์

5. วธิ ีดาเนินงาน
การดาเนินงานเพ่อื จดั ทาโครงงานพฒั นาเกมน้ี มีวธิ ีการตามลาดบั ข้นั ตอนดงั น้ี

5.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพอื่ ศึกษา และเลือกหวั ขอ้ สนใจในการทาโครงงาน
5.2 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานท่ีไดจ้ ากการเลือกหวั ขอ้ ท่ีสนใจของกลุ่มทางานต่อครูท่ีปรึกษา
โครงงาน
5.3 วางแผนการจดั ทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน
5.4 นาแบบร่างโครงงานมาจดั ทาโครงงานที่สมบรู ณ์
5.5 นาโครงงานที่สมบรู ณ์แลว้ มาจดั ทาเกม โดยใชโ้ ปรแกรมสร้างเกมMS-word, kodu

พฒั นาเกมตามหวั ขอ้ ตามโครงงาน
5.6 นาเสนอผลงานตามโครงงานในรูปแบบของเกม
5.7 ประเมินผลงานการจดั ทาโครงงาน

3

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง

ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เร่ืองCycle speed water กลุม่ ผศู้ ึกษาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎีและ
หลกั การตา่ งๆจากเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งดงั ต่อไปน้ี

2.1 โปรแกรม kodu
Kodu เป็นภาษาโปรแกรมเชิงทศั น์ จากบริษทั Microsoft ที่ทุกคนสามารถดาวน์โหลดไปใชไ้ ดฟ้ รี
พฒั นาโดยทีมงาน

Kodu ถูกออกแบบและสร้างข้ึนมาใหม้ ีกราฟฟิ กสวยงามเพอ่ื ใหเ้ ด็ก ๆ ไดเ้ รียนรู้และฝึกทกั ษะการ
เขียนโปรแกรมผา่ นการสร้างเกมโดยเฉพาะ

Kodu ใชก้ ารคลิกไอคอนในการโตต้ อบกบั โปรแกรม เช่น การสร้างพ้นื ท่ีในการเล่นเกม การ
ออกแบบสภาพแวดลอ้ มแบบ 3 มิติ การสร้างตวั ละครและวตั ถุตา่ ง ๆ ในเกม การสร้างกฎของเกมหรือการ
ตอบสนองต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในเกม

คุณสมบตั ิของโปรแกรม Kodu Game Lab
Kodu Game Lab คือโปรแกรมช่วยเขียนโปรแกรมม่ิงท่ีช่วยใหค้ ุณสร้างเกมสามมิติ (3D) ไดเ้ อง แม้
จะไม่มีพ้นื ความรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมเลยกต็ าม Kodu มีไอคอนที่คอยควบคุมคาแรคเตอร์ (Character)
และออ็ ปเจค (Object) ต่างๆ ดว้ ยการส่ังใหค้ าแรคเตอร์แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบท่ีจบั ตอ้ งได้
2.4 หลกั การเขียนโปรแกรมเกม Kudo เป็นโปรแกรมภาษาเฉพาะดา้ น (Domain-specific language)
สร้างมาสาหรับการสร้างเกม โดยอาศยั ไวยากรณ์ภาษา (Grammar) ของ Kodu เป็นตวั กาหนดวธิ ีการเขียน
โปรแกรมในเกม การเขียนเกมใน Kodu เริ่มจากการสร้างโลกของเกมข้ึนมาก่อน โดยสร้างพ้ืนที่ในการเล่น
เกม (Terrain) จากน้นั สร้างตวั ละคร หรือ วตั ถุต่างๆ เขา้ ไปบนพ้ืนที่น้นั ตอ่ มาคือการสร้างกฎของเกม เพือ่ ให้
ตวั ละครและวตั ถุต่างๆ ทางานร่วมกนั ตามที่เกมไดถ้ ูกออกแบบไว้

4

กฎตา่ งๆ ในเกม จะถูกกาหนดโดยการเขียนโปรแกรมเขา้ ไปยงั ตวั ละคร หรือวตั ถุตา่ งๆ และลกั ษณะ
การเขียนโปรแกรมใน Kodu คือการส่ังใหต้ วั ละคร หรือวตั ถุตา่ งๆ ทางานเมื่อเหตุการณ์ตา่ งๆ เกิดข้ึน เช่นใน
ตวั อยา่ งตามรูปดา้ นบน เป็ นการกาหนดกฎใหต้ วั ละคร Kodu มีท้งั หมด 4 เหตุการณ์ แตท่ างาน 5 อยา่ ง

