การมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยต าบลหนองแหน ความเป็นมา ในระยะต่อมา จึงมีแนวคิดจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล (พ.ศ.2557 - พ.ศ.2560) โดยนายภุชงค์ นุตราวงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง ให้น าแนวคิดการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาประชาธิปไตยระดับต าบลของส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดเชียงใหม่ มา ประยุกต์ใช้เพื่อให้ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัดมีศูนย์กลางการติดต่อประสานงานกับพลเมือง อาสา กกต. สามารถติดตามสนับสนุน การปฏิบัติงานได้สะดวกและพลเมืองอาสา กกต. มีสถานที่ติดต่อประสานงาน และสามารถน ากิจกรรมการให้ความรู้ประชาธิปไตยและการเลือกตั้งไปสู่ต าบลและหมู่บ้าน ผ่านการจัดเวทีให้ ความรู้ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมของชุมชน ท าให้กิจกรรมการให้ความรู้เป็นรูปธรรมทั่วถึงควบคู่ไปกับวิถีชีวิตมาก ขึ้น รวมทั้งให้กรรมการศูนย์ฯ เป็นศูนย์กลางในการสรรหาบุคคลเข้ามาเป็นกรรมการประจ าหน่วยเลือกตั้งในภาวะ ปกติ และในภาวะที่เกิดวิกฤตการณ์ ทั้งนี้ โดยไม่กระทบต่อกรรมการประจ าหน่วยเลือกตั้งที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่เดิม และท าหน้าที่มาอย่างดีแล้ว ตลอดจนท าหน้าที่ในการช่วยสอดส่องสังเกตการณ์ และแจ้งข่าวการทุจริตการเลือกตั้ง โดยปีแรกจะด าเนินการจัดตั้งศูนย์ฯ จังหวัดละ 1 ต าบล (1 ศูนย์) ขึ้นในส านักงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัยต าบล โดยให้มีการตั้งคณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง ต าบลจากพลเมืองอาสาพัฒนาประชาธิปไตยและมีหน่วยงานความร่วมมือและสนับสนุน คือ กระทรวงศึกษาธิการ โดยส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระทรวงมหาดไทย กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ฯลฯ ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนแนวคิดข้างต้นเป็นรูปธรรม ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งและ ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ท าบันทึกตกลงความร่วมมือ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2557 ณ ห้องเซฟไฟร์ 117 – 120 อาคารอิมเพค ฟอรั่ม 1 เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดย ก าหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล จังหวัดละ 1 ต าบล (1 ศูนย์) ขึ้นใน ส านักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต าบล มีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล จ านวน 9 คน เป็นผู้ขับเคลื่อนเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาและให้ความรู้ เกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเลือกตั้งในต าบล มีเป้าหมายจัดตั้งให้ครบทุกต าบลทั่วประเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล เป็นศูนย์กลาง การปฏิบัติงาน และประสานงานเครือข่ายในการพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งระดับต าบลของพลเมืองอาสาพัฒนา ประชาธิปไตยในรูปคณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล
