The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 16 ฉบับ 4 ประจำเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2022-08-02 23:40:14

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 16 ฉบับ 4 ประจำเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2565

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 16 ฉบับ 4 ประจำเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2565

สารบญั

Contents

มรภ.สงขลา เข้ารบั พระราชทานถว้ ยรางวัล ๓

การเข้ารบั พระราชทานปริญญาบัตร

มรภ.สงขลา สร้างองคค์ วามรู้พฒั นาเครอื ขา่ ย ๔

“๗ คณะ ๗ ชุมชนตน้ แบบ”

“พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ” องคมนตรี ๖

ตดิ ตามผลด�าเนนิ งาน มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา หารือความร่วมมอื สถานทตู อนิ โดนเี ซียฯ ๗

ลงนามความร่วมมอื ศกึ ษาและพัฒนานวัตกรรมเกษตรอนิ ทรีย์ ๘

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ลงนามความรว่ มมือ ๓ องค์กร ๘ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม เดินหน้าพัฒนาหลักสูตร ๑๖

“สป.อว.” นา� ทมี ๔ เสอื ฯ ลงนามความร่วมมือ มรภ.สงขลา ๙ ตามมาตรฐาน OBE AUN

พฒั นาสตูลสคู่ วามย่ังยนื มรภ.สงขลา พฒั นาภาษาองั กฤษและสอบวัดสมรรถนะ ๑๗

ผตู้ รวจราชการ อว. ลงพน้ื ท่ี มรภ.สงขลา ๑๐ ตามมาตรฐาน CEFR

รับฟังผลการดา� เนินงาน “BCG MODEL” ส�านักวทิ ยบรกิ ารฯ จดั อบรม “Everyday English” ๑๗

เปดิ บ้านต้อนรบั ส�านักงาน ป.ป.ช. หารือขบั เคลอ่ื น STRONG ๑๐ มรภ.สงขลา เปิดบ้านต้อนรับนายกสภา มรภ.อบุ ลราชธานี ๑๘

มรภ.สงขลา เปิดเวทวี ิพากษ์ (รา่ ง) แผนยุทธศาสตร์ ๑๑ มรภ.สงขลา ลงพน้ื ทก่ี ลุม่ ดาหลาปาเตะ๊ ถา่ ยทอดองค์ความรู้ ๑๘

การพัฒนาฯ ระยะ ๕ ปี งานวจิ ัยจ�าปาดะ

มรภ.สงขลา เสรมิ สรา้ งทกั ษะฯ ระเบยี บการเงนิ งานคลัง ๑๑ มรภ.สงขลา เดนิ หน้ามหาวทิ ยาลัยสีเขียวโลก ส่รู ะดับที่สูงขน้ึ ๑๙

สา� นักศิลปะฯ จับมอื วชช.สตูล “ฝึกซอ้ มและถ่ายทอดร�าโนรา” ๑๒ มรภ.สงขลา เผยผลจดั อันดับ “Thailand MHESI Impact ๑๙

มรภ.สงขลา จัดกิจกรรมนกั พฤกษศาสตร์รนุ่ เยาวฯ์ ๑๓ Ranking ๒๐๒๒”

“Life Di Center” จฬุ าฯ สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ๑๓ มรภ.สงขลา ประกวดผลงานสหกิจฯ ดา้ นวิทย์-สังคม-นวตั กรรม ๒๐

ทางวชิ าการคณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา เป็นเจ้าภาพจัดประชมุ เครือข่ายส�านกั วทิ ยบริการฯ ๒๑

คณะครุฯ ปฐมนิเทศเตรียมความพรอ้ ม นศ.ครู หลักสตู ร ๔ ปี ๑๔ สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา เปิดคลนิ กิ วจิ ัย ๒๑

ครฯุ อบรมพฒั นาทักษะการเป็นวทิ ยากรสา� หรับศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย ๑๔ นศ.เกษตร มรภ.สงขลา ผงาดเวทีแขง่ ขันทกั ษะวชิ าการและวิชาชีพ ๒๒

ศพก. (ดา้ นปศสุ ัตว์) “นศ.วิชาเอกเครื่องเปา่ ” ผ่านคัดเลอื กประกวดวงโยธวาทิตโลก ๒๓

มรภ.สงขลา จดั กิจกรรม “เตมิ วิทย์ คดิ สนุก...กับวิทย์รอบตัว” ๑๕ นศ.เกษตร ควา้ ๒ รางวลั ระดบั ด-ี ชมเชย ๒๓

มรภ.สงขลา วทิ ยาเขตสตลู จัดอบรมอนรุ ักษภ์ มู ปิ ญั ญาสานไมไ้ ผ่ ๑๕ เวทปี ระชุมวชิ าการด้านวทิ ยแ์ ละเทคโนโลยเี กษตรแห่งชาติ

คณะผจู้ ดั ทำ� ปำรฉิ ัตร วำสำรเพ่ือกำรประชำสมั พนั ธ์ มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั สงขลำ ปีท่ี ๑๖ ฉบบั ท่ี ๔ ประจ�ำเดอื นเมษำยน - พฤษภำคม ๒๕๖๕
ท่ีปรกึ ษำ รศ.ดร.ทัศนา ศิรโิ ชต,ิ อาจารยพ์ ิเชษฐ์ จนั ทว,ี อาจารย์จิรภา คงเขียว, ดร.นราวดี บัวขวญั , ผศ.ดร.วรี ะชัย แสงฉาย, ผศ.นาถนเรศ อาคาสุวรรณ,

นางปยิ มาศ ศิรศิ ุภนนท์ และ นางสาวปณั ฑิตา โชตชิ ว่ ง
บรรณำธิกำร ลดั ดา เอง้ เถยี้ ว กองบรรณำธิกำร ดร.ศภุ ฤกษ์ เวศยาสิรนิ ทร,์ สพุ ัฒน์ สวุ รรณโณ, ธรี ภทั ร์ มณีเกษร, ปริญภรณ์ ชุมมณ,ี อภญิ ญา สุธาประดษิ ฐ์, ประภัสสร น่นุ แกว้
งำนส่ือสำรองคก์ ร มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั สงขลำ ๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ต�าบลเขารปู ชา้ ง อา� เภอเมิอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา ๙๐๐๐๐ โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔

2

มรภ.สงขลา เขา้ รบั พระราชทานถ้วยรางวลั
การเขา้ รับพระราชทานปรญิ ญาบัตร รางวัลชมเชย

ความถูกตอ้ งเรียบร้อย/การอา่ นจงั หวะสมา่� เสมอ

มรภ.สงขลำ เขำ้ รบั พระรำชทำนถ้วยรำงวลั กำรเข้ำรบั พระรำชทำนปรญิ ญำบตั ร รำงวัลควำมถูกตอ้ งเรยี บร้อย/
กำรอ่ำนจงั หวะสม่�ำเสมอ รำงวัลชมเชย กลุ่มมหำวิทยำลยั รำชภฏั เขตภำคใต้

เมอื่ วนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม ๒๒๕๖๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ เสดจ็ ออกพรอ้ มดว้ ย สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรม
ราชนิ ี พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทวั่ ประเทศ และมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ทช่ี นะเลศิ การเขา้ รบั
พระราชทานปริญญาบตั ร ประจ�าปกี ารศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๐ เขา้ เฝา้ ฯ รบั พระราชทานถว้ ยรางวัล ณ พระทน่ี งั่ อัมพรสถาน
พระราชวังสวนดุสติ กรงุ เทพมหานคร

ในการนี้ รศ.ดร.ทศั นำ ศิริโชติ อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เขา้ รับพระราชทานถ้วยรางวัล
ความถูกต้องเรียบร้อย/การอ่านจังหวะสม่�าเสมอ รางวัลชมเชย ของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้ (ระหว่างวันที่
๑๕ - ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๓) โดยพิจารณาจากการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรเป็นไปด้วยความถูกต้อง เรียบร้อย
รวดเร็ว และมจี งั หวะการเขา้ รบั พระราชทานปริญญาบัตรท่ีเหมาะสมและสวยงาม ซงึ่ การไดร้ บั พระราชทานรางวัลในครัง้ นี้
ยังความปลม้ื ปตี แิ ละส�านกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ อยา่ งหาท่ีสุดมิได้