ไวยากรณ์ของ Kodu อยใู่ นรูปแบบง่ายๆ คือ แต่ละบรรทดั หรือแต่ละรายการ (มีตวั เลขกากบั อย)ู่
เป็นกฎหน่ึงๆ สาหรับตวั ละครหรือวตั ถุน้นั และกฎน้นั อยใู่ นรูปแบบตามไวยากรณ์ของ Kodu ดงั น้ี

When Condition Do Action
อธิบายไดว้ า่ เมื่อ (When) เหตุการณ์ที่เฝ้ ารอเกิดข้ึน (Condition) ใหท้ า (Do) งานดงั น้ี (Action)
จากรูปดา้ นบน อธิบายกฎตามหลกั ไวยากรณ์ของ Kodu ไดด้ งั น้ี
1. เม่ือผเู้ ล่นใชจ้ อยสต๊ิกดา้ นซา้ ยของเกมแพด ตวั ละคร Kodu จะเคล่ือนท่ีตามทิศทางของ
จอยสติ๊ก
2. เมื่อผเู้ ล่นใชค้ ียล์ ูกศรบนคียบ์ อร์ด ตวั ละคร Kodu จะเคลื่อนที่ตามทิศทางของคียล์ ูกศร (เกม
น้ีผเู้ ล่นสามารถจะใชเ้ กมแพด หรือจะใชค้ ียบ์ อร์ดในการเล่นกไ็ ด)้
3. เมื่อตวั Kodu ชน (bump) กบั แอปเปิ้ ล ใหต้ วั Kodu กินผลแอปเปิ้ ลน้นั (it)
4. ในกรณีท่ีกฎมีการยอ่ หนา้ และไม่มีเงื่อนไขของเหตุการณ์กากบั อยู่ หมายความวา่ ใหใ้ ช้
เง่ือนไขก่อนหนา้ น้นั ซ่ึงก็คือกฎในขอ้ 3 เมื่อตวั Kodu ชน กบั แอปเปิ้ ล ใหเ้ พ่ิมคะแนน 1 คะแนนแก่ผเู้ ล่น
5. เมื่อผเู้ ล่นทาคะแนนะไดค้ รบ 5 คะแนน ผเู้ ล่นชนะ

5

ไวยากรณ์ของ Kodu ยงั มีใหศ้ ึกษาอีก มาตามต่อคราวหนา้ ครับ

2.2 การสร้างเงื่อนไขในเกม Kudo

เกมใน Kodu ถูกขบั เคลื่อนดว้ ยเหตุการณ์ต่างๆ ระหวา่ งโปรแกรมทางาน หรือระหวา่ งการเล่นเกม
ดงั น้นั การเขียนโปรแกรมจึงข้ึนกบั เหตุการณ์เหล่าน้นั และสามารถแสดงเป็นกฎไดด้ งั น้ี

When Condition (เง่ือนไขของเหตุการณ์) Do Action (ส่ิงท่ีจะทาเม่ือเกิดเหตุการณ์ข้ึน)

กฎดา้ นบนน้ีเป็นเพยี งแคก่ ฎเบ้ืองตน้ เพราะเบ้ืองหลงั ของแต่ละรายการคาสัง่ ในโปรแกรม Kodu ถูก
กากบั ดว้ ยไวยากรณ์ภาษา (Kodu Grammar) ท่ีตอ้ งใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง เพื่อใหเ้ กมทางานไดถ้ ูกตอ้ งตามที่ได้
ออกแบบไว้

การเขา้ ใจไวยากรณ์ของเกมจะทาใหเ้ ขียนโปรแกรมใน Kodu ไดด้ ีข้ึน เหมือนเขา้ ใจในไวยากรณ์
ภาษาองั กฤษ ก็จะอ่านเขียนภาษาองั กฤษไดด้ ีข้ึน แตก่ ็ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ตอ้ งเขา้ ใจไวยากรณ์ใน Kodu
ท้งั หมดก่อนถึงจะเร่ิมเขียนโปรแกรมบน Kodu ได้ ดงั น้นั มาเร่ิมตน้ ศึกษาแบบง่ายๆ ก่อน

