The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by academic.ojac2018, 2023-03-02 04:23:52

รายงาน อ.ก.บ.ศ.ภาค ปี ๒๕๖๕

Annualreport_65

Keywords: รายงาน

สำ นั ก ง า น ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม สำ นั ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม รายงานการศึกษาวิเครา ะห์ ป ร ะ จำ ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๕ การบริหารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมิภาค คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เสนอ


ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรม ประจำภาค พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติม ไดกำหนดใหมีคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ประจำภาค (อ.ก.บ.ศ. ภาค) โดยมีอำนาจหนาที่กำกับดูแลการบริหารราชการศาลยุติธรรม ที่เกี่ยวกับงานบริหารราชการและงานธุรการของศาลในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนและประเพณีของทางราชการศาลยุติธรรม รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาคน้ี ไดรวบรวมเรื่องเพ่ือพิจารณาที่อยูในอำนาจของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ปญหาขอขัดของในการปฏิบัติงาน ขอสังเกตและขอเสนอแนะจากรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำ ภาค ๑ – ภาค ๙ โดยเปนขอมูลที่สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดรับในป พ.ศ. ๒๕6๕ และนำมาวิเคราะหปญหาและประเด็นที่นาสนใจจากการปฏิบัติงานของศาลในภาค ตลอดจน ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาและการบริหารราชการศาลยุติธรรม สรุปเพื่อเปนขอมูลประกอบ การพิจารณาของผูบริหารสำนักงานศาลยุติธรรมและฝายเลขานุการของคณะกรรมการบริหาร ศาลยุติธรรม ทั้งน้ีเพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมทราบตอไป สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยตุิธรรม สำนักงานศาลยตุิธรรม มีนาคม ๒๕๖๖ คำนำ


ความเปนมา ๑ วัตถุประสงค ๔ เปาหมาย ๔ ตัวชี้วัดเปาหมาย ๔ วิธีดำเนินการ ๔ ผลการวิเคราะห ๔ บทสรุป ๙๒ ขอเสนอแนะ ๙๖ ภาคผนวก - ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรม ประจำภาค พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติม สารบัญ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 1 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๑๗ กำหนดใหคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมมีอำนาจหนาที่ออกระเบียบ ประกาศ หรือมีมติเพื่อการ บริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนที่เกี่ยวกับงานบริหารราชการและงานธุรการของสำนักงาน ศาลยุติธรรมใหเปนไปตามนโยบายของประธานศาลฎีกา รวมทั้งมีอำนาจยับยั้งการบริหารราชการ ของศาลยุติธรรมหรือสำนักงานศาลยุติธรรมที่ไมเปนไปตามระเบียบ ประกาศ หรือมตินั้นดวย คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดออกระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหาร ราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติม โดยกำหนดใหมีคณะอนุกรรมการ บริหารศาลยุติธรรมประจำภาค เรียกชื่อโดยยอวา “อ.ก.บ.ศ. ภาค” มีภาคละหนึ่งคณะ มีอำนาจหนาที่ ในการกำกับดูแลการบริหารราชการศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับงานบริหารราชการและงานธุรการของศาล ในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนและประเพณีปฏิบัติ ของทางราชการศาลยุติธรรม โดยใหอ.ก.บ.ศ. ภาค มีอำนาจหนาที่ดงัตอไปนี้ ๑. ใหคำแนะนำและตอบขอหารือทางวิชาการแกผูพิพากษาของศาลในเขตอำนาจของ อธิบดีผูพิพากษาภาค เชน คดีที่มีผลกระทบตอความมั่นคงของรัฐหรือเปนที่สนใจของประชาชน คดีที่เปน ความผิดอาญารายแรง หรือคดีที่มีความสลับซับซอน คดีที่มีทุนทรัพยสูงและคดีละเมิดอำนาจศาล รวมทั้งขอขัดของอื่นๆ เนื่องในการปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่กำหนดในระเบียบ ราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมและที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค กำหนด ความเปนมา การบริหารราชการศาลย ุ ตธิรรมในส ่ วนภ ู มิภาค


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 2 ๒. เสนอความเห็นตออธิบดีผูพิพากษาภาคในการสั่งใหผูพิพากษาคนใดคนหนึ่ง ในศาลในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคไปชวยทำงานชั่วคราวในอีกศาลหนึ่งตามพระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม มาตรา ๑๔ (๒) ๓. วางระเบียบหรือมีมติในการบริหารงานธุรการของศาลเพื่อสนับสนุนใหการพิจารณา พิพากษาคดีในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งจัดใหมีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานใหเปนไป ตามแนวนโยบายของประธานศาลฎีกา ๔. พิจารณาใหความเห็นในการแกไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติที่เกิด ขอขัดของในการปฏิบัติราชการของผูพิพากษาและขาราชการศาลยุติธรรมในศาลในเขตอำนาจ ของอธิบดีผูพิพากษาภาคตอสำนักงานศาลยุติธรรมและคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพื่อ ดำเนินการตอไป ๕. พิจารณาใหความเห็นในการจัดทำงบประมาณรายจายประจำปในการบริหารราชการ ของศาล สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค สำนักอำนวยการประจำศาลและสำนักงานประจำศาลในเขต อำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคเพื่อเสนอสำนักงานศาลยุติธรรมดำเนินการตอไป ๖. เสนอแนะการบริหารจัดการและใหความเห็นเกี่ยวกับวิธีการโอนและการ เปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณประจำปและการพัสดุที่ศาล สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค สำนัก อำนวยการประจำศาลและสำนักงานประจำศาลในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคไดรบัการจัดสรร จากสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อใหการดำเนินการอำนวยความยุติธรรมแกประชาชนของศาลในเขต อำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคเกิดผลสมัฤทธิ์สูงสุด ๗. เสนอแนะการบริหารงานบคุคลของขาราชการศาลยุตธิรรมและลูกจางที่ปฏิบัตหินาที่ ในสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค สำนักอำนวยการประจำศาล และสำนักงานประจำศาลในเขตอำนาจ ของอธิบดีผูพิพากษาภาค เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ในการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของผูพิพากษา มีประสิทธิภาพสูงสดุ ๘. แตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการใดๆ ภายในกรอบอำนาจหนาที่ ๙. พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่ประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม หรือคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมมอบหมายและปฏิบัติการ อื่นใดตามที่กฎหมาย ระเบียบ หรือประกาศกำหนดไวใหเปนอำนาจของ อ.ก.บ.ศ. ภาค คณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำภาคมีภาคละหนึ่งคณะ เรียกชื่อโดยยอ วา อ.ก.บ.ศ. ภาค ประกอบดวย


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 3 ๑) อธิบดีผูพิพากษาภาคเปนประธานอนุกรรมการ ๒) รองอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ ๓) ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจำสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ ๔)ผูพิพากษาหัวหนาศาลทุกศาลในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ ทั้งนี้ ใหเลขานุการศาลยุติธรรมประจำภาคเปนเลขานุการและใหผูอำนวยการสำนัก ศาลยุติธรรมประจำภาคเปนผูชวยเลขานุการ ซึ่งในการประชุมของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ถาประธาน ไมอยูในที่ประชุมหรือไมอาจมาประชุมได ใหรองอธิบดีผูพิพากษาภาคที่มีอาวุโสสูงสุดที่มาประชุม เปนประธานในที่ประชุม ในสวนของการประชุมนั้น เดิม ก.บ.ศ. ไดมีมติให อ.ก.บ.ศ. ภาคประชุมอยางนอย เดือนละ ๑ ครั้ง โดยเฉพาะ อ.ก.บ.ศ. ภาค ๙ ใหรายงานสถานการณตางๆ ของศาลในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใตรวมทั้งจังหวัดสงขลาให ก.บ.ศ. ทราบทุกเดือน1 ตอมาคณะกรรมการบริหาร ศาลยุติธรรมไดปรับปรุงระเบียบ ก.บ.ศ. วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาค ฉบับที่ ๔ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑ กำหนดใหการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ประชุมสองเดือนตอหนึ่งครั้ง คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดมีบัญชาใหฝายเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ศาลยุติธรรมสรุปปญหาที่ไดรับจากรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำภาค ดังนั้น สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมจึงไดรวบรวมรายงานการประชุมของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ที่ไดรับจากสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคตางๆ แลว ดำเนินการวิเคราะหและสรุปปญหาจากรายงาน การประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ประสานและแจงไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อพิจารณา ดำเนินการใหปญหาตางๆ ไดรับการแกไขดวยความรวดเร็วและรายงานใหเลขาธิการสำนักงาน ศาลยุติธรรมและรายงาน ก.บ.ศ. เพื่อทราบตอไป รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาคนี้ สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดรวบรวมวิเคราะหเรื่องท่ีพิจารณา/ประเด็นตามขอบเขต อำนาจหนาที่ของ อ.ก.บ.ศ. ภาค จากรายงานการประชุมในรอบป พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๕๒ ฉบับ เพื่อสรุปปญหาและแนวทางการแกไขปญหา รวมทั้งขอสังเกตและขอเสนอแนะตางๆ เพื่อเปนแนวทาง ปองกันปญหาที่เกิดขึ้นตอไป ๑ มติ ก.บ.ศ. ในการประชุมครั้งที่ ๑๓/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๑๒ พ.ค. ๒๕๔๘


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 4 ๑. เพื่อใหคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมรับทราบถึงปญหาที่เกิดขึ้นในการ ปฏิบัติงานในศาลตางๆ ที่อยูในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒. เพื่อศึกษาวิเคราะหประเด็นปญหาจากรายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ตามอำนาจหนาที่ของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ๓. เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมในการ แกไขปญหาที่กระทบตอการบริหารราชการศาลยุติธรรม รวบรวม วิเคราะห ประเด็นปญหาและขอสังเกตที่ไดรับจากรายงานการประชุม คณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำภาค 1 - 9 สรุปและจัดทำเปนเอกสารรายงานการศึกษา วิเคราะหเกี่ยวกับการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาคประจำป เอกสารรายงานการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวน ภูมิภาค ระหวางป พ.ศ. ๒๕๖๕ แลวเสร็จ จำนวน 1 ฉบับ โดยเสนอเลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม และนำเสนอคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพื่อทราบ รวบรวมขอมูลและศึกษาคนควาจากเอกสารรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการ บริหารศาลยุติธรรมประจำภาค 1 - 9 ซึ่งไดคัดแยกจากวาระการประชุมในเรื่องที่เปนประเด็นปญหา ในการบริหารราชการและขอสังเกตที่สำคัญ เพื่อนำมาประกอบวิเคราะหผลการประชุมของ อ.ก.บ.ศ. ภาค จำนวน ๕๒ ฉบับ ซึ่งมกีารประชุมในระหวางปพ.ศ. ๒๕๖๕ ผลการวิเคราะห การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำภาค (อ.ก.บ.ศ. ภาค) ทั้ง ๙ ภาค ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๖๕ ประธานอนุกรรมการในแตละภาคไดกำหนดใหมีการประชุมเฉลี่ยสองเดือน ตอหนึ่งครั้ง โดยใชระยะเวลา ๑ วัน ถึง ๒ วัน ตอการประชุม ๑ ครั้ง วัตถุประสงค เปาหมาย ตัวชี้วัดเปาหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการวิเคราะห


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 5 จากการรวบรวมเรื่องตางๆ ที่เปนวาระเพื่อพิจารณาและเพื่อทราบที่ปรากฏ ในรายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค พบวามีประเด็นปญหา ขอสังเกต และขอเสนอแนะเกี่ยวกับ การบริหารจัดการคดี งานธุรการคดี งบประมาณ อัตรากำลังบุคลากร การปรับปรุงซอมแซมอาคาร สถานที่ ขอหารือในการพิจารณาพิพากษาคดี กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ และประเด็นเกี่ยวกับ การชี้แจงหลักการ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับงานธุรการของศาลที่สนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี ที่รวบรวมจากรายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค จัดทำเปนขอมูลเชิงสถิติ ไดดังนี้ ๑. รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๑ - ๙ จำนวน ๕๒ ฉบับ - รายงานการประชมุอ.ก.บ.ศ. ภาค ๑ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๒ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๓ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๔ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๕ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๖ จำนวน ๕ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๗ จำนวน ๕ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๘ จำนวน ๖ ครั้ง - รายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๙ จำนวน ๖ ครั้ง ๒. เรื่องที่แยกตามอำนาจหนาที่ ๙ ขอของ อ.ก.บ.ศ. ภาค จากระเบียบวาระเรื่องเพื่อทราบ เรื่องเพ่อืพจิารณา และเรื่องอื่นๆ รวม ๕๙ เรื่อง ไดแก ๒.๑ ใหคำแนะนำและตอบขอหารือทางวิชาการ จำนวน 1๙ เรื่อง ๒.๒ เสนอความเห็นตออธิบดีผูพิพากษาภาคในการสั่งให จำนวน ๑ เรื่อง ผูพิพากษาไปชวยทำงานชั่วคราวในอีกศาลหนึ่ง ๒.๓ วางระเบียบหรือมีมติในการบริหารงานธุรการของศาล จำนวน ๒๖ เรื่อง ๒.๔ พิจารณาใหความเห็นในการปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ จำนวน ๗ เรื่อง วิธีปฏิบัติที่เกิดขอขัดของในการปฏิบัติราชการ ๒.๕ พิจารณาใหความเห็นในการจัดทำงบประมาณรายจาย จำนวน - เรื่อง ๒.๖ เสนอแนะการบริหารจัดการและใหความเห็นเกี่ยวกับ จำนวน ๕ เรื่อง วิธีการโอนและการเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ประจำปและพัสดุ ๒.๗ เสนอแนะการบริหารงานบุคคลของขาราชการ จำนวน ๑ เรื่อง ศาลยุติธรรมและลูกจาง ๒.๘ แตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการใดๆ จำนวน - เรื่อง ๒.๙ พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย จำนวน - เรื่อง


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 6 เรื่องที่คณะอนุกรรมการบรหิารศาลยุติธรรมประจำภาค (อ.ก.บ.ศ. ภาค) พิจารณา ประจำป พ.ศ. ๒๕๖๕ แบงตามอำนาจหนาที่ของ อ.ก.บ.ศ. ภาค เรื่องที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา แบงตามอำนาจหนาที่ของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำป พ.ศ. 2565 ขอ ๑ ขอ ๒ ขอ ๓ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๗ ขอ ๘ ขอ ๙ จำนวน (เรื่อง) 19 1 26 7 0 5 1 0 0 คิดเปน รอยละ 32.20 1.๗๐ 44.07 11.86 0 8.47 1.๗๐ 0 0