3

มรภ.สงขลา คณะ

๗สรา้ งองคค์ วามรู้พฒั นาเครอื ข่าย ชุมชนต้นแบบ

พฒั นาท้องถิน่ ตามโครงการพระราโชบาย พ้ืนท่ีสงขลา พัทลงุ สตลู

คณะมนุษยศำสตร์ฯ มรภ.สงขลำ ผนึกภำคีเครือข่ำย ๗ คณะ จัดท�าฐานข้อมูล สร้างองค์ความรู้และจัดท�าท�าเนียบคลังสมองของภาคี
๗ ชุมชนต้นแบบ เดนิ หนำ้ โครงกำรพฒั นำศักยภำพกระบวนกำรทำ� งำน เครือข่าย อันได้แก่ กลุ่มหรือองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ
พัฒนำท้องถิ่น ตำมโครงกำรพระรำโชบำย พ้ืนที่ สงขลำ พัทลุง สตูล ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ซ่ึงในอนาคตอาจดึงชุมชนอื่น ๆ
เทียบเชิญผู้เช่ียวชำญร่วมเสวนำสร้ำงเครือข่ำยชุมชนและกำรน้อมน�ำ นอกเหนือจาก ๗ ชุมชนต้นแบบเข้ามาร่วมด้วย และหากสามารถน�า
ศำสตร์พระรำชำสู่กำรพัฒนำท้องถ่ิน สร้ำงองค์ควำมรู้พร้อมจัดท�ำ องค์ความรู้เหล่านั้นเข้าสู่แพลตฟอร์มท่ีใครก็สามารถเข้ามาดูได้ ย่อมเป็น
ท�ำเนียบคลังสมอง บรรจุข้อมูลทุกชุมชนลงแพลตฟอร์ม ใช้เป็นฐำน ประโยชน์อย่างมากแก่ผู้ท่ีสนใจ ภายใต้หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
ขอ้ มลู วำงแผนด�ำเนินงำนอย่ำงย่ังยนื รว่ มกนั ในอนำคต ซ่งึ มรภ.สงขลา พรอ้ มที่จะแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละร่วมมือกบั ชมุ ชน เพราะ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เราเปน็ สถาบันอุดมศกึ ษาเพ่อื การพฒั นาท้องถ่นิ
(มรภ.สงขลา) จดั โครงการการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการทา� งานในรปู ภาคี ด้าน ดร.นรำวดี บัวขวัญ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการ
เครือข่ายเพอ่ื การพัฒนาท้องถนิ่ ตามโครงการพระราโชบาย มหาวทิ ยาลัย วิชาการ มรภ.สงขลา กล่าวว่า โครงการน้ีอยู่ในโครงการพระราโชบาย
ราชภฏั สงขลา กจิ กรรมท่ี ๒ : จดั งานการสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละจดั ทา� ทา� เนยี บ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ประกอบดว้ ย ๕ กจิ กรรมยอ่ ย ไดแ้ ก่ ๑. การพฒั นา
คลังสมองภาคีเครือข่ายการพัฒนาท้องถิ่น ตามโครงการพระราโชบาย แพลตฟอร์มภาคีเครือข่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ๒. การสร้าง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ในพ้ืนที่ จ.สงขลา จ.พัทลุง และ จ.สตูล องค์ความรู้และจัดท�าท�าเนียบคลังสมองของภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัย
ระหวา่ งวันท่ี ๑๗-๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ โรงแรมลากนู า่ แกรนด์ แอนด์ ราชภฏั สงขลา ๓. การจัดทา� แผนการท�างานในรปู แบบภาคเี ครอื ขา่ ยใหก้ ับ
สปา สงขลา ต.พะวง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา ซงึ่ รศ.ดร.ทัศนำ ศริ ิโชติ ชุมชนต้นแบบ ๔. โมเดลต้นแบบการท�างานในรูปแบบภาคีเครือข่ายของ
อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา ไดม้ อบหมายให้ ดร.นรำวดี บวั ขวญั รองอธกิ ารบดี ชุมชนตน้ แบบ ๕. แถลงผลสมั ฤทธิก์ ารด�าเนินงานในรปู แบบภาคเี ครอื ขา่ ย
ฝ่ายวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มรภ.สงขลา เปน็ ประธานในพิธีเปิด ของชมุ ชนต้นแบบ ท้งั หมดน้ีเกดิ ขน้ึ จากการที่ทุกคณะของ มรภ.สงขลา ได้
มีการพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบของตนเอง จงึ ทา� ใหเ้ กดิ แนวคดิ ในการสร้างภาคี
ภายในงานมกี ารสมั มนา หวั ขอ้ “กระบวนการทา� งานในรปู แบบภาคี เครอื ข่ายร่วมกันทัง้ ๗ ชุมชนกับ ๗ คณะ
เครอื ขา่ ยกบั การพฒั นาทอ้ งถน่ิ และตวั อยา่ งชมุ ชนทป่ี ระสบความสา� เรจ็ จาก
กระบวนการดา� เนนิ งานในรปู แบบภาคเี ครอื ขา่ ย” โดย ดร.กลุ ทตั หงสช์ ยำงกรู ดร.รชั ชพงษ์ ชชั วำลย์ คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
รกั ษาการแทนผอู้ า� นวยการสถาบนั นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั สงขลา มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ โครงการทจี่ ดั ทา� ขนึ้ นเี้ ปน็ การดงึ เอาพลงั ของภาคสว่ น
นครนิ ทร์ ดร.เพญ็ สขุ มำก อาจารยส์ ถาบนั นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถ่ิน มาร่วมขับเคล่ือน
สงขลานครินทร์ นำยสรุ ยิ ำ ยขี ุน นายกเทศมนตรตี า� บลปรกิ อา� เภอสะเดา เสริมสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชน ในการรว่ มแก้ไขปัญหาให้สอดคลอ้ งกบั
จังหวัดสงขลา ด�าเนินรายการโดย ผศ.ศดำนนท์ วัตตธรรม โดยมี ความต้องการระดับพื้นท่ีบนฐานองค์ความรู้และความเข้าใจในบริบทและ
ภาคประชาชนในพ้ืนท่คี วามดูแลของ ๗ คณะ เขา้ รว่ มจ�านวน ๒๕๐ คน สภาพปัญหาในเชิงลึกอย่างแท้จริง โดยมีการท�างานในรูปภาคีเครือข่าย
เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งได้ผนึกก�าลังร่วมกันระหว่าง ๗ คณะของ
รศ.ดร.ทัศนำ ศริ ิโชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา กล่าวว่า กิจกรรมน้ี มรภ.สงขลา และ ๗ ชมุ ชนต้นแบบทแี่ ต่ละคณะดแู ลรับผิดชอบ ดงั น้ี
เป็นการร่วมกันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เพ่ือร่วมกันพัฒนาแพลตฟอร์มและ