ส่วนประกอบสาคญั ของไวยากรณ์ คือ Production Rules เป็นกฎสาหรับสร้างภาษา ประกอบไป
ดว้ ย Variables และ Terminals ซ่ึงอยใู่ นรูปแบบดงั น้ี

Variable –> Variables Terminals

Variable คือคาท่ีแปรเปลี่ยนไดต้ ามกฎ(อ่ืน) คาเหล่าน้ีจะข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่ เช่น Rule,
Condition, Action, Sensor, Filter, FilterSet, Actuator, Selector, Modifier เป็นตน้

Terminal คือคาที่สิ้นสุด ไม่สามารถเปล่ียนแปลงตอ่ ไปไดอ้ ีกแลว้ คาเหล่าน้ีจะข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั
เลก็ เช่น kodu, cycle, apple, see, move, red, eat, toward, quickly, hear เป็นตน้ คาเหล่าน้ีจะเป็นไอคอน
ตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรมใน Kodu ซ่ึงไอคอนต่างๆ พอจะแบง่ เป็นกลุ่มๆ (ตวั อยา่ ง) ไดด้ งั น้ี

• ไอคอนตวั ละครหรือวตั ถุ

• ไอคอนแสดงการรับรู้

• ไอคอนท่ีเป็นการกระทา

6

Production Rules เป็นกฎท่ีใชอ้ ธิบายตวั ภาษาเพอื่ สร้างกฎของเกม ในขณะท่ีกฎของเกมท่ีใชต้ อน
เขียนโปรแกรม (When … D0 …) คือผลลพั ธ์สุดทา้ ยจากการใช้ Production Rules

ดา้ นซา้ ยมือของ Production Rules จะมีไดแ้ ต่ตวั แปร และมีแคต่ วั เดียว แต่ดา้ นขวามือ ตวั แปรและ
Terminal อาจมีตวั เดียว หลายตวั หรือไม่มีเลยกไ็ ด้

คราวหนา้ มาดูวา่ จากกฎสาหรับสร้างภาษา จะไปสู่ประโยคหรือกฎคาส่ังที่ใชใ้ นการเขียนเกมใน
Kodu ไดอ้ ยา่ งไร

7

2.5 หลกั การใชค้ าส่งั ในเกม Kudo

Rules) ที่ใชใ้ นการเขียนโปรแกรมคือ

1. Rule –> Condition Action

Rule คือกฎของเกมท่ีตอ้ งการจะสร้าง Condition เป็นเงื่อนไขของเหตุการณ์ Action ส่ิงที่จะทาเม่ือ
เงื่อนไขน้นั เป็ นจริง กฎน้ียงั ใชง้ านไมไ่ ด้ เนื่องจากดา้ นขวามือมีแต่ตวั แปร (Variable) ซ่ึงไม่สามารถแทนท่ี
ไดด้ ว้ ยไอคอนใน Kodu ดงั น้นั มาดูกฎขอ้ อื่นกนั ตอ่ วา่ ตวั แปรเหล่าน้ีเปล่ียนไปเป็นอะไรไดบ้ า้ ง

2. Condition –> Sensor Filter

3. Action –> Actuator Selector Modifier

Sensor (การรับรู้) Filter (ตวั กรอง) Actuator (ตวั กระทา) Selector (ตวั เลือก) Modifier (ตวั ขยาย)
ท้งั หมดน้ีกย็ งั เป็นตวั แปรอยู่ แทนท่ีดว้ ยไอคอนไม่ได้ แต่สามารถแทนท่ีกนั เองได้

กฎการแทนที่ เป็ นกฎท่ีทาใหไ้ วยากรณ์ขยายออกไปไดด้ ว้ ยการแทนคาจากกฎขอ้ หน่ึงไปแทนคาใน
กฎอีกขอ้ หน่ึง คือแทนคาท่ีเป็ นตวั แปรทางซา้ ยมือ ดว้ ยคาทางขวามือ (อาจเป็ น Variable หรือ Terminal ก็ได)้

ยกตวั อยา่ งในกรณีน้ี เราสามารถนา Sensor Filter ไปแทนตวั แปร Condition ในกฎขอ้ แรกได้ ดงั น้ี
Rule –> Sensor Filter Action

และเมื่อแทน Action ดว้ ย กจ็ ะไดก้ ฎใหมด่ งั น้ี Rule –> Sensor Filter Actuator Selector Modifier มา
ดูกฎขอ้ อ่ืนๆ กนั ต่อ