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 7 จากการศึกษาวิเคราะหประเด็นปญหาขอขัดของตาง ๆ รวมถึงขอสังเกตที่ไดรวบรวม จากรายงานการประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค ๑ - ๙ ในวาระเรื่องเพื่อพิจารณาและวาระเรื่องเพื่อทราบที่สำคัญ ที่ปรากฏในรายงานการประชุม สามารถนำมาแยกตามอำนาจหนาที่อ.ก.บ.ศ. ภาค ท่ีกำหนดไวใน ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวนภูมิภาค พ.ศ. 25๔๘ และที่แกไขเพิ่มเติม ดังนี้ อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง 1. ใหคำแนะนำและตอบขอหารือ ทางวิชาการแกผูพิพากษาของ ศาลในเขตอำนาจของอธิบดี ผูพิพากษาภาค เชน คดีที่มี ผลกระทบตอความมั่นคงของรัฐ หรือเปนที่สนใจของประชาชน คดีที่เปนความผิดอาญารายแรง หรือคดีที่มีความสลับซับซอน คดีที่มีทุนทรัพยสูง และคดีละเมิด อำนาจศาล รวมทั้งขอขัดของ อ่ืนๆ เนื่องในการปฏิบัติหนาที่ ข อ งผู พิ พ า ก ษ า ทั้ งนี้ ต า ม หลักเกณฑที่กำหนดในระเบียบ ราชการฝายตลุาการศาลยุติธรรม และที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค กำหนด 1. การขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกา แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบแนวทางปฏิบัติในการ ขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกา แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม และนโยบายของอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 ที่มุงเนนใหศาลอำนวย ความยุติธรรมใหกับประชาชนดวยการคุมครองสิทธิเสรีภาพของ ผูตองหา จำเลย ผูเสียหายและประชาชน โดยสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 1 ไดจัดทำโครงการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองและ ประเมินความเส่ียง โครงการคลินิกจิตสังคมเพื่อลดการกระทำผิดซ้ำ และโครงการปญหาที่อยากแกความดีที่อยากทำ เพื่อทบทวน บทบาททัศนคติของผูพิพากษาในการพัฒนาและรวมกันแกไข ปญหาสังคมในบริบทสังคมปจจุบัน ตลอดจนบูรณาการเครือขาย หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานและการพิจารณา คดีของศาล โดยเนนใหผูพิพากษาหัวหนาศาลดำเนินการคลินิก จิตสังคมใหเปนรูปธรรมและมีความยั่งยืน โดยสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 1 ไดแจงขั้นตอนการจัดทำโครงการและแนวทาง การขยายงานจิตสังคมใหศาลทราบ รวมถึงตั้งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนนโยบายขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกและติดตามดูแล ใหคำแนะนำแกศาลในเขตอำนาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 ดวย แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกาและแผนยุทธศาสตร โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลไดดำเนินโครงการสำคัญจำนวนมาก เชน โครงการขยายงานคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม โครงการสราง เจตนารมณรวมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกา โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการประมวลกฎหมายยาเสพติด โครงการสัมมนา ศาลอิเล็กทรอนิกสหัวขอกระบวนการยุติธรรมวิถีใหมบนโลกใบเดิม โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการหัวขอเพราะชีวิตดีไดกวาที่เปน ดวยพลังใจจากการคัดกรองสแูผนแกไขบำบัดฟนฟูเด็กและเยาวชน


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 8 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง เปนตน ซึ่งไดบรรลุผลตามเปาหมายตามที่กำหนด และขอความ รวมมือใหผูพิพากษาหัวหนาศาลขับเคลื่อนนโยบายประธาน ศาลฎีกาทุกดานและตอยอดการพัฒนาตอไป เพื่อใหกระบวนการ พิจารณาพิพากษาคดีและการคุมครองสิทธิเสรีภาพเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๑ รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกาและนโยบายอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 ทั้ง 4 ดาน คือ (1) การบริหารจัดการคดี เนื่องจากมีการเลื่อนคดีจำนวนมาก ในชวงการแพรระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ทำใหศาลยังคง มีคดีคางพิจารณาเกิน 1 ป และ 2 ป และบางศาลยังมีคดีคางเกิน 3 ปอีกดวย ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลเรงรัดพิจารณาคดี ทุกประเภท โดยเฉพาะคดีที่คางนานเกิน 2 ปขึ้นไปใหเสร็จโดยเร็ว (2) การดำเนินการคลินิกใหคำปรึกษาดานจิตสังคม ศาลในเขต อำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 ไดเปดคลินิกใหคำปรึกษาดาน จิตสังคมครบทั้ง 32 ศาล และในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จะทำการตอยอดในการพัฒนาเชิงคุณภาพและแกไขปญหา เชน ในดานกรอบและหลักเกณฑการนำสำนวนเขาสูคลินิกฯ ปญหา นักจิตวิทยา ปญหาบุคลากร ตลอดจนทำความเขาใจและสงเสริม ผูพิพากษาใหรวมมือสั่งนำสำนวนเขาสูคลินิกฯ มากขึ้น (3) การพัฒนาคำพิพากษาและการจัดทำบัญชีมาตรฐาน กำหนดโทษทางอาญา จะมีการตั้งคณะทำงานจัดทำบัญชี มาตรฐานกำหนดโทษขึ้น โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 จะมีคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานโดยแยกเปนกลุมศาลจังหวัดและ ศาลแขวง นอกจากนี้จะทำการปรับปรุงบัญชีฯ ในคดีเมาแลวขับ ซึ่งไมไดอยูในขอบขายการนำสำนวนเขาสูคลินิกฯ เพื่อใหศาลใช เปนมาตรฐานเดียวกัน (4) การเสริมสรางสุขภาวะท่ีดีของบุคลากร สำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 1 ไดจัดสรรงบประมาณใหศาลจัดทำโครงการ ดานการเสริมสรางสุขภาวะที่ดีใหบุคลากร ทั้งสุขภาพจิตและ สุขภาพกาย โดยมีการนำแบบประเมินความสุขคนไทยมาใช กับผูเขาอบรมและนำขอแนะนำตามบัญญัติสุข 10 ประการ มาใช แกไขขอบกพรองเพื่อใหบุคลากรมีสุขภาวะที่ดีขึ้น


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 9 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบแนวทางปฏิบัติในการ ขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกาและขอสังเกตของคณะทำงาน สงเสริมดุลยภาพแหงสิทธิที่ขอใหศาลดานสงเสริมบทบาท ศาลยุติธรรมในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนภายใต หลักนิติธรรมและการปฏิบัติตามขอบังคับของประธานศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ 2565 ที่มุงเนนใหลดการคุมขังที่ไมจำเปน ดวยการปรับปรุงการยื่นคำรองขอปลอยชั่วคราวในชั้นฝากขังและ ชั้นพิจารณา และขอใหศาลพิจารณาสั่งอนุญาตใหปลอยชั่วคราว เปนหลัก อีกทั้งอาจสั่งใหงดหรือลดหลักประกันเทาที่จำเปนเหมาะสม ตลอดจนนำมาตรการตางๆเชน คำรองใบเดยีวการประเมินความเส่ยีง การใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกสติดตามตัว (EM) การทำงานบริการสังคม แทนคาปรับ และการตั้งผูกำกับดูแลมาใชมากขึ้น พรอมทั้ง ประชาสัมพันธใหประชาชนรับทราบอยางทั่วถึง โดยขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงรายละเอียดใหผูพิพากษาทราบและ ปรับแนวความคิดเรื่องการสั่งอนุญาตปลอยชั่วคราว เพื่อลดการคุมขัง ที่ไมจำเปน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกาและสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 ในป งบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งศาลไดดำเนินการตามนโยบาย ทุกดาน เชน ในดานคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนไดมี การพัฒนากระบวนการปลอยชั่วคราวใหรวดเร็ว การเปดคลินิก จิตสังคม การพัฒนาระบบงานในศาลใหสอดรับกับความเปล่ียนแปลง เพื่อการพัฒ นาอยางตอเนื่องโดยจัดตั้งศูนยประสานงาน เจาพนักงานตำรวจศาลประจำสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 (CMC: 3) เพื่อใหการประสานงานผูเกี่ยวของและการปฏิบัติงาน จับกุมผูหลบหนี การปลอยชั่วคราวโดยศาลใหมีมาตรฐานและ มีประสิทธิภาพสูง เปนตน ในดานการสรางหลักประกันการ พิจารณาคดีที่ปลอดภัยไดมีการแยกประเภทคดีและนำวิธีพิจารณา คดีอิเล็กทรอนิกสมาใชมากขึ้น ทำใหคดีคางลดลง สวนในดานการ สงเสริมการพัฒนาศักยภาพฯ ของบุคลากรไดมีการใหทุน การศึกษาและจัดโครงการอบรมภาษาตางประเทศ และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลยังคงขับเคลื่อนนโยบายประธาน


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 10 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ศาลฎีกาทุกดาน และดำเนินโครงการคลินิกจิตสังคมตอเนื่อง ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๔ รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกาในการลดการคุมขังที่ไมจำเปน โดยพบปญหาคือ บางศาลมีการยกคำรองขอปลอยชั่วคราวในคดีลหุโทษและในคดี ความผิดที่ยอมความได โดยเฉพาะในศาลเยาวชนและศาลแขวง ซึ่งเปนคดีเล็กนอยหรือมีโทษจำคุกไมเกิน 3 ป ซึ่งอาจสงผลใหเกิด การรองเรียน จึงขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงผูพิพากษา ใหปฏิบัติตามคำแนะนำของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับแนวทาง การปลอยชั่วคราวผูตองหาหรือจำเลยเพื่อลดการคุมขังที่ไมจำเปน อยางเครงครัด โดยเฉพาะคดีที่มีโทษเล็กนอย รวมถึงใหนำ มาตรการกำกับดูแลการปลอยชั่วคราวมาใชใหมากขึ้น รวมถึง การจัดใหมีหองรอประกันและหองขังที่เหมาะสมในทุกศาลดวย แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 พิจารณาขอหารือเกี่ยวกับแนวคิด ในการเสนอคำรองขอปลอยชั่วคราวใบเดียวมาพรอมกับคำรอง ขอฝากขัง เพื่อเปนการปรับปรุงกระบวนการในชั้นฝากขังและ การปลอยชั่วคราวใหเกิดการบูรณาการและลดการคุมขังที่ไมจำเปน โดยขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลจังหวัดเชียงใหมนำวิธีการยื่น คำรองขอฝากขังและคำรองขอปลอยตัวชั่วคราวใบเดียวพรอมกัน ไปใชในการพิจารณาคำรอง เพื่อเปนศาลตนแบบใหแกศาลในเขต อำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 แลวรายงานใหสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 5 ทราบวาพบปญหาขอขัดของอยางไรหรือไม เพื่อเปนตนแบบแกศาลอื่นในการนำไปปฏิบัติใหเปนแนวทาง เดียวกันตอไป แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกาและแนวทางการบริหารจัดการคดีของศาลในเขต อำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค ๕ โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ไดตั้งคณะทำงานรวม 6 คณะ และจัดประชุมหารือระดมความ คิดเห็นรวมกันในการกำหนดกรอบเวลาและงบประมาณใหศาล ในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ไดทำความเขาใจนโยบาย แตละเรื่องและนำนโยบายไปปฏิบัติใหเปนรูปธรรมเปนไป ในแนวทางเดียวกัน


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 11 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกา ดังนี้ 1) สงเสริมบทบาทศาลยุติธรรมในการคุมครองสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนภายใตหลักนิติธรรม ศาลไดดำเนินการคุมครองสิทธิ เสรีภาพของผูตองหาและจำเลย เชน ปรับปรุงกระบวนการในชั้น ฝากขังและการปลอยชั่วคราวใหเกิดการบูรณาการเพื่อลดการคุมขัง ที่ไมจำเปน รวมถึงยกระดับการคุมครองสิทธิของผูเสียหาย 2) สรางหลักประกันการพิจารณาคดีที่ปลอดภัยดานสุขอนามัย เชน สนับสนุนมาตรการปลอดภัยดานสุขอนามัยแกประชาชน และบุคลากรในการดำเนินคดทีี่ศาล วางระบบการบริหารจัดการให สามารถดำเนินการเสร็จภายในมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนด และสงเสริมใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสทุกขั้นตอนของ การดำเนินคดีสำหรับคูความที่มคีวามพรอมดานเทคโนโลยีเปนตน 3) สรางสรรคระบบงานใหสอดรับกับความเปลี่ยนแปลง เพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน เชน สงเสริมการใชกลไก การระงับขอพิพาททางเลือกและการดำเนินคดีเพื่อยกระดับ การคุมครองผูบริโภคใหครอบคลุมถึงการบริโภควิถีใหมและ ขอพิพาทเฉพาะดานการสรางระบบนิเวศในการทำงานที่สงเสริม การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการอำนวยความยุติธรรมแก ประชาชนใหมีความสะดวก รวดเร็ว เขาถึงงาย โปรงใสและ ตรวจสอบได และการสนับสนุนบทบาทขององคกรศาลยุติธรรม ในการเปนแหลงความรู เพื่อใหประชาชนเขาใจและเชื่อมั่น ในกระบวนการยุติธรรม 4) สงเสริมการพัฒนาศักยภาพ ความกาวหนาและสุขภาวะที่ดี ของบุคลากร เชน สนับสนุนการศึกษาเรียนรูของขาราชการฝาย ตุลาการศาลยุติธรรมและบุคลากรที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนาศักยภาพ บุคลากรใหมีทักษะที่ทันสมัยและเปนประโยชนในการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหนาที่ การสงเสริมใหบุคลากรมีโอกาสปฏิบัติงาน ตามความรูความเชี่ยวชาญอยางตอเนื่อง เพื่อเปนหลักประกัน แกประชาชนในการไดรับการพิจารณาพิพากษาคดีที่ถูกตอง และการยกระดับการดูแลรักษาสุขภาพของบุคลากร เปนตน และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลนำแนวทางการแกไขปญหา ที่แตละศาลเสนอไปปรับใชและแจงใหผูพิพากษาในศาลทราบ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 12 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง หากมีปญหาขอขัดของใหรายงานไปยังสำนักงานอธิบดีผูพิพากษา ภาค 6 เพื่อรวบรวมรายงานไปยังสำนักงานศาลยุติธรรมตอไป ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๗ รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกา โดยศาลมีการดำเนินโครงการดานการคุมครอง สิทธิเสรีภาพตามนโยบาย “รักศาล รวมใจ รับใชประชาชน” เพื่อใหมีการบริหารจัดการคดีใหแลวเสร็จโดยเร็ว และเกิด ประโยชนตอประชาชน โดยขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลและ ผูอำนวยการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกา ที่ดำเนินการอยูใหเปนไปอยางตอเนื่อง ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบผลการขับเคลื่อนนโยบาย ประธานศาลฎีกา โดยใหศาลมุงเนนในเรื่องการลดการคุมขัง ที่ไมจำเปนดวยวิธีการตางๆ เชน การปรับปรุงกระบวนการปลอย ชั่วคราว การใชคำรองใบเดียวในการปลอยตัวผูตองหาหรือจำเลย ซึ่งศาลสวนใหญมีการใชคำรองใบเดียวมากถึงรอยละ 98.75 นอกจากนี้ ยังมีการแตงตั้งผูกำกับดูแล การประเมินความเสี่ยง และการอนุญาตใหประกันตวัในรูปแบบตางๆ และขอใหผูพิพากษา พิจารณาอนุญาตประกันตัวผูตองหาหรือจำเลยโดยไมใชหลักประกัน หรือไมม ีหลักประกันมากขึ้น () แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบผลการปรับปรุงกระบวนการ ชั้นฝากขังและการปลอยตัวช่ัวคราวระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อยกระดับการคุมครองสิทธิของผูเสียหาย เชน การใชคำรอง ใบเดียว การลดการเรียกหลักประกัน การสาบานตน การตั้ง ผูกำกับดูแล การติดอุปกรณ E.M. และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล ทุกศาลแจงใหผูพิพากษาทราบและปฏิบัติตามนโยบายประธาน ศาลฎีกาอยางตอเนื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๘ รับทราบแนวทางการขับเคล่ือน นโยบายประธานศาลฎีกา ภายใตแนวคิด “รักศาล รวมใจ รับใช ประชาชน” ดังนี้ ๑) การเสริมสรางจิตสำนึกใหบุคลากรมีความรักความผูกพัน ในองคกร การสรางความสามัคคี การทำงานเปนทีม การสราง ทัศนคติและสภาวะแวดลอมที่ดใีนการทำงานเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพ การทำงานในการใหบริการประชาชน