2. เพื่อให้สามารถเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้ง ในชุมชนได้ในทุก รูปแบบ เพื่อปลูกจิตส านึกให้เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน อันเป็นการพัฒนาประชาธิปไตย และการเลือกตั้งในระยะยาวอย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. เพื่อให้ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบล เป็นศูนย์กลางในการเก็บ รวบรวมข้อมูลการสรรหากรรมการประจ าหน่วยเลือกตั้ง ทั้งในภาวะปกติและในภาวะที่เกิดวิกฤตการณ์ เพื่อ เป็นหลักประกันว่าจะมีกรรมการประจ าหน่วยเลือกตั้งปฏิบัติหน้าที่ในทุกสถานการณ์ 4. เพื่อเป็นเครือข่ายในการช่วยสอดส่องสังเกตการณ์ และแจ้งข่าวการทุจริตและฝ่าฝืนกฎหมาย เลือกตั้ง ซึ่งจะท าให้ กกต. มีเครือข่ายอยู่ทั่วทุกชุมชน 5. เพื่อเป็นการพัฒนาต่อยอดการสร้างพลเมืองอาสาพัฒนาประชาธิปไตย (พลเมืองอาสา กกต.) ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การด าเนินกิจกรรม ๑. การวางแผน (Plan) การคัดเลือกต าบลเพื่อจัดตั้ง ศส.ปชต. พิจารณาจากต าบลที่มีพื้นฐานความเข้มแข็งของชุมชนจาก องค์ประกอบต่าง ๆ อาทิ เช่น - ประชาชนในหมู่บ้าน ต าบล มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนดี มีพื้นฐานของชุมชนเข้มแข็งในเรื่องการ ท ากิจกรรมสามารถพัฒนาให้เป็นแบบอย่างแก่ต าบลอื่นๆ ในอ าเภอ / จังหวัดได้ - ผู้น าในหมู่บ้าน/ชุมชน ต าบล มีความเข้มแข็ง มีความพร้อมในการสนับสนุนภารกิจของศูนย์ฯ และที่ ส าคัญคือมีแนวความคิดเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มุ่งเสริมสร้างความรัก ความสามัคคี ต้องการให้ประเทศได้รับ การพัฒนาไปข้างหน้า - พลเมืองอาสาพัฒนาประชาธิปไตย ที่มีความรู้ความสามารถ มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการ ปฏิบัติงาน - ครู กศน. ต าบล มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และเป็นที่ปรึกษาให้กับคณะกรรมการศูนย์ ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและการเลือกตั้งต าบลได้เป็นอย่างดี - มีสถานที่ หรืออาคาร ที่สามารถรวมกลุ่มประชุมหารือ จัดกิจกรรมรวมกันได้ตามความเหมาะสม หรือ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมนชน ต าบล สรรหากรรมการ ศส.ปชต. การสรรหากรรมการศส.ปชต. อาจใช้วิธีการท าประชาคม หรือการ ปรึกษาหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือวิธีอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยเน้นให้มีผู้น าชุมชนในพื้นที่ต าบลที่ตั้ง ศูนย์ฯ เป็นหลัก เพื่อให้กรรมการ ศส.ปชต. ที่เป็นผู้น าชุมชนสามารถปฏิบัติงานควบคู่ไปกับวิถีชีวิตประจ าวัน และ
ที่ส าคัญต้องเป็นบุคคลที่มีความเต็มใจที่จะเข้ามาท าหน้าที่เป็นกรรมการ ศส.ปชต. และสามารถร่วมปฏิบัติงานได้ จริงและสม่ าเสมอ ๒. การด าเนินการ (Do) การบริหารจัดการ ศส.ปชต. คณะกรรมการ ศส.ปชต. มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการ ศส.ปชต. ให้ มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในต าบล เพื่อให้สามารถเป็นแบบอย่างแก่ต าบลอื่นๆ ที่จะจัดตั้ง ศส.ปชต. ในปี ต่อไป การให้ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย การให้ความรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย เป็นการให้ความรู้เพื่อสร้าง จิตส านึกประชาธิปไตย ให้บุคคลมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย อันจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนให้ เห็นแก่ประโยชน์ของสังคมและส่วนรวม ต่อต้านพฤติกรรมทุจริต คอร์รัปชัน และการซื้อสิทธิขายเสียง คณะกรรมการ ศส.ปชต. สามารถด าเนินการให้ความรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น - ให้ความรู้ตามโครงการ/กิจกรรม ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่จัดขึ้นในต าบล หมู่บ้าน - ให้ความรู้ตามโครงการ/กิจกรรม ที่คณะกรรมการ ศส.ปชต. ได้รับมอบหมายให้ด าเนินการในพื้นที่ - ให้ความรู้ควบคู่ไปกับวิถีชีวิตประจ าวันของชุมชน ที่คณะกรรมการ ศส.ปชต.มีบทบาทอยู่ในกลุ่ม นั้น ๆ โดยไม่ต้องมีการจัดเป็นโครงการ/กิจกรรม การขยายเครือข่ายภารกิจพลเมือง สร้างเครือข่าย ให้คณะกรรมการ ศส.