4. Sensor –> see | hear | bump

5. Filter –> apple | blue | health

6. Actuator –> move | shoot| add

7. Selector –> toward | me | avoid

8. Modifier –> 5 points | red | quickly

8

คราวน้ีเราจะเห็นคาที่เป็น Terminals กนั บา้ งแลว้ แทง่ (Vertical bar) ที่ก้นั ระหวา่ งคาดา้ นขวามือ
หมายความวา่ ใหเ้ ลือกใชค้ าใดคาหน่ึง ตวั อยา่ งเช่น เลือก hear แทน Sensor, apple แทน Filter, add แทน
Actuator เป็นตน้

คราวน้ีมาลองดูตวั อยา่ งกฎในเกม ท่ีไดจ้ ากกฎสร้างภาษาดา้ นบน เพื่อนาไปเขียนโปรแกรมใน Kodu
เช่น ตอ้ งการเขียนกฎใหต้ วั Kodu เมื่อเห็นผลแอปเปิ้ ลแลว้ ใหเ้ คล่ือนที่ไปหาผลแอปเปิ้ ลน้นั อยา่ งรวดเร็ว เม่ือ
ใชก้ ฎสร้างภาษาท่ีกล่าวมา ร่วมกบั กฎการแทนที่แลว้ จะไดก้ ฎคาส่งั สุดทา้ ยตามข้นั ตอนดงั น้ี

• Rule –> Condition Action

• Rule –> Sensor Filter Action

• Rule –> see Filter Action

• Rule –> see apple Action

• Rule –> see apple Actuator Selector Modifier

• Rule –> see apple move Selector Modifier

• Rule –> see apple move toward Modifier

• Rule –> see apple move toward quickly

กฎสุดทา้ ยจะมีแต่ Terminal ในดา้ นขวามือ ซ่ึงสามารถเขียนในโปรแกรม Kodu ไดด้ งั น้ี

When see apple Do move toward quickly

สงั เกตวา่ When และ Do ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นไวยากรณ์ของ Kodu แต่เป็นส่วนหน่ึงในกฎของเกมที่ใชแ้ ยก
ระหวา่ งเหตุการณ์ กบั ส่ิงท่ีจะทาเมื่อเหตุการณ์น้นั เกิดข้ึน รูปล่างน้ีแสดงการเขียนกฎสุดทา้ ยที่ไดจ้ ากตวั อยา่ ง
ดา้ นบนให้ตวั Kodu

9

2.4 วธิ ีการสร้างเกม
2.4.1 สร้างแผนท่ี ที่ตวั ละครสามารถวงิ่ ไดโ้ ดยใช้ Ground Brush
2.4.2 ตกแต่งแมพดว้ ย ตน้ ไม้ ฯลฯ โดยใช้ Object Tool
2.4.3 สร้างตวั ละครท่ีสามารถเดินไดโ้ ดยใช้ Object Tool และใส่โปรแกรมใหต้ วั ละครสามารถเดิน

ได้ และเม่ือโดนดาวที่เป็นเส้นชยั ก็จะชนะ คือ

2.4.4 ส่วนเส้นชยั คือดาวต้งั ค่าใหเ้ ม่ือโดน จะทาใหเ้ ปลี่ยนด่าน

10

2.4.5. ในแต่ละด่านจะมีอุปสรรคต์ า่ งๆ เช่น ตวั ยงิ ปื น หรือหลุมดา จะใช้ Object Tool สร้างตวั ละคร
และตอ้ งคา่ ใส่โปรแกรมลงไป

2.5 วธิ ีการเล่น
2.5.1. ใช้ A W D S หรือ ข้ึน ลง ซา้ ย ขวา เป็นตวั ควบการเดินของตวั ละคร คอยหลบหลกั อุปสรรค์

ตา่ งๆ ท่ีมีในแต่ละด่าน

11

บทที่ 3

วธิ ีดาเนินโครงงาน

ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เร่ือง Cycle speed waterกลุม่ ผศู้ ึกษามีวธิ ีการดาเนินโครงงาน
ดงั ต่อไปน้ี

3.1 วธิ ีการดาเนินโครงงาน
3.1.1 ประชุมสมาชิกในกลุ่มเพือ่ ศึกษา และเลือกหวั ขอ้ สนใจในการทาโครงงาน
3.1.2 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานท่ีไดจ้ ากการเลือกหวั ขอ้ ท่ีสนใจของกลุ่มทางานต่อครูที่