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 13 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ๒) การมุงเนนใหบุคลากรในองคกรรวมมือรวมใจปฏิบัติหนาที่ อยางมุงมั่น ตั้งใจ โปรงใส มีความรับผิดชอบ มีจิตใจใหบริการ พรอมอำนวยความยุติธรรมใหแกประชาชนดวยความรวดเร็ว เปนธรรมอยางทั่วถึงและมีมาตรฐานเดียวกันโดยเนนผลสัมฤทธิ์ และประโยชนสวนรวม ๓) ยกระดับการอำนวยความยุติธรรมและการคุมครองสิทธิ และเสรีภาพของประชาชน มุงเนนใหบุคลากรมีจิตสำนึกในการ ปฏิบัติหนาที่รวมกันใหบริการประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมใหมมาใชสนับสนุน การปฏิบัติงาน เพื่อใหประชาชนเขาถึงบริการของศาลยุติธรรม ไดงาย สะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาคและเทาเทียม และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลทุกศาลนำนโยบายประธานศาลฎีกา ไปสูการปฏิบัติโดยดำเนินโครงการที่สอดคลองตามนโยบายไดทันที แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวทางปฏิบัติในการ ขับเคลื่อนนโยบายประธานศาลฎีกา เชน การคุมครองสิทธิ ผูเสียหายในคดีอาญาตามมาตรการของสำนักงานศาลยุติธรรม กรณีการรับคำรองของผูเสียหายไวแลวสงไปยังศาลที่มีเขตอำนาจ พิจารณาคดี การยื่นคำรองขอคาเสียหายพนักงานอัยการมีอำนาจ ขอคาเสียหายแทนผูเสียหายไดและผูเสียหายสามารถยื่นคำรอง ขอคาเสียหายไดสวนดอกเบี้ยพนักงานอัยการขอไมไดแตผูเสียหาย ขอไดและหลักเกณฑการออกคำสั่งหรือหมายอาญาในการ ยื่นคำรองตองระบุชื่อ อายุ พฤติการณของการกระทำความผิด บัตรประชาชน ภาพถายปจจุบันของผูตองหา จำเลย ผลการตรวจ พิสจูนทางวิทยาศาสตรหรือหลักฐานสำคัญอื่นในการสนับสนุนเหตุ ในการออกหมายขังและระยะเวลาที่ขอใหศาลขังและคำรองฝากขัง ครั้งที่ 1 และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงแนวทางดังกลาว ใหผูพิพากษาในศาลทราบและนำไปปฏิบัตใิหเปนแนวทางเดียวกัน ๒. โครงการใชคอมพิวเตอรแปลงคำพูดพิมพเปนขอความ ของศาลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผพูิพากษาภาค ๘ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๘ รับทราบผลการดำเนินงานโครงการ ใชคอมพิวเตอรแปลงคำพูดพิมพเปนขอความของศาลในเขตอำนาจ อธิบดีผูพิพากษาภาค ๘ จากเดมิที่ใชระบบบันทึกคำพยานดวยการ บันทึกเทปแลวใหเจาหนาที่หนาบัลลังกพิมพ เปลี่ยนเปนการนำ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 14 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง โครงการใชคอมพิวเตอรแปลงคำพูดพิมพเปนขอความมาใชแทน ซึ่งจะชวยประหยัดคาใชจายและปองกันอาการประสาทหูเสื่อม ของเจาหนาที่หนาบัลลังกและยังลดปญหาการบันทึกเทป แลวขอมูลสูญหายและไดขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลทุกศาล แจงใหผูพิพากษา นักวิชาการคอมพิวเตอร และเจาหนาที่หนาบัลลังก ใชคอมพิวเตอรแปลงคำพูดพิมพเปนขอความไปใชงานใหเปน รูปธรรมและสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 8 จะติดตามประเมินผล การใชงานระบบดังกลาววามีปญหาหรือไม และระบบเสถียรหรือไม หากไดผลดีจะไดเสนอโครงการใหประธานศาลฎีกาทราบตอไป ๓. แนวทางปฏิบัติตามขอบังคับของประธานศาลฎีกาวาดวยการ ปลอยชั่วคราวและวิธีเรียกหลักประกันในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๖๕ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบแนวทางปฏิบัติตาม ขอบังคับของประธานศาลฎีกาฯ และขอสังเกตของคณะทำงาน สงเสริมดุลยภาพแหงสิทธิที่ใหศาลปรับปรุงกระบวนการฝากขัง และปลอยชั่วคราว เพื่อลดการคุมขังที่ไมจำเปนประกอบกับการนำ ระบบประเมินความเสี่ยง การใชคำรองใบเดียวและการตั้งผูกำกับ ดูแลมาใชใหมากขึ้น นอกจากนี้ ในการออกหมายจับ หมายคน ขอใหศาลพิจารณาพยานหลักฐานและใชดุลพินิจพิจารณา พฤติการณดวยความระมัดระวัง เพื่อไมใหกระทบตอสิทธิเสรีภาพ ของบุคคลและขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลปฏิบัติตามขอบังคับ ของประธานศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับ การออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565 โดย เครงครัด พรอมทั้งนำหลักเกณฑและแบบฟอรมเกี่ยวกับการผัดฟอง ฝากขังของคณะทำงานสงเสริมดุลยภาพแหงสิทธิ ตามหนังสือ สำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 025/ว 87(ป) ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2565 มาใชพรอมทั้งประสานงานหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เชน อัยการและพนักงานสอบสวนทราบ เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 1 จะนำ ประเด็นที่ประธานศาลฎีกาหารือกับหนวยงานภายนอก รวมทั้ง ปญหาขอขัดของในการปฏิบัติงานในศาลมาสรุปและจัดทำ เปนแนวทางเพิ่มเติมแลวแจงใหศาลทราบและนำไปปฏิบัติตอไป ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบขอสังเกตเกี่ยวกับการใช ดุลพินิจในการอนุญาตปลอยชั่วคราวผูตองหาหรือจำเลยในคดี


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 15 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง อาญาของศาลที่มีความแตกตางกัน รวมถึงบางคดีมีการใชดุลพินิจ ไมเหมาะสม เชน คดีที่มีพฤติการณไมรายแรงแตศาลไมอนุญาต ใหปลอยชั่วคราว ทำใหจำเลยหรือผูตองหาถูกขังโดยไมจำเปน สวนบางคดีที่มีความรายแรงและมีอัตราโทษสูงหรือมีพฤติการณ ที่ไมควรอนุญ าตแตศาลกลับอนุญ าตปลอยชั่วคราวและ มีการหลบหนี ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลนำขอสังเกตไปแจง ใหผูพิพากษาทราบและกำชับใหใชความระมัดระวังในการใช ดุลพินิจในการปลอยชั่วคราวใหเปนไปตามกฎหมาย พฤติการณ ของคดี และบริบทของสังคมอยางเหมาะสม ใหคำปรึกษาแก ผูพิพากษาในคดีที่มีความสำคัญหรือเปนที่สนใจของประชาชน เพื่อใหการปลอยชั่วคราวเปนไปในแนวทางเดียวกันและสราง ความเชื่อมั่นแกประชาชนในเรื่องมาตรฐานการปลอยชั่วคราว ของศาล แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบรายละเอียดและแนวทาง ปฏิบัติตามขอบังคับของประธานศาลฎีกาวาดวยการปลอยชั่วคราว และวิธีเรียกหลักประกันในคดีอาญา พ.ศ. 2565 ซึ่งมีสาระสำคัญ คือการยกเลิกขอบังคับของประธานศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกัน ในการปลอยชั่วคราวผูตองหรือจำเลยในคดีอาญาเดิม โดย ขอบังคับของประธานศาลฎีกาฉบับใหมเปนการรวบรวมจาก กฎหมายและอนุบัญญัติหลายฉบับที่เกี่ยวกับการปลอยชั่วคราว ใหอยูในฉบับเดียว จึงมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการยื่นคำรองขอปลอย ชั่วคราว การพิจารณาสั่งปลอยชั่วคราว การกำกับดูแล การเรียก ประกัน แนวทางการปลอยชั่วคราวโดยไมมีประกันหรือมีประกัน และหลักประกัน การกำหนดวงเงินประกัน การพิจารณาสั่งปลอย ชั่วคราวภายหลังมีคำพิพากษาและการกำหนดแนวปฏิบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษา ศึกษารายละเอียดและปฏิบัติตามแนวทางขอบังคับของประธาน ศาลฎีกาและแนวทางปฏิบัติใหถูกตอง อีกทั้งขอใหปรับเปลี่ยน ความคิดเกี่ยวกับการใชดุลพินิจในการปลอยตัวชั่วคราววา การอนุญาตใหปลอยชั่วคราวควรเปนสิทธิที่ผูตองหาหรือจำเลย ควรไดรับ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 16 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 รับทราบปญหาขอขัดของเกี่ยวกับ การยื่นคำรองขอปลอยชั่วคราวในคดีฉอโกง พบวามีผูพิพากษา เรียกหลักประกันสูงเกินเกณฑท่ีกำหนด จึงอาจถูกจำเลยรองเรียน ในเรื่องพฤติกรรมและการดำเนินการตางๆ ได ดังนั้น ขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาปฏิบัติตามคำแนะนำ ของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับแนวทางการปลอยชั่วคราวผูตองหา หรือจำเลยเพื่อลดการคุมขังโดยไมจำเปน โดยเฉพาะการใช มาตรการกำกับดูแลการปลอยชั่วคราวและการใชคำรองใบเดียว ใหมากขึ้น หากเกิดปญหาขอขัดของ ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล ปรึกษาไปยังสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 4 กอน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวปฏิบัติเรื่องการปลอยตัว ชั่วคราวที่มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการเกี่ยวกับการออกคำสั่งหมายอาญา พ.ศ. 2565 ในการขอออกหมายจับ หมายคน โดยเพิ่มขอบังคับใหม คือ เจาพนักงานปกครองหรือตำรวจหรือเจาพนักงานอื่นที่มาขอหมาย ผูรองจะตองมาเพื่อใหผูพิพากษาสอบถามกอนออกหมาย และ ผูรองจะตองเปนผูมีอำนาจหนาที่เกี่ยวของกับการสืบสวนหรือ สอบสวนคดีที่ขอออกหมาย ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจง แนวทางดังกลาวใหผูพิพากษาในศาลทราบและนำไปปฏิบัติใหเปน แนวทางเดียวกัน รวมทั้งขอใหทุกศาลประชาสัมพันธและทำความ เขาใจกับพนักงานสอบสวน เพื่อใหการจัดทำคำรองเกี่ยวกับ การออกคำสั่งหรือหมายอาญาเปนไปตามขอบังคับของประธาน ศาลฎีกา ขอ 40 (1) ( ๔. ขอหารือคำพิพากษาคดีขอหามีไวเพ่ือจำหนายกับพยายาม จำหนายตามประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 พิจารณาขอหารือกรณีคดีขอหา มีไวเพื่อจำหนายกับพยายามจำหนายตามประมวลกฎหมาย ยาเสพติด พ.ศ. 2564 ซึ่งกฎหมายเดิมขอหามีไวเพื่อจำหนาย กับพยายามจำหนายถือวาเปนการฟองหลายกรรม แตเมื่อมีการ แกไขกฎหมายยาเสพติดแลวถือวาเปนกรรมเดียวทั้งหมด แตผูพิพากษายังคงวางบทมาตราในการกระทำความผิดหลายบท ทำใหการเขียนรางคำพิพากษาขัดแยงกันเอง และกรณีคดีท่ีมี การยึดทรัพยซึ่งโจทกไดยื่นคำรองไวกอนตามพระราชบัญญัติ มาตรการปองกันและปราบปรามผูกระทำความผิดเกี่ยวกับ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 17 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ยาเสพติด พ.ศ. 2534 แตตามพระราชบัญญัติประมวลกฎหมาย ยาเสพติด พ.ศ. 2564 ไดยกเลิกพระราชบัญญัติดังกลาว ศาลจึงสั่ง ยกคำรองหรือสั่งจำหนายคดี กรณีนี้ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงรายละเอียดใหผูพิพากษาทราบวา การเขียนคำพิพากษาที่ วินิจฉัยเปนบทเดียวการเขียนตวับทควรจะจบที่วาผิดตามประมวล กฎหมายยาเสพติดมาตรา 90 และ มาตรา 145 โดยไมตอง ประกอบมาตรา 80 และมาตรา 126 อีกตอไป สวนคดีที่มีการ ยึดทรัพยไวกอน ศาลไมควรสั่งยกคำรองและไมควรสั่งจำหนายคดี เนื่องจากหากสั่งจำหนายคดี ตอมาโจทกอุทธรณก็ตองยอนสำนวน มาดำเนินการใหม โดยใหศาลปฏิบัติตามคำแนะนำของสำนักงาน ศาลยุติธรรมในเรื่องดังกลาวแทน ทั้งนี้ หากมีปญหาขอขัดของ ในการเขียนคำพิพากษาขอใหหารือสำนักงานอธิบดีผพูิพากษาภาค 8 ๕. ขอหารือแนวทางการจายเงินรางวัลและคาใชจายแก ทนายความที่ศาลตั้งใหผูตองหาหรือจำเลย แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การจายเงินรางวัลและคาใชจายแกทนายความที่ศาลตั้งใหผูตองหา หรือจำเลย ตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย016/23011 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2561 เรื่องตอบขอหารือการเบิกจาย เงินรางวัลและคาใชจายแกทนายความที่ศาลตั้งให และตอบขอหารือ กรณีที่ศาลหารือวา ทนายความยังไมไดรับแตงตั้งจากจำเลยที่ 2 ซึ่งไมมีใบแตงทนายความ ถือวายังไมไดเริ่มปฏิบัติหนาที่เปน ทนายความในคดีดังกลาว ศาลจึงไมอาจสั่งจายเงินรางวัลแก ทนายความได แตหากมีการแตงทนายความขอแรงและทนายความ ไดปฏิบัติหนาที่ในวันนัดสอบคำใหการแลวถอนตนจากการเปน ทนายความขอแรง กรณีนี้สามารถจายเงินรางวัลและคาใชจายแก ทนายความขอแรงนั้นไดตามระเบียบ แตตองบันทึกเหตุผลไว ในรายงานกระบวนพิจารณาดวย ๖. ระเบียบราชการฝายตลุาการศาลยุติธรรม วาดวยการกำหนด จำนวนชั่วโมงที่ถือเปนการทำงานหนึ่งวัน และแนวปฏิบัติ ในการทำงานบริการสังคมหรือสาธารณประโยชนแทนคาปรับ และการเปลี่ยนสถานที่กักขัง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2565 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบรายละเอียดของระเบียบ ราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยการกำหนดจำนวนชั่วโมง


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 18 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ที่ถือเปนการทำงานหนึ่งวัน และแนวปฏิบัติในการทำงานบริการ สังคมหรือสาธารณประโยชนแทนคาปรับและการเปลี่ยนสถานที่ กักขัง (ฉบับท่ี3) พ.ศ. 2565 ซึ่งมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการกำหนด ชั่วโมงการทำงานของผูตองโทษปรับ คือ เมื่อทำงานครบ 2 ชั่วโมง ใหถือเปนการทำงานหนึ่งวัน การใหอำนาจศาลในการใชดุลพินิจ กำหนดชั่วโมงทำงานใหลดนอยลงไดและการกำหนดใหชั่วโมง การฝกอบรมความรูทางวิชาชีพของผูตองโทษปรับใหนำมาคดิเปน ชั่วโมงในการทำงานได เปนตน และเห็นควรใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงแนวทางใหผูพิพากษาทราบและศึกษารายละเอียดของระเบียบฯ เพื่อเตรียมความพรอมในการปฏิบัติตามแนวทางไดอยางถูกตอง และสมควรแกการดำรงชีพของผูตองโทษปรับ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวทางปฏิบัติเรื่อง การทำงานบริการสังคมแทนการชำระคาปรับ โดยในชั้นพิจารณา ใหสอบถามและแจงจำเลยวา หากมีคาปรับแลวจำเลยไมมีเงิน มาชำระคา ปรับ สามารถทำงานบริการสังคมแทนการชำระคาปรับได สำหรับชั้นพิพากษาและชั้นบังคับคดีใหแจงจำเลยทราบวาสามารถ ที่จะทำคำรองทำงานบริการสังคมแทนการชำระคาปรับไดเชนกัน และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาในศาลทราบ และนำไปปฏิบัติใหเปนแนวทางเดียวกัน ๗. ขอบังคับประธานศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565 และรางแบบพิมพที่เกี่ยวของ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบขอสังเกตจากการปฏิบัติ ตามขอบังคับของประธานศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565 ซึ่งมีการปรับปรุงรายละเอียดเกี่ยวกับการออกหมายคน หมายจับ โดยใหพนักงานสอบสวนจะตองเสนอรายละเอียดที่ชัดเจน พรอมพยานหลักฐานประกอบ รวมถึงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ และแบบฟอรมการผัดฟองฝากขังของคณะทำงานสงเสริมดุลยภาพ แหงสิทธิซึ่งผลการดำเนนิการในระยะแรกพบวาพนักงานสอบสวน ยังมีการยื่นคำรองและเสนอพยานหลักฐานตอศาลไมครบถวน จึงขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลกำชับผูพิพากษาปฏิบัติตาม ขอบังคับของประธานศาลฎีกาฯ หลักเกณฑและแบบฟอรม