4

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร กบั ชมุ ชนตน้ แบบทงุ่ ลาน อ.คลองหอยโขง่
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กับชุมชนต้นแบบเขาขาว จ.สงขลา ซ่งึ เป็นชุมชนตน้ แบบดา้ นการเกษตรผสมผสาน ตามหลักปรัชญา
อ.ละงู จ.สตูล ซ่ึง ต.เขาขาว เป็นชุมชนต้นแบบด้านการท่องเที่ยวชุมชน เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาชุมชนในมิตติ ่าง ๆ ด้วยการ
อยใู่ นพน้ื ที่ จ.สตลู ซง่ึ ถกู ยกใหเ้ ปน็ อทุ ยานธรณโี ลก จดุ เดน่ ในการพฒั นาพน้ื ท่ี พัฒนากาแฟเป็นสินค้าอัตลักษณ์ชุมชน การอนุรักษ์คลองหลา การเล้ียง
เขาขาวคือ การเป็นชุมชนท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา มีถ้�าทะลุ ตลาดนานา โคเนอื้ การเพ่ิมมลู คา่ หน่อไม้ของกลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบ้านท่าหมอไชย และ
สตลู จโี อพารค์ และกลมุ่ ผลติ ภัณฑอ์ าหาร กาแฟ เสือ้ ผา้ พนื้ เมือง และกลุ่ม การสร้างยุวเกษตรรักษ์ถ่ิน โดยน�าศาสตร์ความรู้ทางด้านการเกษตร
นวดสปาฮาลาล แต่ละกลมุ่ มีผลิตภณั ฑท์ ี่เปน็ เอกลักษณ์ ผลิตและจา� หน่าย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม รวมถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติของ
โดยชมุ ชน ชมุ ชนมคี วามรกั และสามคั คกี นั จงึ เกดิ ความเขม้ แขง็ รว่ มกนั สรา้ ง ชุมชนไปพร้อมกันกับการบริหารจัดการ มาถ่ายทอดให้กับชุมชน เพ่ือ
ใหช้ ุมชนเขาขาวเป็นชุมชนตน้ แบบ ใหช้ มุ ชนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การพฒั นาอาชพี หลกั และอาชพี เสรมิ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ กับชุมชนต้นแบบตะโหมด อ.ตะโหมด มากข้นึ เพอ่ื ใหเ้ กิดความยงั่ ยืนและความเข้มแข็ง
จ.พทั ลงุ ซง่ึ ต.ตะโหมด เปน็ ชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน มพี นี่ อ้ ง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กับชุมชนต้นแบบเกาะแต้ว
ชาวไทยพุทธและมุสลิมอาศัยอยู่ร่วมกันด้วยความปรองดองมาเนิ่นนาน อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา ซง่ึ เป็นชุมชนต้นแบบด้านการทอ่ งเท่ยี วเชงิ เกษตร
จนถกู ขนานนามว่า “ชุมชนสองศาสนา” มีกจิ กรรมการทอ่ งเท่ยี วมากมาย และวฒั นธรรม : นา สวน ควน เล มวี ถิ ชี วี ิตทีเ่ รียบงา่ ย มคี วามอดุ มสมบูรณ์
มผี ลติ ภณั ฑ์ทางวฒั นธรรม เช่น ศนู ย์เล้ียงผง้ึ โพรงไทย ศูนย์ผลิตผา้ มดั ยอ้ ม ของทรัพยากรในชุมชนและวัฒนธรรมที่หลากหลาย ชุมชนเกาะแต้ว
อาหารพื้นบ้าน ประเพณีครัวร้อยสาย อาหารจากปิ่นโต อีกท้ังมีดนตรี มีความสมบูรณ์ทางด้านอาหารสูง เป็นเสมือนอู่ข้าวอู่น�้าที่ส�าคัญของ
ศลิ ปวฒั นธรรมพ้ืนบ้าน รา� วงกลองยาวและมโนราหจ์ ากเด็กและเยาวชน อ.เมืองสงขลา มีสถานที่ท่องเท่ียวท่ีสวยงาม มีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่น่าสนใจ
เชน่ เครอ่ื งแกงสมนุ ไพรตา� มอื ขนมพน้ื บา้ น ขนมไทยโบราณ ไขเ่ คม็ กะทสิ ด
คณะวิทยาการจัดการ กับชุมชนต้นแบบโคกม่วง อ.เขาชัยสน ใบเตย มะพร้าวน�า้ หอม ขา้ วอินทรีย์ และอาหารทะเลสด
จ.พัทลุง ซ่ึงเป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลายในด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
มกี ารดา� รงชวี ติ แบบพหวุ ฒั นธรรม มปี ระเพณแี ละวฒั นธรรมสบื ทอดมาจาก วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ กับชุมชนต้นแบบทุ่งนุ้ย
บรรพบุรุษ พื้นท่ีส่วนใหญ่ใช้ท�าการเกษตร มีผลิตภัณฑ์เครื่องแกงและ อ.ควนกาหลง จ.สตลู ซงึ่ เปน็ ชมุ ชนตน้ แบบทม่ี คี วามหลากหลายทางชวี ภาพ
กล้วยฉาบทีเ่ ปน็ ของดแี ละเปน็ ที่รจู้ ักในวงกวา้ ง ดา้ นแหล่งท่องเที่ยวชุมชน มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมอยู่กัน
ไดพ้ ฒั นาเปน็ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ เกษตรและตน้ แบบชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง อยา่ งปกตสิ ขุ และรม่ เยน็ รวมถงึ มคี วามอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ
มีบุคคลที่ทรงคุณค่า มีภูมิปัญญาในหลากหลายมิติ ท้ังด้านการเกษตร
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับชุมชนต้นแบบท่าหิน การแพทย์แผนโบราณ (หมอต�าแย) ด้านศิลปะ การจกั สาน
อ.สทิงพระ จ.สงขลา เป็นชุมชนที่ด�ารงอยู่ด้วยการพึ่งพาอาศัยและรักษา
ธรรมชาติของวถิ ี “โหนด นา เล” ประกอบอาชพี เกษตรกรและทา� ประมง ทง้ั นี้ มรภ.สงขลา และชุมชนต้นแบบทง้ั ๗ ชมุ ชน ได้ร่วมกันสรา้ ง
น�้าจืด มีความร่วมมือจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีกลุ่ม กลมุ่ ภาคเี ครอื ขา่ ยใหเ้ กดิ ขนึ้ และบรรจขุ อ้ มลู ของทกุ ชมุ ชนลงในแพลตฟอรม์
วสิ าหกจิ ชมุ ชนทมี่ ผี ลติ ภณั ฑโ์ ดดเดน่ เชน่ นา�้ ตาลโตนดผง สบกู่ อ้ น สบเู่ หลว ซ่ึงเป็นฐานข้อมูลภาคีเครือข่ายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามโครงการ
ผสมสารสกัดจากตาลโตนดและเป็นศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พระราโชบาย ในพน้ื ท่ี จ.สงขลา พทั ลงุ และสตลู ซง่ึ จะสามารถนา� ฐานขอ้ มลู
ด้วยวิถีโหนด นา เล ซง่ึ เป็นวถิ พี นื้ บ้าน วิถแี ห่งสา� นกึ รักบา้ นเกดิ โดยคณะ ในแพลตฟอร์มมาใช้ในการวางแผนการด�าเนินงาน การบริหารจัดการ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีไดน้ อ้ มน�าศาสตรพ์ ระราชาถา่ ยทอดองค์ความรู้ การแกป้ ญั หา และมบี ทบาทในการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ทง้ั ในดา้ นเศรษฐกจิ
จากมหาวทิ ยาลยั เพอื่ รว่ มแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ทา� ให้ชุมชนหันกลับมา สังคม ส่ิงแวดล้อม ได้อย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน เกิดการพัฒนาศักยภาพ
สนใจภูมิปญั ญาชาวบ้าน สร้างสา� นึกรกั บ้านเกิด และทา� ใหเ้ กดิ ความภมู ิใจ กระบวนการทา� งานในรปู ภาคเี ครอื ขา่ ยเพอื่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ตามโครงการ
ในชมุ ชนของตนเอง พระราโชบาย อย่างสมบูรณ์แบบ เพ่ือการใชง้ านร่วมกนั ต่อไปในอนาคต

5

“พลเอก ดาวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ” องคมนตรี

ติดตามผลด�ำเนินงาน มรภ.สงขลา
โครงการยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ

“พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ” องคมนตรี ตรวจเย่ียมและติดตามผลการด�ำเนินงาน โครงการ
ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพอื่ การพัฒนาทอ้ งถิ่น ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ มรภ.สงขลา
รับฟังบรรยายสรปุ การผลิตและพัฒนาครู การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา โครงการพัฒนา Soft Skills ดว้ ย
กระบวนการวศิ วกรสังคม พร้อมแลกเปลย่ี นแนวทางการจดั การเรียนการสอน

เม่ือวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๖๕ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ โดยการผลติ บณั ฑติ ดำ� เนนิ งานวจิ ยั และใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการเพอื่ สนองตอบ
องคมนตรี เดินทางมายังมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เพื่อ ความต้องการด้านการพัฒนาท้องถิ่น และด�ำเนินการทะนุบ�ำรุงศิลปะ
ตรวจเยย่ี มและตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งาน โครงการยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั และวัฒนธรรมได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีพื้นท่ีที่มหาวิทยาลัยรับผิดชอบ
ราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ของ และให้บรกิ ารวิชาการจำ� นวน ๓ จังหวดั ไดแ้ ก่ จังหวัดสงขลา จังหวดั พัทลุง
มรภ.สงขลา กลา่ วตอ้ นรบั โดย รศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา และจงั หวดั สตูล
พร้อมท้งั รบั ฟังการบรรยายสรุป “การผลิตและพัฒนาครู” “การยกระดบั
คุณภาพการศึกษา” จากคณบดีคณะต่าง ๆ และรับฟังการบรรยายสรุป ตลอดระยะเวลากว่า ๑๐๐ ปี มรภ.สงขลา ได้ท�ำหน้าท่ีเป็น
“โครงการพฒั นา Soft Skills ดว้ ยกระบวนการวศิ วกรสงั คม” โดย อาจารย์ “มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ” มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง กำ� หนดจดุ มงุ่ หมาย
จิรภา คงเขยี ว รองอธิการบดีฝา่ ยพฒั นานกั ศึกษา มรภ.สงขลา ด้านการผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรอบรู้ มีทักษะทาง
วิชาชีพที่ได้มาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของตลาดแรงงานในพ้ืนที่ เป็น
โอกาสเดยี วกนั น้ี พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ องคมนตรี ไดพ้ บปะ ผู้ประกอบการท่ีมีศักยภาพระดับสากล เป็นผู้สืบสานทะนุบ�ำรุงศิลปะและ
ผูแ้ ทนนกั ศึกษาเพื่อแลกเปลีย่ นมมุ มองด้านการศกึ ษา พรอ้ มทั้งตรวจเย่ยี ม วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ นำ� เศรษฐกจิ สงั คมทอ้ งถน่ิ สสู่ ากลอยา่ งยงั่ ยนื โดยปจั จบุ นั
คณะครศุ าสตร์ ณ ห้องปฏบิ ตั ิการหลกั สูตรปฐมวัย หอ้ ง ๔๐๑ ชน้ั ๔ โดยมี มรภ.สงขลา มกี ารจดั การเรยี นการสอนใน ๗ คณะ ๑ วทิ ยาลยั ซงึ่ มหี ลกั สตู ร
คณาจารย์และตัวแทนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ ร่วมพูดคุยถึงแนวทางการ ท้ังระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา จ�ำนวน ๖๐ หลักสูตร
จัดการเรียนการสอน โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ DLTV ทุกหลักสูตรมุ่งเน้นการเรียนการสอนและการผลิตบัณฑิต เพ่ือการพัฒนา
ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-๑๙ เพ่ือให้สามารถ ท้องถิน่
เติมเต็มความรู้และการศึกษาให้กับเด็กได้อย่างไม่ขาดช่วง และเป็น
ทางเลือกใหม่ในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติม นอกจากนั้น ยังได้เย่ียมชม
แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ณ อาคารสถาบันพัฒนาการศึกษาพิเศษ
ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทส�ำคัญในการฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กที่มีความ
ตอ้ งการพเิ ศษและบคุ คลพกิ าร ตลอดจนใหบ้ รกิ ารสนบั สนนุ นกั ศกึ ษาพกิ าร
ในมหาวทิ ยาลัย เพ่ือเตรยี มความพร้อมในการสรา้ งอาชพี สามารถนำ� ความรู้
ไปประกอบอาชีพหลังส�ำเร็จการศึกษา ทั้งยังช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้
สามารถอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