ปรึกษาโครงงาน
3.1.3 วางแผนการจดั ทาโครงงาน โดยเขียนแบบร่างโครงงาน
3.1.4 นาแบบร่างโครงงานมาจดั ทาโครงงานท่ีสมบูรณ์
3.1.5 นาโครงงานที่สมบรู ณ์แลว้ มาจดั ทาเกม โดยใชโ้ ปรแกรมสร้างเกม (kodu)พฒั นาเกม

ตามหวั ขอ้ ตามโครงงาน
3.1.6 นาเสนอผลงานตามโครงงานในรูปแบบของเกม
3.1.7 ประเมินผลงานการจดั ทาโครงงาน

3.2 การสร้างส่วนต่าง ๆ ของเกม และการตกแต่งภาพ
ออกแบบการสร้างส่วนต่าง ๆ ของเกมโดยใชโ้ ปรแกรมkodu

3.3 การสร้างเกม
การสร้างเกมใชโ้ ปรแกรมการสร้างเกม ( kodu) พฒั นาเกมตามหวั ขอ้ ตามโครงงาน

12

บทที่ 4
ผลของการดาเนินโครงงาน

ในการทาโครงงานพฒั นาเกม เร่ือง.Cycle speed waterไดร้ ับผลของการดาเนินโครงงานดงั ต่อไปน้ี
4.1 การพฒั นาเกมเรื่องCycle speed water

การดาเนินโครงงานการพฒั นาเกม เร่ืองCycle speed waterทาใหไ้ ดร้ ับความรู้ในเรื่องการ
พฒั นาเกม Cycle speed waterและทาใหม้ ีเกมเพ่อื การศึกษาเร่ืองCycle speed waterสาหรับเผยแพร่ใหก้ บั ผู้
ท่ีสนใจต่อไป โดยสามารถเปิ ดเกมไดท้ ี่ โปรแกรมkoduหวั ขอ้ ผลงานนกั เรียนในการพฒั นาเกมตามเรื่องที่
สนใจ

1.2 การนาไปใช้งาน
เผยแพร่ใหก้ บั ผทู้ ี่สนใจ โดย คณะผจู้ ดั ทา

13

บทท่ี 5

สรุปการดาเนินโครงงาน

5.1 สรุปผลการดาเนินโครงการ
5.1.1 ไดศ้ ึกษาเร่ืองการพฒั นาเกมCycle speed waterซ่ึงเป็นเรื่องที่กลุ่มสนใจไดอ้ ยา่ ง

ละเอียดลึกซ้ึงมากข้ึน ทาใหม้ ีความเขา้ ใจมากข้ึน
5.1.2 ไดพ้ ฒั นาเกมเรื่องCycle speed water
5.1.3 ไดเ้ ผยแพร่ความรู้เร่ืองการพฒั นาเกมCycle speed water

ใหผ้ ทู้ ี่สนใจไดศ้ ึกษาโดยสามารถเปิ ดเกมไดท้ ี่ โปรแกรมkodu หวั ขอ้ ผลงานนกั เรียนในการพฒั นา
เกมตามเร่ืองที่สนใจ

5.1.4 ไดน้ าความรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนโปรแกรมการสร้างงานกราฟิ ก และโปรแกรมการ
สร้างเกมในวชิ าคอมพิวเตอร์ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นรูปแบบของโครงงาน

5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการทดลอง
การพฒั นาเกม ยงั เป็ นการพฒั นาที่เป็นงานง่ายๆ ยงั ตอ้ งอาศยั ความชานาญและเวลาในการ

จดั ทาใหม้ ากข้ึนเพ่ือใหง้ านที่ทามีความคลอบคลุมและมีคุณภาพมากยงิ่ ข้ึน
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
เน่ืองจากหวั ขอ้ ท่ีใชท้ าโครงงานน้ีเป็นหวั ขอ้ ตามท่ีกลุ่มสนใจ ซ่ึงบางคร้ังอาจไม่เป็นหวั ขอ้

ทางวชิ าการมากนกั ควรนาหวั ขอ้ ทางวชิ าการมาจดั ทาเป็ นโครงงานเพ่อื ประโยชน์ต่อการศึกษา

14

บรรณานุกรม

https://tapanee023.wordpress.com/วธิ ีการทา-kodu-เกมส์/


Click to View FlipBook Version