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 19 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ใหครบถวน เมื่อพิจารณาคำรองขอฝากขังใหพิจารณาไตสวน พฤติการณการกระทำความผิด พฤติการณการหลบหนีและ เหตุจำเปนที่จะตองขังไวในระหวางสอบสวนเปนสำคัญ และใหศาล แจงพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการทราบพรอมทั้ง แนบสำเนาขอบังคับของประธานศาลฎีกาฯ และแบบฟอรมตางๆ ใหทราบดวย แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบรายละเอียดของขอบังคับ ของประธานศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับ การออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับท่ี5) พ.ศ. 2565 และ รางแบบพิมพที่เกี่ยวของ ดังน้ี ๑) สาระสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงวิธีการใชดุลพินิจ ที่ศาลจะออกหมายขัง โดยศาลจะตองเห็นวามีพยานหลักฐาน ตามสมควรวาผูตองหาหรือจำเลยไดกระทำความผิดและมี พฤติการณนาเชื่อถือวาจะหลบหนี หรือไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน รวมถึงอาจกอเหตุอันตราย ซึ่งพนักงานสอบสวนจะตองยื่น หลักฐานที่จำเปนเพื่อประกอบคำรองมากขึ้น โดยจะมีการใช แบบฟอรมคำรองขอฝากขังที่แยกเปนคำรองกรณีที่มีการจับกุม กรณีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 วรรคทาย และคำรองขอออกหมายขังตลอดจนใหนำวิธีการประเมิน ความเสี่ยงมาใชในชั้นฝากขังโดยอาจงดหมายขัง เปนตน ( ๒) การดำเนินการตามขอบังคับประธานศาลฎีกา วาดวยการ ปลอยชั่วคราวฯ ใหดำเนินการตามลำดับความเขมงวด และขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงแนวทางใหผูพิพากษาทราบและ ศึกษารายละเอียด เพื่อเตรียมความพรอมในการปฏิบัตติามไดอยาง ถูกตองและติดหลักเกณฑประกันหรือวงเกินประกันที่ประชาสัมพันธ ของศาลใหเปนปจจุบันเพื่อใหประชาชนทราบดวย (4/65) แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 ติดตามผลการบงัคับใชขอบงัคบัของ ประธานศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออก คำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. 2565 ในการพิจารณา สั่งคำรองขอหมายขัง การออกหมายในความผิดอาญาซึ่งมีอัตรา โทษจำคุกเกินสามป การปลอยชั่วคราว และการแตงตั้ง ทนายความขอแรง โดยรวมกันพิจารณาหาแนวทางในการพิจารณา สั่งคำรองขอฝากขังของพนักงานสอบสวน โดยขอใหมุงเนนไปที่


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 20 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง การอนุญาตใหขังและอนุญาตใหปลอยชั่วคราวโดยมีการใช มาตรการที่จะเปนการปองกันไมใหหลบหนี กอเหตุรายหรือ ไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐานใหเปนไปตามขอบังคับของประธาน ศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกคำสั่ง หรือหมายอาญา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. 2565 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบแนวปฏิบัติตามขอบังคับ ของประธานศาลฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการออกคำสั่งหรือ หมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565 โดยในการพิจารณาออก หมายขังตามคำรองขอของพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ ผูรองจะตองแสดงใหศาลเห็นวามีพยานหลักฐานตามสมควรวา ผูตองหาหรือจำเลยนาจะกระทำความผิดตามขอกลาวหาและ มีพฤติการณที่นาเชื่อวาจะหลบหนีหรือไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น อันเปนเหตุใหตองขังผูตองหาหรือ จำเลยไวระหวางดำเนินคดีในกรณีที่ศาลเห็นวามีเหตุออกหมายขัง แตยังมีวิธีที่จะปองกันมิใหผูตองขังหรือจำเลยหลบหนีหรือยุงเหยิง กับพยานหลักฐานหรือกออันตรายอยางอื่น ศาลอาจงดออกหมายขัง หรืออนุญาตใหปลอยชั่วคราวเพื่อลดการคุมขังที่ไมจำเปน ซึ่งเปน การสงเสริมดุลยภาพแหงสิทธิและเพื่อใหมาตรฐานเรื่องการฝากขัง เปนไปในแนวทางเดียวกัน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบแนวทางปฏิบัติตาม ขอบังคับของประธานศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการ เกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565 ดังนี้ ๑) กรณีชั้นสอบสวน พนักงานสอบสวนไดสอบถามทนายความ แลว ชั้นพิจารณาจะตองสอบทนายความอีกหรือไม ในการไตสวน คำรองเพื่อออกหมายขัง ผูตองหามีสิทธิแตงตั้งทนายความ ถาไมมี ทนายความใหศาลสอบถามผูตองหาวาตองการทนายความหรือไม ถาเปนวันหยุดราชการจะไมมีทนายความมาศาล ศาลควรประสาน ไปยังสภาทนายความประจำจังหวัดหรือทนายความเพื่อขอความ รวมมือ ๒) กรณีขอคืนคาปรับคดีกัญชาหรือพืชกระทอม เมื่อกฎหมาย ยกเลิกความผิด ในสวนของการบังคับตามคำพิพากษาถึงที่สุดนั้น หากมีสวนใดที่ยังคางอยูระหวางการบังคับก็ใหการบังคับนั้น


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 21 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง สิ้นสุดลง ไมมีการบังคับในสวนที่คางอยูอีกตอไป หาไดมีผลหรือ ฟนการบังคับโทษที่เสร็จสิ้นไปแลวขึ้นมาพิจารณาใหมแตอยางใด โทษที่รับมาแลวตองถือวายุติไปตามคำพิพากษา ดังนั้น คาปรับ ที่จำเลยชำระคาปรับไปตามคำพิพากษาจนครบถวนแลว จึงถือวา การบังคบั โทษปรับนั้นสิ้นสดุแลว และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาทราบและปฏิบัติ ตามขอบังคับของประธานศาลฎีกาใหเปนแนวทางเดียวกัน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวทางในการฝากขังและ การปลอยชั่วคราวตามขอบังคับประธานศาลฎีกา วาดวยหลกัเกณฑ และวิธีการเกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือหมายอาญา ฉบับท่ี5 และ ขอบังคับประธานศาลฎีกาวาดวยการปลอยชั่วคราวและวิธีใช เรียกประกันในคดีอาญา พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดใหผูมีอำนาจ หนาที่ที่เกี่ยวของกับคดีและกระบวนการเปนผูรองขอ ขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาทราบและปฏิบัติตาม ขอบังคับของประธานศาลฎีกาใหเปนแนวทางเดียวกัน ๘. ขอหารือการขอใหขาราชการตุลาการเปนคณะทำงาน เพ่อืตรวจสอบการเลื่อนชั้นนกัโทษเด็ดขาดประจำเรือนจำ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลปฏิบัติ ตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 003/ว 431 ลงวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 แจงมติการประชุมคณะกรรมการตุลาการ ศาลยุติธรรม ครั้งที่ 10/2565 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2565 ไมเห็นชอบใหขาราชการตุลาการเปนคณะทำงานเพื่อตรวจสอบ การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด เนื่องจากอาจกระทบกระเทือน ตอการปฏิบัติหนาที่ราชการ ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลปฏิบัติ ตามมติที่ประชุม ก.ต. ซึ่งมีมติไมเห็นชอบใหขาราชการตุลาการ เปนไปคณะทำงานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด เนื่องจากอาจกระทบกระเทือนตอการปฏิบัติหนาที่ราชการ และในสวนของเจาหนาที่ของศาลนั้น สำนักงานศาลยุติธรรม ไดพิจารณาแลวไมเห็นชอบใหขาราชการศาลยุติธรรมไปเปน คณะทำงานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนขั้นนักโทษเด็ดขาดประจำ เรือนจำดวยเชนกัน (


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 22 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ๙. การพิจารณาพิพากษาคดียาเสพติดและการบังคับใช ประมวลกฎหมายยาเสพติด แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบปญหาขอขัดของเกี่ยวกับ การบังคับใชประมวลกฎหมายยาเสพติด เชน คดีความผิดเกี่ยวกับ พืชกัญชาที่ศาลมีการพิพากษาโทษถึงที่สุดใหจำคุกและปรับหรือ มีการสั่งคุมประพฤติ รวมถึงกรณีที่ศาลยังไมพิพากษาโทษแตคดี อยูในชั้นสอบสวนแลวมีการฝากขังไวตอศาล ควรมีแนวปฏิบัติ อยางไรเพื่อใหชัดเจนและเปนแนวทางเดียวกัน ที่ประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงผูพิพากษาปฏิบัติตาม แนวทางหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ดวนที่สุด ที่ ศย 016/(ว)197 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เรื่อง ขอพิจารณาความผิดเกยี่วกับ พืชกัญชาตามประมวลกฎหมายยาเสพติด พรอมทั้ง ใหสำรวจ ขอมูลคดีเกี่ยวกับพืชกัญชาในแตละศาลวามีกี่คดี และมีขอหา อื่นรวมดวยหรือไม ทั้งในคดีที่มีผูยื่นคำขอและไมมีผูยื่นคำขอ ใหกำหนดโทษใหม โดยตรวจสอบจากสำนวนที่ศาลมีคำพิพากษา ถาคดีถึงที่สุดแลวศาลจะตองแกหมายจำคุกคดีถึงที่สุด หรือยกเลิก คำสั่งคุมประพฤติแลวแตกรณี เวนแตมีขอหาอื่นรวมดวย ก็ใหผูพิพากษาหัวหนาศาลพิจารณาอีกครั้งหน่ึง กรณีฝากขังในชั้น สอบสวน ใหศาลมีหนังสือถึงสถานีตำรวจที่อยูในเขตอำนาจศาล ใหตรวจสอบวามีการฝากขังในขอหาเกี่ยวกับพืชกัญชาหรือไม ถามีขอใหยื่นคำรองเพื่อยกเลิกการกักขัง ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบปญหาขอขัดของในการ พิจารณาสั่งคำรองในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดและแจง แนวปฏิบัติเพื่อใหศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 ใชเปนแนวทางเดียวกัน ดังนี้ 1) กรณีคดียาเสพติดที่มีหลายกรรมแลวศาลเคยมีคำพิพากษา เพิ่มโทษไวตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 97 เชน ความผิดฐานมีไวในครอบครองเพื่อจำหนายและ ฐานจำหนายยาเสพติด เมื่อประมวลกฎหมายยาเสพติดใชบังคับแลว ทั้งสองขอหานี้สามารถนำมากำหนดโทษใหมไดเนื่องจากกฎหมายใหม เปนคุณตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 3 2) เมื่อมีการกำหนดโทษใหมแลวจะออกหมายจำคุกใด ระหวางหมายจำคุกระหวางอุทธรณฎีกา หรือหมายจำคุกคดี


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 23 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ถึงที่สุด กรณีนี้ที่ประชุมเสนอพิจารณาวาควรใหศาลออกเปนหมาย จำคุกคดีถึงท่ีสุด โดยกรณีนี้จะหารือไปยังสำนักงานศาลยุติธรรม อีกครั้งกอนแจงใหศาลทราบตอไป 3) โทษที่นำมาพิจารณาเพื่อกำหนดโทษใหมควรเปนอัตรา กอนลดโทษ หรืออัตราโทษที่ลดมาแลว กรณีนี้เห็นควรใหใชอัตรา โทษกอนลดมาพิจารณา ซึ่งเปนตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกา 4) กรณีที่มีการขอกำหนดโทษใหมแลวคดีถึงที่สุด เมื่อครบ 1 เดือนแลวไมมีการอุทธรณหรือฎีกา การออกหมายจำคุกคดีถึงที่สุด ตองยอนวันที่คดีถึงที่สุดไปตามหมายเดิม โดยใหหมายเหตุไวใน สำนวนดวย 5) อายุความของหมายจับที่เคยออกตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 เมื่อประมวลกฎหมายยาเสพติด ใชบังคับแลว โทษตามหมายจับบางเรื่องอาจขาดอายุความได ขอใหศาลออกหนังสือถึงสถานีตำรวจที่อยูในเขตอำนาจ แจงวา หากไมแนใจเกี่ยวกับอายุความของหมายจับใหเจาพนักงานตำรวจ สอบถามศาลกอนหรือใหตรวจสอบกอนจะออกหมายจับและขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาปฏิบัติตามประมวล กฎหมายยาเสพติด ประกอบกับแนวทางของสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 3 เพื่อใหการพิจารณาคดีเปนไปอยางถูกตองและ เปนแนวทางเดียวกัน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบขอสังเกตและปญหา ขอขัดของเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดียาเสพติดและ แจงแนวปฏิบัติเพื่อใหศาลดำเนินการ ดังนี้ 1) การปรับอายุความตามหมายจับ เดิมจะใชตามแนว คำพิพากษาศาลอุทธรณปรับวรรคชนวรรคและอายุความของ หมายจับทำใหเกิดปญหา เชน มาตรา 145 วรรคสาม มีอายุความ 30 ป ปรับเขาวรรคสองอายุความเหลือ 20 ป การปรับเขาวรรค สองเดิมจะมีอายุความ 30 ป อาจตองปรับอายุความตามหมายจับ แตเนื่องจากคำพิพากษาศาลฎีกา ท่ี272/2565 กำหนดแนวทาง ไมเปนไปตามแนวทางของศาลอุทธรณ ดังนั้นขอใหผูพิพากษา ชะลอการปรับอายุความเอาไวกอน 2) คดียาเสพติดที่ฟองเยาวชนหรือเด็ก เนื่องจากตามประมวล กฎหมายยาเสพติด มาตรา 145 วรรคสาม ไมตองสืบประกอบ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 24 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง และตามพระราชบัญญัติยาเสพติดมาตรา 4 ไมใหนำมาใชบังคับ เกี่ยวกับคดีของศาลเยาวชนและครอบครัว แตศาลเยาวชนและ ครอบครัวจะตองสืบประกอบตามหลักกฎหมาย ซึ่งคดีตาม ประมวลกฎหมายยาเสพติดมาตรา 145 วรรคสาม จะตองสืบ ประกอบ ขอใหผูพิพากษานำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญามาตรา 176 มาใชบังคับแทน และตองรายงานคดีและสงราง คำพิพากษาใหสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ตรวจกอนอาน 3) ปญหากรณีคดีถึงที่สุดแลวมีคำขอใหเพิ่มโทษ ขอให ผูพิพากษาปฏิบัติตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 943/2562 โดยใชมาตรา 3 อนุหนึ่ง แมวาคดีถึงที่สุดแลวก็สามารถปรับ แกไขโทษ คือ ปรับโทษกึ่งหนึ่งเปนหนึ่งในสามได 4) กรณีความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครอง เพื่อจำหนายกับพยายามจำหนาย ซึ่งกฎหมายเดิมขอหามีไว เพื่อจำหนายกับพยายามจำหนายถือวาเปนการฟองหลายกรรม แตเมื่อมีการแกไขกฎหมายยาเสพติดไดยกเลิกเรื่องการจำหนาย ขอใหผูพิพากษาแกไขความผิดจากหลายกรรมเปนความผิดกรรม เดียวฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพื่อจำหนายเทานั้น 5) เรื่องของโทษทนี่ำมาเปรียบเทียบ โดยใชการขอกำหนดโทษใหม ตามมาตรา 3 อนุหนึ่ง มีหลักสำคัญคือตองนำโทษตามขั้นสูง ตามกฎหมายที่แกไขใหมมาเปรียบเทียบกับโทษตามคำพิพากษา ถึงที่สุด หากโทษตามคำพิพากษาถึงท่สีุดไมหนักกวาโทษขั้นสูงกวา กฎหมายที่แกไขใหมในกรณีนี้ไมเขาเงื่อนไขในการขอแกโทษใหม หากเขาเงื่อนไขในกรณีคำพิพากษาถึงที่สุดหนักกวาโทษขั้นสูง ตามกฎหมายใหมจะปรับแกไขโทษใหมได และขอใหผูพิพากษา ใชดุจพินิจในการปรับแกไขโทษ หากปรับแกไขโทษรวมไปถึง การทำคำพิพากษาดวยควรมีเหตุผลที่ปรากฏอยางชัดเจน 6) การกำหนดโทษใหมในการออกหมายจำคุกเมื่อคดถีึงที่สุดแลว พบปญหาคือในคดีเกาๆ หมายจำคุกฉบับเดิมมีการอภัยโทษมาแลว หลายองคประกอบ จึงมีปญหาวาเรือนจำจะปฏิบัติอยางไร กรณีนี้ ขอใหผูพิพากษานำโทษจำคุกคดีถึงที่สุดแลวยกเลิกหมายจำคุกเกา แลวออกหมายจำคุกใหมแทนโทษที่กำหนดในครั้งแรก แลวคำนวณ ตามพระราชทานอภัยโทษในแตละครั้งมาเปนโทษที่เหลือนาจะ เปนทางแกไขปญหาใหทางเรือนจำได