ทงั้ น้ี มรภ.สงขลา มปี รชั ญาทจ่ี ะพฒั นาสกู่ ารเปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษา
เพอ่ื การพัฒนาท้องถิน่ ได้กำ� หนดวสิ ัยทัศน์ คอื เป็นมหาวิทยาลัยช้ันนำ� เพอื่
พฒั นาทอ้ งถน่ิ ภาคใตส้ สู่ ากล วางแนวทางนำ� เศรษฐกจิ สงั คมทอ้ งถนิ่ สสู่ ากล

6

มรภ.สงขลา หารือความร่วมมือสถานทูตอินโดนีเซียฯ

หนุนหลกั สตู รอินโดนีเซยี -มาเลเซยี ศึกษาเพื่องานระหวา่ งประเทศ

มรภ.สงขลา หารือความร่วมมือสถานทูตอินโดนีเซีย ประจ�ำประเทศไทย เดินหน้าหลักสูตรอินโดนีเซีย-
มาเลเซียศึกษาเพื่องานระหว่างประเทศ หลักสูตรน้องใหม่คณะมนุษยศาสตร์ฯ เตรียมผนึกก�ำลังแลกเปล่ียน
นักศึกษา คณาจารย์ พรอ้ มจัดตั้งศูนยอ์ ินโดนีเซียศึกษา ประสานงานด้านวชิ าการและศิลปวัฒนธรรมร่วมกนั

ทงั้ นี้ คณะทตู ดา้ นการศกึ ษาจากสถานกงสลุ
อนิ โดนเี ซยี ประจำ� ประเทศไทยและประจำ� จงั หวดั
เมอ่ื วนั ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๕ รศ.ดร.ทศั นา สงขลา ได้เข้าร่วมปรึกษาหารือเก่ียวกับการ อกี ทงั้ พรอ้ มทจี่ ะเปน็ หนว่ ยงานกลางในการประสาน
ศิริโชติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ท�ำความร่วมมือด้านการศึกษากับหลักสูตร สร้างความร่วมมือ (MOU) ระหว่างหลักสูตร
(มรภ.สงขลา) ผศ.นาถนเรศ อาคาสวุ รรณ รอง อินโดนีเซีย-มาเลเซียศึกษา เพ่ืองานระหว่าง อินโดนีเซีย-มาเลเซียศึกษา เพื่องานระหว่าง
อธิการบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ ประเทศ ตลอดจนการทำ� ความรว่ มมือด้านภาษา ประเทศ กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศ
การศึกษา และ ดร.รัชชพงษ์ ชัชวาลย์ คณบดี ศิลปวัฒนธรรม และการจัดต้ังศูนย์อินโดนีเซีย- อินโดนีเซยี อีกดว้ ย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พร้อมด้วย มาเลเซียศึกษา ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และ
คณะผู้บริหาร คณาจารย์ประจ�ำหลักสูตร สงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา โอกาสเดียวกันนี้ อ.ทิวาพร จันทร์แก้ว
อินโดนีเซีย-มาเลเซียเพ่ืองานระหว่างประเทศ อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รอนิ โดนเี ซยี -มาเลเซยี ศกึ ษา
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ใหก้ ารตอ้ นรบั รศ.ดร.ทัศนา กล่าวว่า รู้สึกเป็นเกียรติ เพ่ืองานระหว่างประเทศ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ
Mr.Sukmo Yuwono ท่านทูตจากสถานทูต อย่างย่ิงที่คณะจากสถานทูตอินโดนีเซีย ประจ�ำ สงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา ไดน้ ำ� เสนอรายละเอยี ด
อินโดนเี ซีย ประจำ� ประเทศไทย (Deputy Chief ประเทศไทย เดนิ ทางมาเยือน มรภ.สงขลา ทาง ของหลักสตู รเปน็ ภาษาอนิ โดนีเซีย ซงึ่ สรา้ งความ
of Mission, Indonesian Embassy Bangkok) มหาวิทยาลัยยินดีและพร้อมสร้างความร่วมมือ ประทับใจให้กับคณะทูตเป็นอย่างยิ่ง โดยมี
พร้อมด้วย Mrs.Nur Rokhmah Hidayah : ในการผลิตบัณฑิตทางมนุษยศาสตร์ ด้าน
Minister Counsellor, Information, Social อินโดนีเซีย-มาเลเซียศึกษา เพื่องานระหว่าง
and Cultural Affairs, Indonesian Embassy ประเทศ รวมถึงการจัดตั้งศูนย์อินโดนีเซียศึกษา
Bangkok. Prof.Dr.Achmad Wicaksono : เพอ่ื ประสานงานดา้ นวชิ าการและการเเลกเปลยี่ น
Education and Cultural Attache’, Bangkok. วัฒนธรรมร่วมกันตอ่ ไป

Agus Cahyono Rasyid: Consul for Information, ด้าน Mr.Sukmo กล่าวว่า ทางสถานทตู ฯ อ.ตะวัน รัตนประเสริฐ ผู้ช่วยคณบดีฝ่าย
Social and Cultural Affairs, Indonesian มีความพร้อมส�ำหรับการสนับสนุนหลักสูตรฯ วิเทศสัมพันธ์ ด�ำเนินงานในภาคภาษาอังกฤษ
Consulate Songkhla. and Mr.Adul Meatam ในด้านต่าง ๆ เช่น ครุภัณฑ์ทางการศึกษา การ ได้อย่างน่าประทับใจ นับเป็นการเปิดตัวของ
Staff for Information,Social and Cultural แลกเปล่ียนนักศึกษา การแลกเปล่ียนคณาจารย์ หลกั สตู รทไี่ ดร้ บั ความรว่ มมอื จากองคก์ รภายนอก
Affairs, Indonesian Consulate Songkhla. รวมถงึ การแลกเปลย่ี นศลิ ปวฒั นธรรมซง่ึ กนั และกนั ท่มี คี ุณภาพเปน็ อยา่ งยิง่

7

มรภ.สงขลา รว่ มกับ “สมาพนั ธเ์ กษตรกรรมยง่ั ยนื -ศูนยเ์ รยี นรกู้ สิกรรมไทยบา้ นภลู ิตา”

ลงนามความรว่ มมือศึกษาและพัฒนานวตั กรรมเกษตรอินทรยี ์

คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา ผนกึ กำ� ลงั สมาพนั ธเ์ กษตรกรรมยง่ั ยนื สงขลา ศนู ยเ์ รยี นรกู้ สกิ รรมไทยบา้ นภลู ติ า ลงนามความรว่ มมอื
เพือ่ การศึกษาและพฒั นานวตั กรรมเกษตรอินทรีย์ มุ่งสง่ เสรมิ ด้านวชิ าการ งานวจิ ัย การท�ำงานในชมุ ชน การผลิตบณั ฑติ