ปชต. น าพลเมืองอาสาพัฒนา ประชาธิปไตย ที่ กกต. ได้ฝึกอบรมไว้เข้ามาร่วมเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติงานด้วย โดยประสานขอข้อมูลจาก ส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ าจังหวัด ส่งเสริมหมู่บ้าน/ชุมชนประชาธิปไตย ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งหมู่บ้านหรือชุมชนประชาธิปไตย ถือเป็น ภารกิจส าคัญที่เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าคณะกรรมการ ศส.ปชต. ผู้น าชุมชน และประชาชนในชุมชน มีศักยภาพร่วมกัน ในการบริหารจัดการขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการของชุมชนเอง แล้วสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ไปยัง หมู่บ้านหรือชุมชนอื่นได้ ส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย ด าเนินชีวิตประจ าวันของเรา ต้องยึดหลักเกณฑ์ กฎ กติกา ที่เป็นที่ ยอมรับ ในการอยู่ร่วมกัน ในสังคมประชาธิปไตยก็มีหลักการประชาธิปไตยให้ยึดถือปฏิบัติ หลักการ หรือ กฎ กติกา ถือเป็นหลักให้สมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ไม่ให้มีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน จนก่อให้เกิดความ เดือดร้อนขึ้นในสังคม การใช้สิทธิเสรีภาพของบุคคลก็ต้องอยู่ภายใต้กฎ กติกาที่มีอยู่ ตลอดจนไม่ล่วงละเมิดสิทธิ เสรีภาพของบุคคลอื่น มีส่วนร่วมในกระบวนการเลือกตั้ง การให้ความรู้กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง การรณรงค์ให้ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง การหาเสียงของผู้สมัคร การป้องกันไม่ให้มีการฝ่าฝืนกฎหมายเลือกตั้ง การจัดให้มีการลงคะแนน การนับคะแนน และ การประกาศผลการเลือกตั้ง แต่ละกระบวนการมีผู้เข้ามาเกี่ยวข้องมากมาย กรรมการ ศส.ปชต. ก็มีภารกิจใน การสนับสนุนให้ทุกกระบวนการสามารถด าเนินไปได้เพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามกฎหมาย ผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้ใช้
สิทธิโดยอิสระ ไม่ตกอยู่ภายใต้ภาวะคุกคามใดๆ ที่ท าให้การตัดสินใจลงคะแนนไม่ได้เป็นไปตามเจตนารมณ์ที่ แท้จริง ๓. การตรวจสอบ (CHECK) ศส.ปชต.หนองแหน มีการด าเนินงานเกี่ยวกับการให้ความรู้ ประชาธิปไตย การส่งเสริมการเลือกตั้ง การวางแผนการท ากิจกรรมในครั้งต่อๆไป การเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศูนย์ ส่งเสริมประชาธิปไตย และพัฒนาศักยภาพแกนน าเครือข่าย ศส.ปชต. ตลอดระยเวลา 7 ปีที่ผ่าน ทั้ง กรรมการ ศส.ปชต. ครู กศน. มีการพัฒนาความรู้และขยายผลกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการติดต่อสอบถาม ปรึกษา และ พูดคุยกันอย่างต่อเนื่อง ๔. ขั้นตอนการด าเนินงานให้เหมาะสม (Action) ศส.ปชต.หนองแหน มีการด าเนินงานต่างๆๆเกี่ยวกับ การเลือกตั้ง ทุกครั้งที่ผ่าน และมองเหฌนข้อเสนอแนะและแนวทางในการท างานในแต่ละครั้ง จึงน าผลของการ ท างานในครั้งมาปรับเปลี่ยนในการท างานครั้งต่อไป สรุปผลการด าเนินงาน ๑) ศส.ปชต. ต าบลหนองแหน มีการด าเนินกิจกรรมของชุมชนอย่างสม่ าเสมอ มีความสามารถใน การประสานงานกับภาคีเครือข่าย และกลุ่มผู้น าต่างๆ ในชุมชนได้เป็นอย่างดี หากไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว กิจกรรม ในพื้นที่ไม่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างแน่นอน ๒) เครือข่ายในชุมชนทุกภาคส่วนต้องประสานความร่วมมือกันอย่างจริงจัง เพื่อให้การจัดกิจกรรมมี ความต่อเนื่อง หากขาดความร่วมมือ และการจัดกิจกรรมที่ไม่ต่อเนื่องไม่สามารถสร้างให้เกิดชุมชนที่มีความ เข้มแข็งได้
ภาพกิจกรรม ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยต าบลหนองแหน