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 25 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงขอสังเกตดังกลาวใหผูพิพากษา ทราบและนำแนวทางไปใชในการพิจารณาคดีและการจัดทำ คำพิพากษาในคดียาเสพติด เพื่อใหการพิจารณาคดีเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพและเปนแนวทางเดียวกัน ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบขอสังเกตเกี่ยวกับ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ปลดกัญชาออกจากการเปน ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ตามประกาศราชกิจจานุเบกษาวันที่ 9 กุมภาพันธ 2565 และมีผลใชบังคับนับตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ทำใหขอหาความผิดที่เกี่ยวกับกัญชาทั้งหมดไมเปน ความผิดอีกตอไป และตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 มีหลักกฎหมาย 3 ประการคือ 1) ถือวาจะไมเปนความผิดอีกตอ ไป 2) หากมีคำพิพากษาถึงที่สุดตองถือวาไมเคยมีคำพิพากษาดังกลาว จะสงผลตอกฎเกณฑเกี่ยวกับการรอการลงโทษ กฎเกณฑเกี่ยวกับ การเพิ่มโทษ บวกโทษ และ 3) หากคำพิพากษาถึงที่สุดแลวและ อยูระหวางการรับโทษอยูถือวาการรับโทษนั้นสิ้นสุดลง ขอให ผูพิพากษาแยกพิจารณาวาหากมีผูตองหาท่ีถูกฝากขังมีฐาน ความผิดกัญชาขอหาเดียว ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2565 ศาลตอง ออกหมายปลอยทั้งหมดโดยอางเหตุวาเนื่องจากมีกฎหมายยกเลิก ความผิด ไมมีอำนาจขัง สวนกรณีที่มีขอหากัญชารวมกับขอหาอื่น ก็ตองพิจารณาตอไป สำหรับคดีที่อยูระหวางการพิจารณาของ ศาลอุทธรณ ขอใหประสานเรือนจำตรวจสอบวามีผูตองหาที่อยู ระหวางพิจารณาของศาลอุทธรณที่ขังอยูในขอหากัญชาเพียงขอหา เดียวหรือไม หากมีใหรายงานไปยังศาลเพื่อออกหมายปลอยตอไป สวนคดีคางพิจารณาในขอหาที่เกี่ยวของกับกัญชาตองยกฟอง ทั้งหมด ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๕ ติดตามผลการบังคับใชประมวล กฎหมายยาเสพติดและรวบรวมปญหาขอขัดของ กรณีมาตรา 145 วรรคสาม ซึ่งมีอัตราโทษสูงถึงประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ควรที่จะสืบประกอบหรือไม และหากมีการเรียกสำนวนการ สอบสวนจากพนักงานอัยการมาแนบสำนวนเพื่อประกอบดุลพินิจ ในการพิพากษาคดีจะตองสงใหสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ตรวจหรือไม ซึ่งที่ประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 ไดจัดทำคูมือปฏิบัติ ราชการของตุลาการ สวนวิธีพิจารณาคดียาเสพติด เลม 4 (ฉบับ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 26 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ปรับปรุงแกไข พ.ศ. 2565) และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงใหผูพิพากษาดาวนโหลดคูมือมาใชเน่ืองจากสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 5 ก็จะใชคูมือดังกลาวเปนหลักในการตรวจ ใหเปนไปอยางถูกตอง รวมทั้งขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลเปน ผูพิจารณาวาจะตองสืบประกอบและสงสำนวนการสอบสวน ใหภาคตรวจอีกหรือไม แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบผลการดำเนินงานและ แนวทางการกำหนดโทษใหมในคดียาเสพติดสำหรับคดีถึงที่สุดแลว เมื่อประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 ใชบังคับ โดยสวนใหญ ศาลใชคำพิพากษาของศาลฎีกาเปนแนวทางในการดำเนินการ สำหรับการพิจารณาในกรณีเพิ่มโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติด มาตรา 97 เปลี่ยนเปนการเพิ่มโทษตามมาตรา 92 ของประมวล กฎหมายอาญาและกรณีตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ จากแยกเปนหลายกรรมเปลี่ยนเปนกรรมเดียวตามประมวล กฎหมายยาเสพติด สวนการสั่งยกคำรองใหดำเนินการในสวนที่ ไมมีผลตอการลดโทษ รวมทั้งขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจง ผูพิพากษาในศาลใหตรวจสำนวนคดีและพิจารณาสั่งคำรอง ใหถูกตอง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบขอสังเกตและปญหา ขอขัดของเกี่ยวกับการพิจารณาคดียาเสพติด และแจงแนวปฏิบัติ ดังนี้ 1) ปญหากรณีที่โจทกฟองจำเลยครอบครองยาเสพติด เพื่อเสพ โจทกฟองวาจำเลยมียาเสพติด 20 เม็ดไวในครอบครอง เพื่อเสพและจำเลยรับสารภาพ ขอใหผูพิพากษาลงโทษตามฟอง เนื่องจากไมมีกฎกระทรวงใหสันนิษฐานวามีไวในครอบครอง เพื่อเสพออกมาใหวินิจฉัยวาเปนความผิดมาตรา 164 และจำเลย รับสารภาพตรงตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 มาตรา 13 เวนแตในกรณีที่จำเลยใหการปฏิเสธวา มีครอบครองเพื่อเสพใหสืบพยานตอไป 2) คดีตามประมวลกฎหมายยาเสพติดมาตรา 145 วรรคสาม มีระวางโทษจำคุกตั้งแตหาปถึงจำคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต กรณีนี้แมจำเลยใหการรับสารภาพแลวไมตองสืบพยานประกอบ แตผูพิพากษาจะตองตั้งทนายความใหจำเลยตามประมวลกฎหมาย


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 27 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง วิธีพิจารณาความอาญามาตรา 173 วรรคหนึ่ง ซึ่งเปนบทบังคับ มิฉะนั้นถือวาไมชอบดวยกฎหมาย 3) ปญหากรณคีดีที่มีคำขอใหเพิ่มโทษ บวกโทษและนับโทษตอ เนื่องจากศาลชั้นตนจะมีแบบฟอรมที่จำเลยใหการรับสารภาพ ขอใหผูพิพากษาสอบจำเลยวาเปนบุคคลเดียวกันกับที่ใหเพิ่มโทษ บวกโทษและนับโทษตอหรือไม และในแบบฟอรมคำใหการ รับสารภาพนั้นใหใชคำวารับสารภาพตามฟองและปฏิบัติตาม คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8916/2552,4521/2561 และ 579/2562 4) ปญหาเรื่องของการกำหนดโทษใหมในคดีถึงที่สุดแลว กอนวันที่ 9 ธันวาคม 2564 กรณีการกำหนดโทษใหมคดีถึงที่สุด แลวมีการเพิ่มโทษกึ่งหนึ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดฯ มาตรา 97 ตองเพิ่มโทษ 1 ใน 3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 92 เมื่อมีการกระทำความผิดสองกรรมในเรื่องเดียว เนื่องจากเปน คำพิพากษาคดีถึงที่สุดแลว จึงไมเขาหลักเกณฑนำกฎหมาย เปนคุณตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 3 มาใช กรณีนี้มาตรา 3 ไมไดบอกวาใหใชกฎหมายเปนคุณซึ่งตีความไดวากำหนดโทษใหม ไดเทานั้น และไมสามารถแกไขคำพิพากษาในสวนอื่นๆ ที่วินิจฉัยไว ถูกแลวตามกฎหมายเกา สำหรับการกำหนดโทษใหมขอให ผูพิพากษาดูแตละขอหา วาเดิมเปนความผิดตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดฯ มาตรา 66 วรรคใด มาเทียบกับอัตราโทษตามประมวล กฎหมายยาเสพติด มาตรา 145 แบบวรรคชนวรรค และขอให ผูพิพากษาปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 548/2550 และ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2809/2556 โทษตามคำพิพากษา แตละกรรมหลังจากที่มีการเพิ่มโทษและลดโทษแลวเกินกวา โทษขั้นสูงตามกฎหมายใหมที่ใชบังคับภายหลังหรือไม ถาไมเกิน ก็ยกคำรอง ถาเกินก็กำหนดโทษใหมได สวนกรณีความผิดตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดฯ มาตรา 65 เรื่องการผลิตนำเขา โทษตามคำพิพากษาตามมาตรา 65 อาจหนักกวาโทษตาม กฎหมายใหมตามประมวลกฎหมายยาเสพติด มาตรา 145 ดังนั้น ถาความผิดตามมาตรา 65 วรรคหนึ่งและวรรคสอง สามารถ กำหนดโทษใหมไดโดยดูตามบัญชีอัตราโทษได แตความผิดตาม มาตรา 65 วรรคสามและวรรคสี่ เปนความผิดฐานผลิต โดยการ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 28 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แบงบรรจุหรือรวมบรรจุ ซึ่งกฎหมายใหมไมเปนความผิดอีกตอไป ขอใหผูพิพากษาปฏิบัติตามตัวอยางแบบคำสั่งในหนังสือของ สำนักงานศาลยุติธรรม ฉบับลงวันที่ 2 ธันวาคม 2564 5) เรื่องของคดียาเสพติดมีการระวางโทษ 3 เทา ในกรณีของ เจาพนักงานของรัฐสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ ตามกฎหมายเดิม จะมีพระราชบัญญัติยาเสพติด มาตรา 100 กับพระราชบัญญัติ มาตรการในการปราบปรามผูกระทำความผิด มาตรา 10 กำหนดให ระวางโทษเปน 3 เทา และมาตรา 12 กำหนดวา ในกรณีระวางโทษ 3 เทา ใหกำหนดโทษจำคุกสูงที่สุดไดไมเกิน 50 ป มาใชไดในฐานะ กฎหมายเปนคุณ เมื่อกระทำความผิดหลังวันที่ 9 ธันวาคม 2564 ในกรณีที่เปนเจาพนักงานของรัฐแลวมีการขอระวางโทษ 3 เทา ขอใหผูพิพากษาพิจารณาพิพากษาคดีเทียบเคียงเพิ่มโทษตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 51 ที่เขียนไววา เพิ่มโทษหามเกิน 50 ป และในกรณีความผิดหลายกรรมตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 (3) กำหนดวาโทษจำคุกรวมทุกกระทงแลว หามไมใหเกิน 50 ป หรือระวางโทษ 3 เทาเต็มอัตราเลยก็ไดและดูแนวตาม คำพิพากษาศาลอุทธรณว าวินจิฉัยอยางไรเพื่อใชเปนแนวทางตอไป 6) ปญหาเกี่ยวกับอายุความในคดียาเสพติดในความผิดที่มี การระวางโทษประหารชีวิตหรือจำคุกคลอดชีวิต เนื่องจาก กฎหมายยาเสพติดเปนกฎหมายพิเศษ ตามพระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 มาตรา 22 กำหนดไว เกี่ยวกับการระวางโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ใหมีอายุความ 30 ป กรณีนี้ขอใหผูพิพากษาขยายอายุความ ใหยาวกวาอายุความทั่วไปไมนำอายุความ 20 ป ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 95 มาบังคับใช 7) ปญหาเรื่องคดีกัญชา ขอใหผูพิพากษาหัวหนาถายเอกสาร หนังสือของสำนักงานศาลยุติธรรมเร่ืองวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยกเลิก กฎหมายกัญชาแจงใหผูพิพากษาในศาลทราบดวย 8) เรื่องของความผิดหลายกระทงและมีการลดโทษใหกึ่งหนึ่ง ขอใหผูพิพากษาปฏิบัติตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกาท่ีประชุมใหญ ที่ 2164/2561 โดยใหลดโทษกระทงละกึ่งหนึ่งกอนแลวคอยรวมโทษ ๙) กรณีการกระทำความผิดในระหวางที่กฎหมายใหม ยังไมใชบังคับใช ถาเปนคดีที่คางพิจารณาอยูในศาลแตไดพิจารณา


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 29 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง พิพากษาคดีตอนกฎหมายใหมใชบังคับ โจทกฟองตามกฎหมายเกา จะตองมีการแกฟองตามกฎหมายใหมหรือไม จากกรณีดังกลาว ผูพิพากษาไมตองแกฟองใหเปนไปตามกฎหมายที่แกไขใหม เนื่องจากนำกฎหมายที่เปนคุณมาใชตามคำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 110/2505 1๐) กรณีคดีที่โจทกฟองมาใหมแตคดีเกิดตอนกฎหมายเกา แตมาฟองหลังจากที่กฎหมายใหมใชบังคับจำเปนตองบรรยายฟอง สืบประกอบตามกฎหมายหรือไม จากกรณีดังกลาวโดยหลัก โจทกไมตองบรรยายฟองสืบประกอบตามกฎหมายใหม 1๑) การสืบพยานรับสารภาพแลว ตอมากฎหมายแกไขใหม ไมตองสืบพยาน ปญหาที่เกิดขึ้นคือศาลจะใชพฤติการณอะไร มาลงโทษและความผิดจะเขาวรรคสองหรือวรรคสาม ผูพิพากษา เจาของสำนวนควรจะสงเอกสารเขามาประกอบการพิจารณา โดยสงทั้งสำนวนหรือสงเฉพาะสวนที่เกี่ยวของที่ใชในขอเท็จจริง ของสำนวนนั้นๆ เพื่อนำมาใชในการเขียนคำพิพากษาที่เกี่ยวกับ พฤติการณ 1๒) กรณีการฟองคดียาเสพติดตามกฎหมายใหม เมื่อสอบ คำใหการจำเลยแลว จำเลยใหการรับสารภาพแตพฤติการณไมได เปนเชนน้ัน เชน จำเลยรับสารภาพวาขายจริงแตไมไดเพื่อการคา จะสามารถพิพากษาคดีไดเลยหรือตองมีการนัดสืบพยาน ถากรณี มียาเสพติดจำนวนมาก ขอใหผูพิพากษาดูของกลางในคดีถามี ของกลาง เชน ถุงพลาสติกแบงบรรจุเครื่องชั่ง โทรศัพทมือถือ ในกรณีนี้อาจนำมาใชประกอบพฤติการณไดอีกทั้งใหแยกสวนท่ี จำเลยรับสารภาพใหดูตามฟองวาจำเลยผิดวรรคไหนก็ลงโทษ ตามวรรคนั้น เวนแตจำเลยไมยืนยันตามฟองตองนัดสืบพยาน โดยไมตองสงรางคำพิพากษาใหสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 7 ตรวจกอนอาน เวนแตจำเลยรับสารภาพแลวเห็นวาฟองไมถูกตอง จะตองยกฟอง ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงขอสังเกตดังกลาวใหผูพิพากษา ทราบและนำไปปฏิบัติใหเปนแนวทางเดียวกัน หากปญหาเรื่องใด ที่ยังไมไดขอยุติ ขอใหผูพิพากษาในศาลปรึกษาผูพิพากษาหัวหนาศาล หรือปรึกษารองอธิบดีผูพิพากษาภาค 7 ท่กีำกับดูแล (