เม่ือวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จัดพิธลี งนามในบนั ทึกข้อตกลง
ความร่วมมอื ทางวิชาการ (MOU) เพอ่ื การศกึ ษาและการพัฒนานวัตกรรม
เกษตรอนิ ทรีย์ ระหวา่ ง มรภ.สงขลา กบั สมาพนั ธ์เกษตรกรรมย่ังยนื สงขลา
และศนู ยเ์ รยี นรกู้ สกิ รรมไทยบา้ นภลู ติ า ณ หอ้ งประชมุ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์
ช้ัน ๗ ส�ำนักงานอธิการบดี โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ
อธิการบดี มรภ.สงขลา ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะเทคโนโลยี
การเกษตร ผศ.ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ
นายสนธกิ าญจน์ วโิ สจสงคราม ประธานสมาพนั ธเ์ กษตรกรรมยงั่ ยนื สงขลา กิจกรรมตา่ ง ๆ ทางวิชาการท่เี กย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษา การวิจยั การพฒั นา
และ นางรดา มบี ญุ ประธานศนู ยเ์ รยี นรกู้ สกิ รรมไทยบา้ นภลู ติ า รว่ มลงนาม และการบริหารจัดการ ๒. เพ่ือสนับสนุนภารกิจของแต่ละฝ่าย ในดา้ นการ
ความรว่ มมอื โดยมตี วั แทนหนว่ ยงานสมาพนั ธฯ์ จาก ๑๔ อำ� เภอ ครอบคลมุ พัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร และการเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่กัน
พ้ืนท่ีจังหวัดสงขลา (๑๖ อ�ำเภอ) พร้อมด้วยคณาจารย์ของทางคณะฯ ตลอดจนความรว่ มมอื ดา้ นอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป ๓. เพอื่ สนบั สนนุ สง่ เสรมิ
รว่ มเป็นสกั ขพี ยานในการลงนาม และพัฒนางานด้านวิชาการ การด�ำเนินงานในพื้นท่ี/ชุมชน ร่วมพัฒนา
นกั ศกึ ษา รวมถึงการดำ� เนินงานด้านวิจยั การผลิตบัณฑติ ภายใต้ขอบเขต
รศ.ดร.ทัศนา กล่าวว่า บันทึกข้อตกลงความร่วมมือที่จัดท�ำขึ้น มี ความร่วมมือที่กำ� หนด
วตั ถุประสงคส์ ำ� คัญ ๓ ประการ ได้แก่ ๑. เพอ่ื พัฒนาระหวา่ งกันโดยการจัด

คณะเทคโนโลยีการเกษตร ลงนามความรว่ มมือ ๓ องค์กร

พั ฒนาการเรียนรู้แบบบูรณาการ
กบั การทำ� งานในสถานประกอบการ

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ลงนามบันทึกข้อตกลง
ความรว่ มมอื กบั สวนปลักหว้า วสิ าหกิจชมุ ชนบ้านเห็ดรำ� แดง วิสาหกิจ
ชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่มใต้ร่มบุญ ผนึกก�ำลังร่วมพัฒนาการเรียนรู้
แบบบูรณาการกับการท�ำงานในสถานประกอบการ มุ่งผลิตก�ำลังคน
พัฒนาศักยภาพเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพ สอดคล้องกับความ ปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เชิงบูรณาการระหว่างการเรียน
ต้องการของภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ในมหาวทิ ยาลัยกบั การปฏบิ ตั ิงานจริงในสถานประกอบการ

เม่ือวันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๖๕ คณะเทคโนโลยีการเกษตร ดร.มงคล กล่าวว่า บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในครั้งนี้มี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) น�ำโดย ดร.มงคล เทพรัตน์ วัตถปุ ระสงค์สำ� คญั ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. เพือ่ ประสานความร่วมมอื ในการ
คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ จดั การศกึ ษาเชงิ บรู ณาการ ระหวา่ งการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษากบั การปฏบิ ตั ิ
เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการท�ำงานในสถานประกอบการ งานจริงในสถานประกอบการ ตามสาขาวิชาชีพการจัดการเรียนการสอน
ร่วมกับ ๓ องค์กร ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนบ้านเห็ดร�ำแดง วิสาหกิจชุมชน ด้านสหกิจศึกษา และการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท�ำงาน
หมอ่ นผลแปรรปู กลมุ่ ใตร้ ม่ บญุ และสวนปลกั หวา้ ณ หอ้ งประชมุ พลเอก เปรม (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) ๒. เพอื่ ผลติ
ติณสูลานนท์ อาคารส�ำนักงานอธิการบดี โดยมีตัวแทนจากสวนปลักหว้า ก�ำลังคนพัฒนาศักยภาพทางทักษะวิชาชีพ และเสริมสร้างประสบการณ์
วิสาหกิจชุมชนบ้านเห็ดร�ำแดง และวิสาหกิจชุมชนหม่อนผลแปรรูปกลุ่ม วิชาชพี ทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรม
ใตร้ ม่ บญุ รองคณบดแี ละคณาจารยจ์ ากคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร รว่ มเปน็ อาหาร ๓. เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาองคค์ วามรู้ งานวจิ ยั งานสรา้ งสรรค์
สักขีพยาน ซ่ึงการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ ในคร้ังนี้ เกิดขึ้น สง่ิ ประดษิ ฐน์ วตั กรรม และการดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นอนื่ ๆ เชน่ การฝกึ อบรม
เนอ่ื งจากหลกั สตู ร วท.บ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มีการ และการบริการวชิ าการแกส่ ังคม เป็นต้น ตามท่ที งั้ สองฝา่ ยเห็นสมควร

8

“สป.อว.” น�ำทมี ๔ เสือฯ

ลงนามความรว่ มมอื มรภ.สงขลา
พฒั นาสตูลสูค่ วามยง่ั ยืน

พรอ้ มภผานยกึใตกแ้ ำ� นลวังขทบัางเคกลาร่อื พนฒั อทุ นยาาBนCธGรณโี ลก

สป.อว. นำ� ทมี ๔ เสือในสังกดั อว. ลงนามความรว่ มมือ มรภ.สงขลา และ จ.สตลู ผนึก
ก�ำลัง ๖ หน่วยงานร่วมพัฒนาสู่ความย่ังยืน ภายใต้แนวทางการพัฒนา BCG พร้อมเดินหน้า
ขบั เคลอื่ นอุทยานธรณีโลกสตลู ให้ได้รบั การรบั รองตามมาตรฐาน UNESCO

เมอ่ื วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๕ สำ� นักงาน และความสามารถตามภารกจิ หลกั ของหนว่ ยงาน
ปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัย ท้ัง ๖ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา
และนวัตกรรม (สป.อว.) พร้อมด้วย กรม อุทยานธรณีโลกอย่างย่ังยืน ตลอดจนร่วมกัน
วิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) ส�ำนักงานการวิจัย พัฒนาบุคลากรในการขับเคล่ือนการด�ำเนินงาน
แหง่ ชาติ (วช.) และ สำ� นกั งานปรมาณเู พือ่ สนั ติ อทุ ยานธรณโี ลกของประเทศไทย และรว่ มกนั นำ�
(ปส.) ในนาม ๔ เสอื สงั กดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา ผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้าน BCG ไปใช้ใน
วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (อว.) ลงนาม การขับเคลื่อนการพัฒนาให้จังหวัดสตูลเป็นเขต
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาจังหวัด เศรษฐกิจพิเศษทางมรดกทางวัฒนธรรมบน
สตูลสู่ความย่ังยืน ภายใต้แนวทางการพัฒนา พน้ื ฐานอุทยานธรณีโลก
BCG ร่วมกบั มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.
สงขลา) นำ� โดย รศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี ท้ังน้ี หน่วยงานทั้ง ๖ จะร่วมมือกันใน
และจังหวัดสตูล น�ำโดย นายเอกรัฐ หลีเส็น การจัดท�ำแผนงาน/โครงการ กิจกรรมร่วมกัน
ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สตลู ณ ศาลากลางจงั หวดั สตลู และแลกเปล่ียนข้อมูลวิชาการระหว่างกัน เพ่ือ
พัฒนาให้อุทยานธรณีโลกสตูลได้รับการรับรอง
จุดมุ่งหมายส�ำคัญของการลงนามความ ตามหลักเกณฑ์ของ UNESCO รวมถึงร่วมกัน
รว่ มมอื ในครงั้ น้ี คอื การสง่ เสรมิ การนำ� องคค์ วามรู้ ศึกษา วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านอุทยาน
บรู ณาการศาสตรจ์ ากทกุ ฝา่ ย รว่ มกนั ใชท้ รพั ยากร ธรณีโลก เพื่อเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการ
ทอ่ งเทย่ี วระดบั สากล ควบคไู่ ปกบั การแลกเปลย่ี น
องค์ความรูแ้ ละบคุ ลากรรว่ มกัน เพอื่ สง่ เสริมให้
บุคลากรของหน่วยงานทั้ง ๖ ได้ใช้องค์ความรู้
ด้านวิชาการในการสนับสนุนให้ประชาชนใน
พ้ืนที่ได้ใช้ประโยชน์จากอุทยานธรณีโลกสตูล
อย่างย่งั ยืน