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 30 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบขอสังเกตและแจงแนว ปฏิบัติเพื่อใหศาลดำเนินการ ดังนี้ ๑) การพิจารณากำหนดโทษใหมใหผูพิพากษาหัวหนาศาล พิจารณาตั้งตนจากคำรองกอน โดยคำรองขอกำหนดโทษใหม ตองเปนกรณีที่คำพิพากษาคดีถึงที่สุดแลว และตองยื่นตามลำดับ ชั้นศาล เมื่อจำเลยยื่นคำรองตอศาลชั้นตน ขอใหผูพิพากษา ศาลชั้นตนพิจารณาสั่งคำรองไปกอนโดยไมตองรอคำพิพากษา ศาลฎีกา ตอมาหากศาลฎีกากำหนดโทษต่ำกวาก็ถือวาเปนคุณ แกจำเลย ถาศาลสั่งสูงกวาศาลฎีกาอาจจะเปนเพราะวาลักษณะ แหงคดีมีผลตอจำเลยที่ 1 ดวย (2/65) ๒) ปญหาเกี่ยวกับการกำหนดโทษใหมตามประมวลกฎหมาย ยาเสพติดจากศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 8 โดยพบวา ผูพิพากษากำหนดโทษตามประมวลกฎหมายยาเสพติดแตกตางกัน ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษาทราบวาการกำหนด โทษใหมในคดียาเสพติด ถาโทษตามคำพิพากษาที่กำหนดไวสูงกวา โทษขั้นสูงตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ควรแกไขกำหนดโทษ ใหม ยกเวนโทษตามคำพิพากษาที่กำหนดไวไมสูงกวาโทษขั้นสูง ตามประมวลกฎหมายยาเสพติดควรยกคำรอง และปฏิบัติตาม แนวทางการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณเปนหลัก แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบผลการดำเนินงาน การกำหนดโทษใหมในคดียาเสพติดใหโทษ หลังจากประกาศใช ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 พบวาในภาพรวม ศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 9 มีการยื่นคำรอง ขอกำหนดโทษใหมเปนจำนวนมาก โดยศาลสวนใหญใชวิธีบริหาร จัดการคดีดวยการใหปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และคาดวา จะสามารถบริหารจัดการคำรองขอใหกำหนดโทษใหมใหแลวเสร็จ ภายในเดือนเมษายน 2565 สำหรับการออกหมายคดีถึงที่สุด หลังทำคำสั่ง ขอใหศาลจังหวัดยะลาลงแนวปฏิบัติที่หารือกับ สำนักงานศาลยุติธรรมในไลนกลุม อ.ก.บ.ศ. เพื่อใหศาลอื่นๆ นำไป ปฏิบัติเปนแนวทางเดียวกัน( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบปญหาขอขัดของเกี่ยวกับ การพิจารณาคดีความผิดเกี่ยวกับพืชกัญชาตามประมวลกฎหมาย ยาเสพติด มีการเอาความผิดเกี่ยวกับกัญชาไปปะปนกับความผิด


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 31 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ขอหาอื่น และกรณีจำเลยตองขังในคดีที่มีกัญชาปริมาณมาก ขอใหศาลประชาสัมพันธเรื่องกฎหมายใหมเกี่ยวกับยาเสพติดใหแก เรือนจำ สภาทนายความ อัยการ สถานที่ตำรวจและผูที่เกี่ยวของ ทราบวาหากมีโทษเกี่ยวกับกัญชาขอใหยื่นคำรองไปยังศาลและ ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงขอสังเกตดังกลาวใหผูพิพากษา ในศาลทราบและนำไปปฏิบัติใหเปนแนวทางเดียวกัน ตลอดจน ปฏิบัติตามแนวทางของแผนกคดียาเสพติดในศาลอุทธรณ ขอ 3.3 คดียาเสพติดที่นัดฟงคำพิพากษาศาลอุทธรณตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน 2565 เปนตนไป หากโจทกบรรยายฟองวากอนคดีนี้ จำเลยเคยตองพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจำคุกในความผิดเกี่ยวกับ กัญชามากอนอันเปนเหตุเพิ่มโทษหรือไมรอการลงโทษหรือเคย ตองคำพิพากษาถึงที่สุด ใหลงโทษจำคุกในความผิดกัญชาแตศาล ไดรอการลงโทษไว แลวจำเลยกลับมากระทำผิดคดีนี้อีกภายใน เวลาที่รอการลงโทษในคดีดังกลาวก็ถือวาจำเลยไมเคยตอง คำพิพากษาวาไดกระทำความผิดนั้น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคสอง จึงไมอาจอางคดีความผิดเกี่ยวกับกัญชา เปนเหตุเพิ่มโทษ บวกโทษ ใหรอการลงโทษหรือนับโทษตอไปไดอีก 1๐. โครงการยกระดับการยกรางคำพิพากษาใหมีมาตรฐาน ตามวิชาชีพและมาตรฐานสากลทางวิชาการของศาลในเขต อำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบรายละเอียดโครงการ ยกระดับการยกรางคำพิพากษาใหมีมาตรฐานตามวิชาชีพ และมาตรฐานสากลทางวิชาการ ซึ่งเปนโครงการขับเคลื่อน นโยบายของอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 โดยไดแตงตั้งคณะทำงาน จากผูพิพากษาทั้ง 26 ศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 เปนตัวแทน และแตงตั้งณะกรรมการเครือขายวิชาการประกอบดวย อาจารยจากมหาวิทยาลัยตางๆ สถานทูตและมูลนิธิที่เกี่ยวของ เพื่อยกระดับการยกรางคำพิพากษาใหมีมาตรฐานตามวิชาชีพและ มาตรฐานสากลทางวิชาการของศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษา ภาค 5 ตลอดจนจัดทำคูมือในเรื่องตางๆ เกี่ยวกับการพิจารณาคดี เชน การรับฟงพยานฐานหลักฐาน การวินิจฉัยคำพิพากษาและ การมีอคติหรือมีความเอนเอียงในเรื่องตางๆ เพื่อใหศาลนำไปใช ใหเปนแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ยังไดทราบปญหาที่พบในศาล


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 32 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี เชน การยกรางคำพิพากษา หลักการเขียนและการใหเหตุผลในคำพิพากษา ระยะเวลาในการ ทำสำนวนชันสูตรพลิกศพ โดยไดรวมกันหาแนวทางจาก การ Workshop และงานวิจัยเพื่อใหการดำเนินการเปนไป อยางถูกตอง มีมาตรฐาน สามารถใชเปนแนวทางเดียวกันในการ พิจารณาพิพากษาคดีใหมีประสิทธิภาพและเปนธรรม ( 1๑. แนวทางการกำหนดรูปแบบวินิจฉัยรางคำพิพากษาของ ศาลชั้นตน แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบปญหาเกี่ยวกับการเขียน คำพิพากษาของผูพิพากษาศาลชั้นตนจากขอสังเกตของผูพิพากษา ศาลสูง พบวาคำพิพากษาที่ผูพิพากษาศาลชั้นตนเขียนไมเปนไป ตามรูปแบบที่ถูกตอง ซึ่งเปนลักษณะการนำคำพิพากษาหรือ คำเบิกความของพยานมาเรียงกัน สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 8 จึงไดจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกบัรูปแบบการเขียนคำพิพากษาใหแก ศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 8 พรอมยกตัวอยาง การเขียนคำพิพากษารูปแบบการเลาเรื่อง และขอใหผูพิพากษา หัวหนาศาลกำกับดูแลผูพิพากษาในศาลใหปฏิบัติตามรูปแบบ เพื่อใหการเขียนคำพิพากษาเปนไปอยางถูกตอง ๑๒. แนวปฏิบัติกรณีผูพิพากษาซึ่งพิพากษาหรือทำคำสั่งใดๆ แตไมสามารถลงลายมือชื่อในคำพิพากษาหรือคำสั่ง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๒ รับทราบปญหาขอขัดของกรณี ชวงเวลาที่มีการโยกยายของผูพิพากษาจะมีคดีที่เจาของสำนวน และองคคณะพิจารณาเสร็จสิ้นแลว ซึ่งองคคณะไดทำการ ปรึกษาคดีและทำคำพิพากษาหรือคำสั่งแลว แตกอนจะมีการอาน คำพิพากษาหรือคำสั่ง องคคณะไดยายไปรับตำแหนงในศาลอื่น ทำใหไมสามารถลงชื่อในคำพิพากษาหรือคำสั่งได ซึ่งปจจุบัน แตละศาลมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการลงชื่อที่แตกตางกัน จึงให ผูพิพากษาปฏิบัติตามแนวทางคือ กรณีที่ผูพิพากษาไดจัดทำ คำพิพากษาเสร็จ และมีการลงลายมือชื่อในรางคำพิพากษาแลว ใหใชกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 141 คือ ใหองคคณะ รับรองได สวนกรณีที่ยังทำไมเสร็จขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล ปรึกษาคดีและพิจารณาวารางคำพิพากษาจะเปนอยางไร แลวจึง ปฏิบัติตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 29 หากศาลใด


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 33 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง มีขอขัดของขอใหหารือไปยังสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 2 1๓. ขอหารือเรื่องการแจงสิทธิรับเงินกลางจากศาล แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๘ พิจารณาขอหารือเกี่ยวกับการแจง สิทธิรับเงินกลางจากศาล กรณีเงินคาฤชาธรรมเนียมใชแทนคางอยู ที่ศาล หากผูรับมอบฉันทะหรือทนายความลงลายมือชื่อทราบ คำพิพากษาหรือคำสั่งในวันที่ศาลมีคำสั่ง ถือวาคูความหรือผูมีสิทธิ ไดรับเงินคืนนั้นรับทราบหรือไม ที่ประชุมคณะอนุกรรมการบริหาร ศาลยุติธรรมประจำภาค 8 ขอใหศาลปฏิบัติตามหนังสือสำนักงาน ศาลยุติธรรมที่ ศย 016/6475 (ป) ลงวันที่ 29 เมษายน 2565 เรื่องตอบขอหารือการที่ผูรับมอบฉันทะหรือเสมียนทนายความ ลงชื่อรับทราบคำพิพากษาหรือคำสั่งในวันที่ศาลมีคำสั่งแลว ยอมถือวาทนายความรับทราบแลวและตัวความรับทราบดวย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1 (11) และ มาตรา 70 (2) ถือวาคูความไดรับทราบคำสั่งที่สั่งใหคืนคาฤชา ธรรมเนียมใชแทนแลว หากศาลมีเหตุผลสมควรเชื่อวาคูความที่มี สิทธิไดรับเงินยังไมไดทราบคำสั่ง ก็อาจใชดุลยพินิจแจงอีกครั้งก็ได ถือวาเปนดลุยพินิจตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่6970/2554 ( 1๔. ขอหารือเกี่ยวกับการบังคับคดีผูประกันผิดสัญญาในคดี พืชกระทอม แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบขอหารือเกี่ยวกับการ บังคับคดีผูประกันในคดีพืชกระทอมกรณีจำเลยในฐานะผูผิดสัญญา ประกันและศาลปรับแลว ตอมามีกฎหมายยกเลิกความผิดนั้น จำเลยในฐานะผูประกันยังคงมีความผูกพันตองรับผิดตามสัญญา ประกันและศาลสามารถบังคับตามสัญญาประกันไดจนกวาจะครบ ระยะเวลาการบังคับคดีหรือไม โดยที่ประชุมคณะอนุกรรมการ บริหารศาลยุติธรรมประจำภาค 8 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงผูพิพากษาในศาลใหปฏิบัติตามแนวทางของสำนักงาน ศาลยุติธรรมเกี่ยวกับการบังคับคดีผูประกันผิดสัญญาในคดี พืชกระทอมวาถึงแมกฎหมายจะยกเลิกความผิดแลวก็ยังสามารถ บังคับตามสัญญาประกันได ตราบใดที่ผูประกันไมสงตัวผูตองหา หรือจำเลยตอศาลก็ตองถือวา ยังคงผิดสัญญาประกันแตศาลอาจมี เหตุใหงดหรือลดคาปรับได สวนขอหารือแนวทางในการจายเงิน สินบนรางวัลและคาใชจายในการดำเนินงาน สำนักงานศาลยุติธรรม


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 34 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ไดตอบขอหารือของสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๘ แลว ตามหนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ศย ๐๑๖/๒๕๖๕ ลงวันท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๕ ๑๕. แนวทางปฏิบัติงานการบังคับคดีผูประกันในคดีอาญา แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๒ รับทราบกรณีสำนักงานศาลยุตธิรรม มีหนังสือดวนที่สุดที่ ศย 024/ว 146 (ป) ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เกี่ยวกับปญหาศาลมีสำนวนคดีบังคับผูประกันคางอยู จำนวนมาก พรอมแจงขอสังเกตและแนวทางการแกไขปญหา เกี่ยวกับการตั้งสำนวนบังคับคดีผูประกัน ระยะเวลาในการบังคับคดี และขั้นตอนการปฏิบัติงานระหวางศาลกับเจาพนักงานบังคับคดี และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงผูพิพากษาปฏิบัติตามแนวทาง และขอแนะนำของสำนักงานศาลยุติธรรมเพื่อใหการบังคับคดี ผูประกันเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ศาลอาจตั้งผูพิพากษา ที่มีอาวุโสสูงสุดซ่ึงมีประสบการณและมีดุลพินิจในการพิจารณา สั่งคำรองคำขอตางๆ เปนผูดำเนินการเพื่อใหเกิดความถูกตองรวดเร็ว 1๖. ขอหารือเกี่ยวกับการโอนคดีตามพระราชบัญญั ติ ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 97 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 พิจารณาขอหารือเกี่ยวกับการ โอนคดีตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 97 วา ควรจะโอนคดีอาญาไปพิจารณาที่ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดี ธรรมดาหรือไม เพื่อใชเปนแนวทางเดียวกันมาตรฐานเดียวกัน ทั้งภาค ซึ่งที่ประชุมเห็นควรใหศาลเยาวชนและครอบครัวพิจารณาคดี ตอไปโดยไมตองโอนคดีใหศาลจังหวัด ( 1๗. ขอหารือเกี่ยวกับการขอออกหมายจับกรณีผูกระทำ ความผิดตามกฎหมายจราจร แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 พิจารณาขอหารือกรณีการ ออกหมายจับผูกระทำผิดตามพระราชบัญญัติจราจร เชน ตำรวจ ไดตรวจจับความเร็วของผูขับขี่และมีหมายเรียกใหเจาของรถ ไปชำระคาปรับแตเจาของรถไมไปชำระคาปรับ ทางตำรวจจึงไดมี แนวคิดที่จะออกระเบียบมาเพื่อเปนการบังคับใหเจาของรถไป ชำระคาปรับ โดยการขอศาลออกหมายจับ กรณีดังกลาวหาก


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 35 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ตำรวจขอออกหมายจับ ศาลควรจะออกหมายจับหรือไม เนื่องจาก การออกหมายจับเปนอำนาจตุลาการ โดยมีขอสรุปเบื้องตนวา การจะออกหมายจับหรือไมเปนดุลยพินิจของผูพิพากษา ซึ่งตองใช ดุลยพินิจอยางรอบคอบและดูรายละเอียดหลายอยาง ที่ประชุม เห็นวายังไมสมควรออกหมายจับ เนื่องจากโทษการขับรถเร็ว เปนโทษเล็กนอย 1๘. แนวทางพิจารณาเก่ียวกับการกำหนดอัตราดอกเบี้ยตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 224 ที่แกไขใหม แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 พิจารณาการกำหนดอัตราดอกเบี้ย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย พ.ศ. 2564 ที่แกไขใหม ซึ่งศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 8 สวนใหญมีการกำหนด เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยตามประกาศกระทรวงการคลังแลว แตมีบางศาลที่ยังไมไดกำหนด จึงเห็นควรใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงใหผูพิพากษาศึกษารายละเอียดและกำหนดอัตราดอกเบี้ย ในแนวทางเดียวกันตามประกาศกระทรวงการคลัง ( ๑๙. ขอหารือเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบขอสังเกตเกี่ยวกับกฎหมาย พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 63 เร่ืองนำพา หรือชวยเหลือคนตางดาวเขามาในราชอาณาจักร มีระวางโทษ จำคุกไมเกิน 10 ป และปรับไมเกิน 10,000 บาท ทำไมอัตราโทษ บางกรณีมีปรับอยางเดียว ไมใชลงโทษจำคุกทั้ง ๆ ที่กฎหมาย กำหนดโทษจำคุกและปรับ ซึ่งกรณีดังกลาวขอใหผูพิพากษาปฏิบัติ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 20 บัญญัติวา บรรดาความผิด ที่กฎหมายกำหนดใหลงโทษทั้งจำคุกและปรับดวยนั้น ถาจะจำคุก อยางเดียวก็ไดแมจะเขียนวา “และ” นั้นก็หมายถึงกฎหมายให ทั้งสองอยาง สวนมาตรา 55 หากเขาหลักเกณฑมาตรา 55 ใหเขียน คำพิพากษาใหเขาหลักเกณฑและเขียนบอกวาใหยกโทษจำคุก 2. เสนอความเห็นตออธิบดี ผู พิ พ า ก ษ า ภ า ค ใน ก า ร สั่ ง ให ผูพิ พ ากษาคน ใดคนหนึ่ง ในศาลในเขตอำนาจของอธิบดี ผู พิ พ า ก ษ า ไป ช ว ย ท ำ งา น ชั่วคราวในอีกศาลหนึ่งตาม ๑. ปญหาอัตรากำลังขาราชการตุลาการศาลยุติธรรม แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบประเด็นปญหาขอขัดของ ของศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค ๑ ดังนี้ 1) อัตรากำลังผูพิพากษาและเจาหนาที่ไมสมดุลกับปริมาณคดี (Workload) เชน ศาลเยาวชนและครอบครัวถูกลดกรอบอัตรากำลัง ลงแตปริมาณคดมีีแนวโนมเพิ่มขึ้น


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 36 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง พ ระธรรม นู ญ ศ าลยุ ติ ธรรม มาตรา 14 (2) 2) หลักเกณฑการโยกยายผูพิพากษามีการปรับบอย ควรปรับ หลักเกณฑการโยกยายของผูพิพากษาใหมีความเหมาะสมโดย ระดมความคิดเห็นจากผูพิพากษาทั่วประเทศ 3) ควรกำหนดกรอบอัตรากำลังผูพิพากษาที่เหมาะสมและ แตงต้ังใหครบถวน เชน ตำแหนงรองอธิบดีผูพิพากษาศาลแรงงาน และการจัดต้งัศาลเยาวชนและครอบครัวภาค เปนตน กรณีนี้สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดแจงหนวยงาน ที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สำนักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม เพื่อพิจารณาดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบประเด็นปญหาขอขัดของ ของศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 6 ดังนี้ ๑) ศาลจังหวัดสวรรคโลก ขออัตรากำลังผูพิพากษาหัวหนา คณะชั้นตน จำนวน 1 อัตรา เนื่องจากปจจุบันมีขาราชการตุลาการ รวมผูพิพากษาหัวหนาศาล จำนวน 6 อัตรา ทำใหมีขอขัดของในการ จัดองคคณะผูพิพากษา การจายสำนวน และการพิจารณาคดี ตอเนื่องและครบองคคณะ เนื่องจากบางวันมีการพิจารณาเวรช้ี หากนั่งพิจารณาคดีคนเดียวก็อาจจะถูกรองเรียน เบื้องตนอธิบดี ผูพิพากษาภาค 6 ไดใหนายอนันต บุญแยม ผูพิพากษาหัวหนาศาล ประจำสำนักงานอธิบดีผพูิพากษาภาค 6 ไปชวยราชการที่ศาลจังหวัด สวรรคโลก ตั้งแตวันที่ 23 สิงหาคม 2565 2) ศาลแขวงพิษณุโลก ขออัตรากำลังผูพิพากษา 2 อัตรา เนื่องจากปจจุบันมีขาราชการตุลาการ รวมผูพิพากษาหัวหนาศาล จำนวน 6 อัตรา แตมีปริมาณคดีเพิ่มมากขึ้นทุกป ปริมาณคดี ไมสมดุลกับปริมาณผูพิพากษา (1 คนตอ 1,000 คดี ตอ 1 ป) ๓) ศาลจังหวัดอุตรดิตถและศาลจังหวัดกำแพงเพชรมีสถิติคดี เฉลี่ย 3 ปไมนอยกวา 3,000 คดีอยูในเกณฑท่ีจะจัดตั้ง ศาลแขวงได จึงขอใหสำนักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม พิจารณาเพิ่มอัตรากำลังผูพิพากษาในศาลจังหวัดอุตรดิตถและ ศาลจังหวัดกำแพงเพชร เพื่อแกปญหาปริมาณคดีที่เกินมาตรฐาน การทำงานของผูพิพากษาอีกทางหนึ่ง ในการนี้ สำนักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดแจงหนวยงาน ที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สำนักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม เพื่อพิจารณาดำเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 37 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง 3. วางระเบียบหรือมีมติในการ บริหารงานธุรการของศาลเพื่อ สนับสนุนใหการพิจารณาคดี ในเขตอำนาจอธิบดีผพูพากษาภาคิ มีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิด ความ สะดวกรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งจัดให มี ร ะ บ บ ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ประเมินผลการปฏิบัติงานให เปนไปตามแนวนโยบายของ ประธานศาลฎีกา 1. การประสานการปฏิบัติงานระหวางศาลอุทธรณภาค กับศาลชั้นตนในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบปญหาขอขัดของในการ พิจารณาคดีและการปฏิบัติงานกับศาลอุทธรณภาค 3 ดงันี้ 1) สงสำนวนคดีผิดศาล คือสงสำนวนคดีที่ไมอยูในเขตอำนาจ ของศาลอุทธรณภาค 3 เชน คดียาเสพติด ไปยังศาลอุทธรณภาค 3 2) เรียกคาธรรมเนียมศาลไมครบถวนหรือไมถูกตองและ บัญชีคาฤชาธรรมเนียมไมลงรายการหรือลงรายการไมครบถวน 3) สงคดีท่ียังไมครบเวลาขยายอุทธรณของคูความหรือ สงคดีที่ยังไมครบระยะเวลาแกอุทธรณ 4) ในคดีอาญาศาลชั้นตน ไมไดสงสำเนาอุทธรณใหแกโจทกรวม หรือผูรองเพื่อแกอุทธรณ รวมถึงในชั้นไตสวนมูลฟองไมปรากฏ รายงานผลการสงสำเนาอุทธรณใหจำเลยทราบในสำนวน 5) เอกสารในสำนวนไมครบถวน เอกสารแยกเก็บไมครบตามที่ ระบุในสารบาญและไมจัดสงเอกสารแยกเก็บมาพรอมสำนวน ไมสงสำนวนที่ศาลชั้นตนมีคำสั่งใหนำมาผูกรวมเพื่อประกอบ การพิจารณา รวมถึงสำนวนคดีที่มีการแยกสงเฉพาะอุทธรณ และกากสำนวนคดีที่เกี่ยวของไมครบถวน 6) ไมจัดสงไฟลคำพิพากษาของศาลชั้นตนหรือจัดสงมา ไมตรงกับสำนวนคดีที่สงมา 7) ไมตรวจสอบวาใบอนญุาตวาความของทนายความหมดอายุ 8) สำนวนคดีที่ยื่นฟองผานระบบ e-filing ไมไดมีการพิมพ เอกสารทายฟองที่ยื่นมาในระบบเขาสูสำนวนคดี และไมมีสำเนา บัตรประจำตัวทนายความแนบสำหรับตรวจสอบวาไดรับอนุญาต ใหวาความจากสภาทนายความหรือไม 9) สำนวนที่มีความหนาเกินหมุด 3 นิ้วไมควรตอหมุดเพิ่ม ควรใชหมุดยาว หรืออาจแยกออกเปนตอนๆ เพื่อใหสามารถเปด อานเพื่อตรวจสำนวนได 10) ไมแจงผลการอานคำพิพากษาศาลอุทธรณภาค 3 หรือ แจงการอานลาชา 11) การเขียนวินิจฉัยไว แตเมื่อถึงทอนพิพากษา ไมมีการ กลาวถึง 12) กรณีมาตรา 44/1 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 38 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ฟองขอดอกเบี้ยคาสินไหมทดแทนนับแตวันทำละเมิด ศาลวินิจฉัย ใหตามฟอง แตพิพากษาใหตั้งแตวันฟอง 13) การสงสำเนาอุทธรณ ศาลไมไดสั่งปดหมายแตเจาหนาที่ ไปปดหมาย 14) ความผิดตอพระราชกำหนดในสถานการณฉุกเฉิน บางครั้งมีการพิพากษาความผิดที่ไมไดฟองมาดวย เชน ในเนื้อหา คำฟองนั้นไมมีพระราชบัญญัติการพนัน แตคำพิพากษากลับมี พระราชบัญญัติการพนันมาดวย 15) อุทธรณคดีตองหามแตศาลชั้นตนรับอุทธรณ โดยขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลและผูอำนวยการกำกับดูแลและ แจงผูพิพากษาและเจาหนาที่ผูรับผิดชอบทราบขอสังเกตของศาล อุทธรณภาค 3 และตรวจสอบการปฏิบัติงานใหละเอียดรอบคอบ เพื่อใหเปนไปตามระเบียบหรือกฎหมายใหถูกตองครบถวน ( 2. การประชุมประสานงานหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ในภาค 5 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบขอมูลเกี่ยวกับความรวมมือ ระหวางศาลกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมเพื่อเปนการเสริม ประสิทธิภาพในการทำงานของศาลในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษา ภาค 5 มี ดังนี้ 1) การสนับสนุนการพิจารณาคดีในระบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งหนวยงาน เชน สำนักงานอัยการ สถานีตำรวจและสำนักงาน ทนายความ เห็นตรงกันวาควรใหมีการพิจารณาคดีทางระบบ อิเล็กทรอนิกสใหมากขึ้น เชน คดีไตสวนชันสูตรพลิกศพ คดีไตสวน ผูจัดการมรดกขอใหพิจารณาคดีในระบบอิเล็กทรอนิกสทั้งหมด สวนการพิจารณาคดีสองฝาย สำนักงานอัยการขออนุญาตสงสำเนา เอกสารที่รับรองถูกตองแลวแทนตนฉบับไดหรือไม เพื่อลดปญหา เรื่องการขอคืนหรือสงเอกสารตนฉบับ เนื่องจากคดีสองฝาย จะมีปญหาเรื่องจำนวนเอกสารท่มีีปริมาณมาก หากเปนไปไดขอให ศาลหาวิธีการในการสืบพยานในการพิจารณาคดีในระบบ อิเล็กทรอนิกสใหสั้นที่สุด รวมทั้งขอใหมีการปรับปรุงหองพัก ของทนายความในการพิจารณาคดีใหมีความเหมาะสมมากขึ้น 2) การแจงปญหาขอขัดของทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำ สำนวนไตสวนชันสูตรพลิกศพ เพื่อใหทุกฝายดำเนินการใหเปนไป


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 39 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ตามกรอบระยะเวลาของกฎหมาย เบื้องตนทางอัยการและ พนักงานสอบสวนจะดำเนินการใหเปนไปตามกรอบใหมากยิ่งขึ้น ในสวนเหตุที่ผานมาไมไดเปนตามกรอบ เนื่องจากบางเรื่องอาจตอง มีการสั่งสอบเพิ่มเติมหรือตองสงไปยังศูนยชันสูตรพลิกศพ สวนกลางของสำนักงานอัยการสูงสุดอีกชั้นหนึ่ง 3) แนวทางการพิจารณาคดียาเสพติด สวนใหญมีขอกังวลเรื่อง ผูตองหายื่นคำรองขอใหกำหนดโทษใหมตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 3 ที่มีปริมาณคอนขางมากและมีแนวโนมมากขึ้น เบื้องตนทางสำนักงานอัยการยังไมมีแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจนรวมถึง ในสวนที่จะตองสงผูเสพเขาสูกระบวนการบำบัดทางสาธารณสุข จังหวัดก็ยังคงตองรอประกาศของสำนักงานสาธารณสุขเชนกัน 4) ไดรับคำแนะนำจากนายแพทยสาธารณสุขเกี่ยวกับ Covid Free Setting วาทุกคนในองคกรควรไดรับวัคซีนใหครบถวน คนใดที่ไมรับการฉีดวัคซีนควรตองตรวจ ATK อยางนอยที่สุด 72 ชั่วโมงกอนเขาศาล 5) ขอความรวมมืออัยการเกี่ยวกับกรณีเวรชี้ ขอใหอัยการ สงสำเนาคำฟองมากอนฟองจริง ผูพิพากษาจะไดตรวจสอบ ขอกฎหมายเพื่อลดความผิดพลาดในการพิจารณาคดี 6) เรือนจำขอความรวมมือ ใหศาลสงตัวแทนเขาพิจารณากรณี ที่มีการพระราชทานอภัยโทษภายในกำหนดระยะเวลาตามกฎหมาย 7) การพิจารณาคดี Night Court บางคดีทนายความกับ ลูกความสามารถตกลงกันไดและขอทำยอมกอนวันนัดแตเจาหนาที่ ใหมาในวันนัด Night Court ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจง ผูพิพากษาในศาล หากคูความทำยอมเมื่อไรตองใหความสะดวก แมเปนคดีอยูในโครงการ Night Court ก็ใหสามารถทำยอม กอนวันนัดได 8) สำนักงานคุมประพฤติขอความรวมมือในการนัดพรอมหรือ การสงเอกสารระหวางศาลกับพนักงานคุมประพฤติ ขอใหใชระบบ QR Codeเพื่อความสะดวกหรือกรณีที่มกีารสั่งใหสืบเสาะคุมประพฤติ ขอใหเจาหนาที่หนาบัลลังกชวยกำชับจำเลยกรอกขอมูลและ ใหจำเลยไปพบพนักงานคุมประพฤติหลังจากศาลมีคำสั่งดวย 9) สำนักงานบังคับคดีขอความรวมมือขอใหศาลระบุหมายเลข บัตรประจำตัวประชาชนของลูกหนี้ตามคำพิพากษาในหมาย


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 40 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง บังคับคดีดวย เพื่อปองกันความผิดพลาดในการยึดทรัพยลูกหน้ี ที่มีชื่อ-นามสกุลซ้ำกัน โดยขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงผูพิพากษาในศาลทราบและ ใหความรวมมือกับหนวยงานตางๆ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการ ทำงานรวมกันมากยิ่งขึ้น โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 จะทำสรุปประเด็นที่หนวยงานตางๆ ขอความรวมมือไปยังศาล ในเขตอำนาจอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ทราบตอไป ๓. แนวทางปฏิบัติงานของศูนยประสานงานเจาพนักงานตำรวจ ศาลประจำสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 (CMC : 3) ดานการจับกุมของเจาพนักงานตำรวจศาลในภาค 3 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๓ รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของ ศูนยประสานงานเจาพนักงานตำรวจศาลประจำสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 3 โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 ไดจัดตั้ง ศูนยประสานงานเจาพนักงานตำรวจศาลขึ้น เพื่อแกไขปญหาสถิติ การจับกุมตามหมายจับของศาลทำไดนอย โดยมีหมายจับคางอยู จึงเห็นควรใหเจาพนักงานตำรวจศาลประจำสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 3 เขาไปชวยจับกุมตามหมายจับในจังหวัดตางๆ โดยกอนดำเนินการจะมีการประสานงานแจงผูพิพากษาหัวหนาศาล ในพื้นที่ทราบเพื่ออนุญาตและใหนำเจาพนักงานตำรวจศาลของ ศาลเขารวมจับกุมดวย และขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลใหความรวมมือ ในการลดจำนวนหมายจับที่ยังคางอยูในแตละศาล และสนับสนุน การดำเนินงานของศูนยประสานงานเจาพนักงานตำรวจศาลประจำ สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 ตอไป ( ๔. ขอหารือการขึ้นทะเบียนผูประกันอาชีพ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๔ พิจารณาขอหารือกรณีศาลจังหวัดเลย ไดประกาศขึ้นทะเบียนขาราชบำนาญรายหนึ่งเปนผูประกันอาชีพ จึงหารือวาการขึ้นทะเบียนขาราชการที่เกษียณอายุราชการแลว จะสามารถทำไดหรือไม ซึ่งที่ประชุม อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 ขอใหศาล ปฏิบัติตามแนวทางของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวย การปองกันเจาหนาที่ของรัฐมิใหเกี่ยวของกับยาเสพติด พ.ศ. 2542 ขอ 12 (5) กำหนดวาหากเจาหนาท่ีของรัฐผูใดเปนผูประกัน ผูตองหาหรือจำเลยโดยใชหลักทรัพยหรือสถานะการเปนเจาหนาที่ ของรัฐในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ใหถือวาเจาหนาท่ีของรัฐนั้น