9

ผ้ตู รวจราชการ อว. ลงพนื้ ท่ี มรภ.สงขลา
ตรวจตดิ ตามและรบั ฟังผลการด�ำเนินงาน

“BCG MODEL”

มรภ.สงขลา เปิดบา้ นตอ้ นรับผตู้ รวจราชการ อว. ลงพืน้ ทต่ี รวจตดิ ตามและ
รบั ฟงั ผลการดำ� เนนิ งานตามวาระแหง่ ชาติ BCG MODEL พรอ้ มรว่ มหารอื ขบั เคลอ่ื น
พฒั นาประเทศดา้ นเศรษฐกจิ ทอ่ งเทย่ี ว เกษตรยง่ั ยนื การจดั การขยะเพอื่ สง่ิ แวดลอ้ ม
ในบทบาทสถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาท้องถิน่

เม่ือวันท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ดร.จันทร์เพ็ญ เมฆาอภิรักษ์
ผตู้ รวจราชการกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.)
พร้อมคณะ ลงพื้นที่ตรวจติดตามและรับฟังการรายงานผลการด�ำเนินงาน
ตามวาระแห่งชาติ BCG MODEL และ อว. ส่วนหน้า ซ่ึงเป็นการตรวจ
ราชการตามนโยบายและประเดน็ ยุทธศาสตรก์ ระทรวง เพอื่ การขบั เคล่อื น
แก้ปัญหา และพัฒนาประเทศในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจการท่องเที่ยว ผลติ เชอื้ เพลงิ จากขยะ (วศิ วกรอาสา) เปน็ ตน้ ซงึ่ มรภ.สงขลา ไดด้ ำ� เนนิ การ
ด้านเกษตรย่ังยนื และดา้ นการจัดการขยะเพอื่ ส่งิ แวดล้อม ในบทบาทของ โครงการตา่ ง ๆ อยา่ งหลากหลายและตอ่ เนอื่ งตามยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั
สถาบนั อุดมศึกษา ณ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ราชภฏั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรข์ องประเทศในการ
ในการนี้ รศ.ดร.ทัศนา ศริ โิ ชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา พรอ้ มดว้ ย ขบั เคลอ่ื นประเทศดว้ ย BCG MODEL
คณะผบู้ รหิ าร รว่ มใหข้ อ้ มลู ในประเดน็ เกยี่ วกบั การดำ� เนนิ ภารกจิ เชงิ บรู ณาการ นอกจากนน้ั ผ้ตู รวจราชการ อว. ยงั ได้ร่วมรับฟงั และหารอื กบั คณะ
กับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่แบบจตุภาคี อาทิ โครงการ ๑ คณะ ผ้บู ริหาร มรภ.สงขลา ด้านปัญหาและอปุ สรรคในการดำ� เนนิ การ พร้อมให้
๑ ชมุ ชนต้นแบบ โครงการจัดการขยะด้วยหลกั ๓ R โครงการเทคโนโลยี ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั การดำ� เนนิ งานของ มรภ.สงขลา ตอ่ ไป

มรภ.สงขลา เปิดบ้านต้อนรับส�ำนกั งาน ป.ป.ช. หารอื ขับเคลือ่ น

STRONG-องคก์ รพอเพียงต้านทจุ รติ (สถาบนั อดุ มศึกษา)

ส�ำนักงาน ป.ป.ช. เข้าพบผู้บริหาร มรภ.สงขลา พร้อมผู้แทน องค์กรภาครัฐ วิสาหกิจ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
มหาวิทยาลัย ร่วมประชุมหารือเพ่ือขับเคล่ือน STRONG- สถาบันอุดมศึกษา เป็นองค์กรพอเพียงต้านทุจริตด้วยกรอบแนวคิด
องค์กรพอเพยี งตา้ นทจุ ริต (สถาบนั อุดมศึกษา) รว่ มเป็นองค์กรแกนน�ำ STRONG จนกระทง่ั พฒั นาเปน็ วฒั นธรรมต้านทุจริต
สรา้ งวัฒนธรรมไมท่ นตอ่ การทุจริต
มงุ่ พฒั นาองคก์ รใหก้ า้ วไปขา้ งหนา้ ดว้ ยการประยกุ ตแ์ ละบรู ณาการ
เม่ือวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. น�ำโดย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้ากับการสร้างความโปร่งใส
รศ.ดร.มาณี ไชยธีรานวุ ัฒศิริ ท่ีปรึกษาประธานกรรมการ ป.ป.ช. เขา้ พบ การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและประโยชน์ส่วนรวม ตระหนักรู้และ
รศ.ดร.ทัศนา ศริ โิ ชติ อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ใฝ่รู้ปัญหาการทุจริต รวมท้ังร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอื้ออาทรบน
พร้อมด้วยคณะผู้บริหารและผู้แทนมหาวิทยาลัย ณ ห้องประชุมอรัญ พน้ื ฐานของจรยิ ธรรมและจติ พอเพยี ง เกดิ การปอ้ งปรามการทจุ รติ ในองคก์ ร
ธรรมโน ชน้ั ๘ อาคารอำ� นวยการ ส�ำนักงานอธิการบดี ร่วมประชมุ หารือ เพ่ือลดความส่ียงต่อการทุจริตในหน่วยงาน และเกิดเครือข่ายองค์กร
เพ่ือขับเคล่ือน STRONG-องค์กรพอเพียงต้านทุจริต (สถาบันอุดมศึกษา) พอเพียงต้านทุจริต ร่วมเป็นองค์กรแกนน�ำสร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการ
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ผลกั ดนั การปอ้ งกนั การทจุ รติ เชงิ รกุ ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ให้ ทุจรติ

10

มรภ.สงขลา เปิดเวทีวิพากษ์ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาฯ ระยะ ๕ ปี
เทียบเชิญกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมแสดงความคิดเห็น

มรภ.สงขลา จัดโครงการวพิ ากษ์ (รา่ ง) แผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาฯ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) เทยี บเชญิ บุคลากร
ภายในและหน่วยงานภายนอก ในฐานะกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ร่วมแสดงความคิดเห็น หวังสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงาน ปทู างสูก่ ารพฒั นาทอ้ งถิน่ รว่ มกนั

รศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ. รศ.ดร.ทัศนา กล่าวว่า มรภ.สงขลา ให้ความส�ำคัญต่อการท�ำงาน
สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ มรภ.สงขลา จดั โครงการ พัฒนาท่ีตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน ดังจะเห็น
วพิ ากษ์ (รา่ ง) แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะ ไดจ้ ากการทำ� งานวจิ ยั และการบรกิ ารวชิ าการทอี่ ยบู่ นพนื้ ฐานความตอ้ งการ
๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) เพอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของกลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของชุมชน ตัวอย่างเช่น ร่วมขับเคลื่อนสงขลาเมืองมรดกโลก ร่วมกับ
ของมหาวิทยาลัย ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ มหาวิทยาลัยในพ้ืนท่ี หนว่ ยงานเครอื ขา่ ยจดั อบรมโนราใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนในพน้ื ทจ่ี งั หวดั สตลู
คณะผ้บู รหิ าร บุคลากร และผูแ้ ทนนักศึกษา เขา้ มารับรแู้ ผนยทุ ธศาสตรฯ์ เป็นต้น ตนจึงอยากให้ผูท้ เ่ี ข้าร่วมโครงการวพิ ากษ์ฯ ในครงั้ นี้ ช่วยกนั ทำ� ให้
และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ฯ ของ มรภ.สงขลา ใน ๕ ปีข้างหน้ามคี วามชัดเจน ชว่ ยกัน
การพฒั นา มรภ.สงขลา โดยมกี ารเชญิ ผแู้ ทนจากหนว่ ยงานภายนอกเขา้ รว่ ม เตมิ เตม็ ซงึ่ กนั และกนั เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นามหาวทิ ยาลยั และทอ้ งถนิ่
โครงการวิพากษ์ฯ ดงั น้ี ๑. มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ๒. มหาวทิ ยาลยั อยา่ งแทจ้ รงิ
หาดใหญ่ ๓. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ๔. มหาวิทยาลัย
ทกั ษิณ ๕. องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั สงขลา ๖. เทศบาลเมืองเขารูปช้าง โอกาสเดียวกันน้ี ผศ.ดร.วีระชัย แสงฉาย รองอธิการบดีฝ่าย
๗. เทศบาลตำ� บลเกาะแตว้ ๘. เทศบาลต�ำบลกำ� แพง ๙. ส�ำนักงานพัฒนา วางแผนและงบประมาณ ไดน้ ำ� เสนอขอ้ มลู พนื้ ฐานของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ฝีมือแรงงานสตูล ๑๐. เกษตรและสหกรณ์จังหวดั สตูล สงขลา และนำ� เสนอ (รา่ ง) แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สงขลา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) รวมถึงด�ำเนินรายการรับฟัง
ความคดิ เหน็ จากผเู้ ขา้ รว่ มการประชมุ ในครงั้ นฯ้ี เพอ่ื ทางมหาวทิ ยาลยั จะได้
น�ำข้อมูลที่ได้รับไปจัดเตรียมแผนการท�ำงานสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
ระหวา่ งหนว่ ยงาน ลดความซ�ำ้ ซ้อนของงาน และช่วยกนั ทำ� งานเพ่อื พัฒนา
ทอ้ งถ่ินร่วมกนั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลต่อไป