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 41 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง เกี่ยวของกับยาเสพติด เนื่องจากอาจมีการใชตำแหนงหนาที่ ในลักษณะที่เปนการจูงใจหรือใชอิทธิพลโดยมิชอบหรือกระทำอื่นใด โดยใชตำแหนงหนาที่ ซึ่งระเบียบดังกลาวใชบังคับกับเจาหนาที่ ของรัฐผูปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานราชการ โดยไมไดรวมถึง ขาราชการบำนาญซึ่งพนจากการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานแลว ดังนั้น การขึ้นทะเบียนเปนผูประกันอาชีพที่เปนขาราชการบำนาญ จึงเปนดุลพินิจของศาลในการพิจารณาถึงความเหมาะสมของ คุณสมบัติของบุคคลดังกลาว ( ๕. แนวทางการปฏิบัติการไตสวนคำรองในคดีชันสูตรพลิกศพ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลกำกับดูแล และแจงผูพิพากษาในศาลทราบวาการไตสวนชันสูตรพลิกศพ นอกเหนือจากการไตสวนคดีไปตามปกติแลว ตองใหมีขอเท็จจริง ใหปรากฏในสำนวนสองประการคือ ประการแรก ขอเท็จจริงที่พิสูจน ใหเห็นวาวันที่พนักงานสอบสวนแจงใหพนักงานอัยการเขารวม ในการชันสูตรพลิกศพ หรือวันที่พนักงานอัยการแจงเขารวมในการ จัดทำสำนวนการชันสูตรพลิกศพเปนไปตามกรอบระยะเวลา ตามกฎหมายหรือไม ประการที่สอง ขอเท็จจริงที่พิสูจนใหเห็นวา วันที่สงสำนวนไดปรากฏชัดอยูในสำนวนการชันสูตรพลิกศพวา พนักงานอัยการไดรับสำนวนจากพนั กงานสอบสอบเมื่อใด ซึ่งขอเท็จจริงในสวนนี้ศาลสามารถสอบถามพนักงานสอบสวน และพนักงานอัยการได หรือเรียกสำนวนชันสูตรพลิกศพมาประกอบ ทั้งนี้สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ไดสงแนวทางการตรวจคดี ไตสวนชันสูตรพลิกศพใหกับทุกศาลทราบดวยแลว ( ๖. แนวปฏิบัติในการสงรางคำพิพากษาหรือคำสั่งไปยัง สำนักงานอธิบดีผูพพิากษาภาค 2 ตรวจ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๒ รับทราบปญหาขอขัดของของศาล เกี่ยวกับการรายงานคดีสำคัญตามระเบียบราชการฝายตุลาการ ศาลยุติธรรม วาดวยการรายงานคดีสำคัญในศาลชั้นตนและ ศาลชั้นอุทธรณตอประธานศาลฎีกาฯ โดยบางศาลยังรายงาน ไมถูกตองหรอืไมครบถวน และปญหาในการสงสำนวนคดีไปยังภาค เพื่อตรวจ พบวาศาลสงสำนวนคดีเพื่อตรวจไมครบ 15 วัน จึงขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลและผูอำนวยการรายงานคดีสำคัญ ที่กำหนดไว 8 ประเภท ตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กำหนดตอ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 42 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง บุคคลที่กำหนดไวในระเบียบฯ โดยใหรายงานทันทีท่ีมีการรับฟอง หรือรับคำรองหรืออยางชาไมควรเกิน 1-2 วัน สวนการสงสำนวนคดี เพื่อตรวจ ขอใหแจงผูพิพากษาสงตามกรอบระยะเวลาที่กำหนดคือ ตองสงไมนอยกวา 15 วัน เพื่อใหภาคมีเวลาตรวจอยางรอบคอบ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบปญหาขอขัดของเกี่ยวกับ การสงรางคำพิพากษาหรือคำสั่งไปยังสำนักงานอธิบดีผูพิพากษา ภาค 3 ตรวจ เชน การสงสำนวนไปยังสำนักงานอธิบดีผูพิพากษา ภาคไมครบ 15 วันกอนวันอานคำสั่งหรือคำพิพากษา เมื่ออานแลว ไมสงสำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งพรอมสำเนาบันทึกและ ขอทักทวงตางๆ กลับไปใหสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคทราบ หรือสงลาชาเกิน 1 เดือน รวมถึงพิจารณาขอหารือแนวทางแกไข ปญหากรณีคดีท่ีมีการสืบประกอบในคดีที่จำเลยรับสารภาพ โดยศาลไดออกหมายขังระหวางการพิจารณา หากสงสำนวน ไปตรวจที่ภาคอาจทำใหเกิดการขังจำเลยเกิน 6 เดือน และขอให ผูพิพากษาหัวหนาศาลกำชับใหผูพิพากษาและเจาหนาที่ปฏิบัติ ตามระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยการรายงาน คดีสำคัญในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณตอประธานศาลฎีกาและ รายงานคดีและการตรวจสำนวนคดีในสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค พ.ศ. 2562 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564 ประกอบคำสั่งสำนักงาน อธิบดีผูพิพากษาภาค 3 ที่ 40/2565 และที่ 55/2565 เรื่อง การตรวจรางคำพิพากษาหรือคำสั่งและมอบหมายการปฏิบัติ หนาที่ราชการ โดยใหผูพิพากษาหัวหนาศาลชวยตรวจสอบและ ใหคำปรึกษาเพื่อใหเปนไปอยางถูกตองและเปนไปตามระยะเวลา ที่กำหนดสวนขอหารือกรณีคดีสืบประกอบที่จำเลยรบัสารภาพจะตอง สงตรวจหรือไม สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 3 จะนำไปพิจารณา กอนกำหนดแนวทางตอไป แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 รับทราบปญหาขอขัดของและแจง แนวทางปฏิบัตใินการจัดทำรางคำพิพากษา ดังนี้ ๑) การยื่นคำรองขอตามมาตรา 44/1 ในความผิดเกี่ยวกับเพศ บางคดีพบวา ผูยื่นเปนพอแมหรือญาติของผูเสียหาย แตยื่นคำรอง เขามาในฐานะผูเสียหายโดยตรงทำใหถูกศาลยกคำรอง ขอใหศาล ตรวจสอบและทำความเขาใจวาจะตองตั้งผูแทนในคดีเขามากอน นอกจากนี้ หากมีการรองขอสินไหมทดแทนควรมอบหมายญาติ


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 43 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ที่ชอบดวยกฎหมายเพื่อใหผูเสียหายไดรับประโยชนสูงสุด ๒) การยื่นคำรองขอครอบครองปรปกษ หากผูพิพากษามีคำสั่ง ใหผูรองไดกรรมสิทธิ์ในที่ดินตามคำรองก็ไมตองสงใหภาคตรวจ แตหากจะยกคำรองขอใหสงรางใหตรวจกอน ๓) คาฤชาธรรมเนียมขอใหตรวจสอบใหครบถวนตามประเภท ของคดี ๔) การจัดทำรางคำพิพากษา หากผูพิพากษาเจาของสำนวนและ ผูพิพากษาหัวหนาศาลมีความเห็นไมตรงกัน ขอใหบันทึกรายละเอียด พอสังเขปและบันทึกวาไดมีการปรึกษาคดีแตไมเห็นดวยกับ ผูพิพากษาเจาของสำนวนติดสำนวนไวดวย ๕) การใชถอยคำและภาษาในสำนวนไมถูกตอง การเขียนผิด จากคำสั่งเปนคำพิพากษา การกำหนดหมายเลขคดีไมถูกตอง การพิมพผิดหรือพิมพตกหลน การตั้งชื่อเรื่องสำนวนไมเปนไป ตามคำแนะนำในคูมือตุลาการ การกำหนดโทษไมเปนไปตามบัญชี กำหนดโทษ การลงชื่อในคำพิพากษาผิดหรือไมครบ เปนตน ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงรายละเอียดขอสังเกตใหผูพิพากษา ทราบเพื่อดำเนินการใหถูกตองและปฏิบัติตามคูมือตุลาการเลมสีแดง และเลมสีเขียว และนำไฟลตัวอยางคำพิพากษาของสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 4 ไปใชประกอบการจัดทำราง หากมีขอขัดของ ขอใหปรึกษาผูพิพากษาหัวหนาศาลหรือสำนักงานอธิบดีผูพิพากษา ภาค 4 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบปญหาเกี่ยวกับกระบวนการ ตรวจรางคำพิพากษา พบวาเมื่อสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ตรวจและแกไขเพิ่มเติมแลว แตปรากฏวาสำเนาคำพิพากษาที่อาน ใหแกคูความฟงบางเรื่องไมไดแกไขตามที่สำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 5 แจง ดังนั้นขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลกำกับ ดูแลและแจงใหผูพิพากษาในศาลทราบวารางคำพิพากษาควรแกไข ตามที่สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 แนะนำทุกถอยคำ สวนกรณีผูพิพากษาอานคำพิพากษาไปโดยไมไดเปนไปตาม สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ตรวจแกไข ใหผูพิพากษาเขียน เหตุผลที่ไมแกมาตอนสงคำพิพากษาหลังจากอานไปแลว เพื่อให สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 5 ทราบวาทานไมแกไขเพราะ มีเหตุผลอยางไร (


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 44 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงให ผูพิพากษาทราบวา กรณีเขียนคำพิพากษาในคดียาเสพติด มี2 แนวทาง คือ แนวทางแรกเปนเร่ืองการปรับบทตามกฎหมาย ใหปฏิบัติตามแนวทางการปรับบทและบัญชีอัตราโทษของ สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 6 เพื่อใหแนวทางวินิจฉัย ไปในแนวทางเดียวกันและปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลฎีกา 2 ฉบับ คือ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 272/2565 และคำพิพากษา ศาลฎีกาที่ 502/2565 และขอใหเขียนใหครบถวนไดใจความ ตามแนวทางที่ใช ถาจะใชแนวทางการปรับบทก็เขียนใหครบถวน ตามแนวทางปรับบทหรือถาใชแนวฎีกาทั้งสองฉบับเปนเกณฑ ก็ขอใหเขียนไดสาระสำคัญใหครบถวนตามแนวฎีกา ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบขอสังเกตและปญหา ขอขัดของที่พบจากการตรวจรางคำพิพากษา และแจงแนวปฏิบัติ เพื่อใหศาลดำเนินการ ดังนี้ 1) คดีผูบริโภค เรื่องการเรียกเก็บคาฤชาธรรมเนียมในการ ฟองคดี ขอใหศาลปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี ผูบริโภค มาตรา 18 ยกเวนคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวงใหแก ผูบริโภคไมวาจะอยูในฐานะโจทกหรือจำเลย สวนกรณีหากตอง คำนวณคาฤชาธรรมเนียมใหปฏิบัติตามคูมือพิจารณาความแพง เลมสีเขียว 2) การสงรางคำพิพากษาตรวจทางอิเล็กทรอนิกส กรณีที่มีการ ยื่นคำรองขอใหจำเลยชดใชคาสินไหมทดแทน ขอใหกำกับดูแล เจาหนาที่ที่รับผิดชอบใหสงเอกสารใหครบถวน 3) การแกไขคำฟอง โดยปกติผูพิพากษาเจาของเวรหรือ เจาของสำนวนจะอนุญาตใหแกไขและเขียนดวยดินสอในคำฟอง พบวาผูพิพากษาบางคนไมเขียนแกไขไว ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล แจงผูพิพากษาวาใหเขียนดวยดินสอวามีการแกไขคำฟองเมื่อ วันท่ีเทาไรไวสวนทางนำสืบขอใหเขียนคำเบิกความของพยาน แตละปากไวในการพิเคราะหดวย 4) การยื่นคำรองตามมาตรา 44/1 การยื่นคำรองมีอยู 2 แบบ คือ แบบแรกเจาหนาที่ของศาลเปนคนเขียนหรือมีแบบฟอรมใหกับ ตัวความใหกับผูเสียหายหรือใหกับผูรอง แบบที่ 2 คือ ทนายความ เปนคนรางคำรองใหปรากฏวาบางเรื่องไมชัดเจนวาผูเสียหาย 2 คน


รายงานการศึกษาวิเคราะหการบริหารราชการศาลยุตธิรรมในสวนภูมิภาค ประจำปพ.ศ. 2565 45 อำนาจหนาที่ ประเด็นเรื่อง ตกลงขอคนเดียวหรือขอทั้ง 2 คน ขอใหเจาหนาที่สอบถามผูท่ียื่น โดยเฉพาะที่เปนผูแทนวามีผูอื่น เชน พอ แมหรือลูกเปนผูเสียหาย ดวยหรือไม โดยเฉพาะคดีที่เกี่ยวกับเพศ และขอใหผูพิพากษา หัวหนาศาลแจงขอสังเกตใหผูพิพากษาทราบและปฏิบัติตาม กฎหมายและตามแนวทางที่สำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 7 กำหนด ( แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค ๗ รับทราบปญหาขอขัดของจากการ ตรวจสำนวนคดี โดยสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 7 มีขอสังเกต ในการเขียนคำพิพากษา คือขอใหเขียนคำพิพากษาโดยอางอิงตาม คูมือตุลาการกับแนวคำพิพากษาศาลฎีกา และการเขียนควรให ถูกตองตามหลักการเขียนภาษาไทย และตรวจสอบคำศัพทควร ถูกตองตามพจนานุกรมและตัวสะกดภาษาไทย นอกจากนี้ในการ สงเอกสารจำเปนหรือไฟลเพื่อประกอบการตรวจใหครบถวน และภายในกำหนดระยะเวลาในการสงตรวจสำนวนคดี โดยตอง สงรางคำพิพากษาหรือคำสั่งไปยังสำนักงานอธิบดีพิพากษาภาค 7 ไมนอยกวา 15 วัน ขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงผูพิพากษาทราบ และปฏิบัติตามขอสังเกตของสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 7 ที่พบจากการตรวจสำนวนคดีและนำไปใชกับการเขียนคำพิพากษา ใหถูกตองมีมาตรฐานเปนไปในแนวทางเดยีวกัน ๗. ระเบียบสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 4 วาดวยการ รายงานคดีและการตรวจสำนวนคดี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564 แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 รับทราบกรณีสำนักงานอธิบดี ผูพิพากษาภาค 4 ไดกำหนดประเภทคดีท่ศีาลตองรายงานเพิ่มเติม นอกเหนือจากระเบียบราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม วาดวย การรายงานคดีสำคัญในศาลชั้นตนและศาลชั้นอุทธรณตอประธาน ศาลฎีกาและการรายงานคดีในสำนักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค พ.ศ. 2562 โดยขอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลแจงใหผูพิพากษา ทราบวา สำนักงานอธิบผูพิพากษาภาค 4 ไดกำหนดใหมีการ รายงานคดีเพิ่มเติมในคดีความผิดตามประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 มาตรา 145 วรรคสาม เมื่อศาลมีการประทับรับฟอง สวนคดีตามมาตรา 145 วรรคหนึ่ง และมาตรา 145 วรรคสอง ในระเบียบไมไดกำหนดจำนวนเม็ดไว ใหผูพิพากษาพิจารณาจาก ปริมาณยาเสพติดของกลาง หากคำนวณเปนสารบริสุทธิ์แลวมี


Click to View FlipBook Version