มรภ.สงขลา เสรมิ สร้างทกั ษะฯ ระเบียบการเงินงานคลงั เทยี บเชญิ วทิ ยากร

กรมบัญชกี ลาง-ส�ำนักตรวจเงนิ แผน่ ดิน จ.สงขลา ถ่ายทอดความรู้

งานคลัง มรภ.สงขลา จัดโครงการเสริมสร้างทักษะและ
เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพเก่ียวกบั ระเบยี บการเงนิ งานคลัง เชญิ วทิ ยากร
กรมบญั ชกี ลางและสำ� นกั ตรวจเงนิ แผน่ ดนิ จ.สงขลา รว่ มบรรยาย
ใหค้ วามรู้

GTheeneCroaml’spDtreopllearrtment เม่อื วนั ท่ี ๒๖-๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ งานคลัง กองกลาง
ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จัด
โครงการ “การเสริมสร้างทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพเกี่ยวกับ
ระเบยี บการเงนิ งานคลงั ” ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นระบบ zoom โดย
ไดร้ บั เกยี รติจาก รศ.ดร.ทัศนา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา เป็น
ประธานในพิธี

ท้งั นี้ งานคลงั ได้เชญิ วทิ ยากรจากกรมบัญชกี ลาง และส�ำนักตรวจเงนิ แผ่นดนิ จงั หวดั สงขลา ร่วมบรรยายให้ความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระเบยี บวิธี
ปฏิบัติด้านการเงินการคลัง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัศนคติ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการเงินการคลัง เพื่อให้
ผ้เู ข้าร่วมโครงการสามารถนำ� ความร้ทู ีไ่ ดไ้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ แก่ทางราชการ

11

สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มรภ.สงขลา รว่ มกบั วทิ ยาลยั ชมุ ชนสตลู จดั อบรมฝกึ ซอ้ มและ
ถา่ ยทอดรำ� โนราใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนพนื้ ทสี่ งขลา พทั ลงุ สตลู ในโครงการเรยี นรดู้ า้ นศลิ ปวฒั นธรรมฯ
สง่ เสริมความรกั สามัคคี ความมีระเบียบวนิ ัยและจติ ส�ำนึกรกั ษ์ท้องถ่นิ

สำ� นักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ตนเองและผอู้ นื่ ภายใตพ้ น้ื ฐานของประชาธปิ ไตย
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ร่วมกับวิทยาลัย อันมพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมขุ ผา่ นการเรยี นรู้
ชุมชนสตูล (วชช.สตูล) จัดโครงการเรียนรู้ด้าน จากศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในท้องถ่ินตน
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยมเี ครอื ขา่ ยดา้ นคณุ ธรรมใน ๓๔ อำ� เภอ จำ� นวน
ส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ความมีระเบียบ ๑๖๕ คน และ ประชาชนจาก ๓๔ อ�ำเภอ จำ� นวน
วนิ ัยและจติ สำ� นกึ รักษท์ ้องถิ่น กิจกรรมอบรมเชงิ ๔๐๐ คน ในพืน้ ทีจ่ ังหวดั สงขลา พัทลุง และสตลู
ปฏิบัติการ ส่งเสริมความรักความสามัคคีความมี เข้าร่วมโครงการ
ระเบยี บวนิ ยั เขา้ ใจสทิ ธหิ นา้ ทข่ี องตนเองและผอู้ นื่
ผา่ นศลิ ปะการแสดงพนื้ บา้ นภาคใต้ “โครงการฝกึ ซอ้ ม
และถ่ายทอดท่าร�ำโนรา” ระหว่างวันท่ี ๒๔-๒๗
พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ อาคารศูนย์วิทยบริการ
วทิ ยาลยั ชุมชนสตลู จงั หวัดสตลู โดยได้รบั เกียรติ
จาก นายเอกรฐั หลเี สน็ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สตลู
เป็นประธานในพิธีเปิด วิทยากรโดย ครูควน
ทวนยก ศิลปินแหล่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง
(ดนตรีพ้ืนบ้าน) พุทธศักราช ๒๕๕๓ พร้อมทีม
วิทยากรจากส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสงขลา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม โครงการ “ส่งเสริมความรักสามัคคี ความมี
คณะทำ� งานจากสำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มรภ.สงขลา มรภ.สงขลา กล่าวอีกว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระเบยี บวนิ ยั เขา้ ใจสทิ ธหิ นา้ ทขี่ องตนเองและผอู้ นื่ ”
น�ำโดย ดร.บรรจง ทองสร้าง ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั ทั้ง ๓๘ แหง่ ทัว่ ประเทศ เป็นสถาบันอดุ มศกึ ษา เพ่ือส่งเสริมสร้างจิตส�ำนึกของคนในชาติให้มี
ศิลปะและวัฒนธรรม และคณะท�ำงานจาก เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีขอบเขตพื้นท่ีให้บริการ ความหวงแหนและธำ� รงรกั ษาสถาบนั ชาติ ศาสนา
วิทยาลยั ชมุ ชนสตูล รว่ มดำ� เนนิ กิจกรรม ทางการศึกษาครอบคลุมทั่วทุกจังหวัด ตระหนัก พระมหากษัตริย์ ส่งเสริมความรักความสามัคคี
ถึงความส�ำคญั และความจำ� เป็นต่อการขบั เคลอ่ื น ความมรี ะเบยี บวนิ ัย เขา้ ใจสทิ ธิหนา้ ท่ีตนเองและ
ดร.บรรจง ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า เครือข่ายในการส่งเสริมความรักความสามัคคี ผู้อ่ืนภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมี
วัตถปุ ระสงค์หลักของการจดั งานในคร้งั น้ี เพือ่ ให้ ความมีระเบยี บวนิ ัย เข้าใจสทิ ธิหนา้ ทต่ี นเองและ พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ อนั จะนำ� ไปสสู่ งั คมที่
เครือข่ายคุณธรรมท่ีเข้าร่วมโครงการน�ำความรู้ ผอู้ น่ื ภายใตพ้ นื้ ฐานของสงั คมของคนในชาติ โดยนำ� มีความรัก ความเข้าใจ เอ้ืออารตี ่อกนั สรา้ งความ
และประสบการณท์ ไี่ ดร้ บั ไปขยายผลหรอื เผยแพร่ รูปแบบการด�ำเนินงานในการสร้างภาคีเครือข่าย เป็นปึกแผ่นในชาติโดยรวมอย่างมั่นคงและยั่งยืน
ต่อคนในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างความรัก เพอ่ื ก่อให้เกดิ ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนอย่างยงั่ ยืน ในสังคม
สามคั คี ความมรี ะเบยี บวนิ ยั เขา้ ใจสทิ ธหิ นา้ ทข่ี อง ท่สี ามารถด�ำเนินการไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม ภายใต้

12

มรภ.สงขลา จัดกจิ กรรมนักพฤกษศาสตร์รนุ่ เยาว์

กบั การส�ารวจฐานทรัพยากรท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์

มรภ.สงขลำ จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ำรนกั พฤกษศำสตรร์ นุ่ เยำวก์ บั กำรสำ� รวจ คณุ คา่ และการพงึ่ พาการใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยรู่ อบ ๆ ตวั โดยมี ผศ.ดร.สำยฝน
ฐำนทรัพยำกรท้องถิ่นและกำรใชป้ ระโยชน์ ใหแ้ ก่นกั เรยี นโรงเรียนสำธติ ภำยใต้ ไชยศรี ประธานอนุกรรมการ อพ.สธ. กล่าวถึงการจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี
โครงกำรอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพชื อันเน่อื งมำจำกพระรำชดำ� รฯิ และ อำจำรย์ ดร.พรรณี ผุดเกตุ รักษาราชการแทนผู้อ�านวยการโรงเรียน
สาธติ มรภ.สงขลา กลา่ วเปดิ งาน
เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจาก
พระราชด�าริ : การรวบรวมการขยายพันธุ์ การใช้ประโยชน์ และจัดท�าบัญชี ชนิด ส�าหรับวิทยากรให้ความรู้ในกิจกรรมน้ีน�าทีมโดย ดร.เบญจวรรณ
พันธุ์พืชหายากใกล้สูญพันธุ์ พืชคุกคาม พืชเฉพาะถ่ิน พืชสมุนไพร และพันธุ์ข้าว ยนั ต์วเิ ศษภกั ดี อำจำรย์อรนชุ สุขอนันต์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พ้ืนเมืองภาคใต้ตอนล่าง จัดกิจกรรมท่ี ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการ นักพฤกษศาสตร์ และ ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งกิจกรรมนี้
รุ่นเยาวก์ ับการส�ารวจฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ และการใชป้ ระโยชน์ ณ โรงเรียนสาธิต ด�าเนินงานภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงเรียนสาธิต มรภ.สงขลา
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้นกั เรียนไดร้ บั ความรู้ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร และสถาบนั วจิ ยั
ความเข้าใจเก่ียวกับการส�ารวจฐานทรัพยากรท้องถ่ินและการใช้ประโยชน์ เห็นถึง และพัฒนา

“Life Di Center”

จุฬาฯ ผนึกก�าลงั คณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา

สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ทางวชิ าการ ส่งเสริมคุณภาพชวี ติ ชุมชน

ศนู ยจ์ ติ วทิ ยำพฒั นำกำรและควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งวยั วิจัยและงานสร้างสรรค์ อำจำรย์ชัยวัฒนภัทร
จุฬำฯ (Life Di Center CU) ลงพ้นื ท่ี จ.สงขลำ สร้ำง เลำสัตย์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา บริการ
เครือข่ำยควำมร่วมมือทำงวิชำกำรคณะศิลปกรรม วชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธ์ สถานพนิ จิ และคมุ้ ครอง
ศำสตร์ มรภ.สงขลำ สถำนพินิจและคุ้มครองเด็กฯ เด็กและเยาวชนจังหวัดสงขลา น�าโดย นำงสุมนำ
ผนกึ ก�ำลงั ส่งเสริมคุณภำพชวี ติ ชุมชน จงรงุ่ โรจน์ อดตี ผู้อา� นวยการฯ พร้อมคณะ ใหก้ าร
เม่ือวันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๖๕ รศ.ดร.พรรณระพี ตอ้ นรบั
สุทธิวรรณ ผู้อ�านวยการศูนย์จิตวิทยาพัฒนาการและ ในการน้ี ทั้ง ๓ ฝ่ายได้ประชุมหารือถึงการ นอกจากน้ัน ยังเป็นการสร้างเครือข่าย
ความสัมพันธ์ระหว่างวัย รศ.ดร.สมโภชน์ เอ่ียมสุภำษิต สร้างความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน ในการ ความร่วมมือในการน�าองค์ความรู้ในศาสตร์
ศ.ดร.อรัญญำ ตุ้ยคัมภีร์ ผศ.ดร.เรวดี วัฒกโกศล ผสมผสานองค์ความรู้ข้ามศาสตร์ (Integration) ด้านจติ วิทยาพฒั นาการ ผสมผสานกบั องค์ความรู้
พร้อมด้วยคณาจารย์และคณะท�างานจากศูนย์จิตวิทยา และตอ่ ยอดไปสกู่ ารทา� กจิ กรรมและโครงการตา่ ง ๆ ในสาขาอืน่ ๆ ตอ่ ยอดไปสกู่ ารบริการสังคม เพอื่
พัฒนาการและความสัมพันธ์ระหว่างวัย (Psychology ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ชุมชน เสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้กับสังคมไทย และ
Center for Life-Span Development and และสังคมในอนาคตอันใกล้ ซ่ึง Life Di Center เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
Intergeneration - Life Di Center) คณะจิตวิทยา จดั ตง้ั ขน้ึ ตามนโยบายของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตลอดจนเปิดให้บริการทางวิชาการในด้าน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดินทางลงพื้นที่จังหวัดสงขลา โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์ฯ จติ วิทยาพัฒนาการแก่บคุ คลทั่วไป
เพ่ือสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับคณะ ทมี่ คี วามเชยี่ วชาญในดา้ นการวจิ ยั และมงุ่ บรู ณาการ
ศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) งานวิจัยกับการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม สนใจข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับ Life Di
น�าโดย ผศ.วีระศักดิ์ อักษรถึง คณบดี ดร.สุทธิรักษ์ ผ่านการอบรมให้ความรู้ มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ Center คลิกได้ท่ี www.chulalifedi.com
เอยี ดปมุ่ รองคณบดฝี า่ ยนโยบายแผนงานและการประกัน ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะเพื่ออนาคต แก่ผู้รับ หรือ Facebook : Chulalifedi หรอื สอบถำม
คณุ ภาพ ผศ.ดร.จรรยส์ มร ผลบญุ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ บรกิ าร ข้อมลู ที่ Line ID : @chulalifedi

13

คณะครฯุ มรภ.สงขลา ปฐมนเิ ทศเตรียมความพร้อม
นศ.ครู หลกั สตู ร 4 ปี ก่อนออกฝกึ สอน

คณะครุศำสตร์ มรภ.สงขลำ ปฐมนิเทศนกั ศึกษำหลักสตู รครุศำสตรบัณฑิต หลกั สูตร ๔ ปี
ก่อนออกปฏบิ ตั ิกำรสอน มุ่งส่งเสรมิ ควำมเปน็ ครู ควบคู่ปลูกฝังแนวปฏบิ ตั ิท่ีดี

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) จัดปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตร
ครศุ าสตรบณั ฑติ (หลกั สตู ร ๔ ป)ี ชน้ั ปที ่ี ๑-๔ ณ หอประชมุ เฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ มรภ.สงขลา
โดยไดร้ ับเกียรติจาก รศ.ดร.ทศั นำ ศริ โิ ชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา เปน็ ประธานในพิธเี ปิด เพื่อเตรียม
ความพร้อมและแนวปฏิบัติที่ดีก่อนออกปฏิบัติการสอน จ�านวน ๔ รุ่น ในระหว่างวันที่ ๕-๖ และ
๑๘-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ซ่งึ การจดั กิจกรรมในครัง้ นี้มงุ่ หวังใหน้ ักศกึ ษาหลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ
ได้รับความรเู้ กยี่ วกบั แนวปฏิบัติท่ีดขี องนักศึกษาปฏิบตั ิการสอน ตลอดจนส่งเสริมความเป็นครู

ภายในงานมกี ารบรรยายพเิ ศษ “คณบดพี บลกู ๆ นกั ศกึ ษา” โดย ผศ.ดร.ศรตุ พิ งศ์ ภวู ชั รว์ รำนนท์
คณบดีคณะครศุ าสตร์ การบรรยายเรื่อง “การปฐมนิเทศกระบวนการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ๑
(หลักสูตร ๔ ปี)” วิทยากรโดย อำจำรย์วรรณี กองพิธี รองคณบดีฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การบรรยายเรื่อง “บุคลิกภาพและการวางตนของครูฝึกสอน” วิทยากรโดย ผศ.อดุลย์ หวังจิ
อำจำรย์ ดร.มนตรี เด่นดวง การตรวจบุคลิกภาพ ความพร้อมก่อนออกฝึกฯ (รายกลุ่มห้องเรียน
เปน็ รายบคุ คล) โดยคณาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบ ท้งั น้ี เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชีพ หลกั สูตร ๔ ปี
ของครุ สุ ภา ทกี่ า� หนดใหน้ กั ศกึ ษาครตู อ้ งมชี ว่ั โมงฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ระหวา่ งเรยี นและการปฏบิ ตั กิ ารสอน
ในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๕๔๐ ชว่ั โมง

ครฯุ มรภ.สงขลา

อบรมพฒั นาทักษะการเปน็ วทิ ยากร
สา� หรับศูนย์เครือขา่ ย ศพก.

(ดา้ นปศสุ ัตว์)

คณะครุศำสตร์ มรภ.สงขลำ จบั มือศูนยก์ ำรเรยี นรู้
กำรเพ่ิมประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร จัดอบรม
“พฒั นำทักษะกำรเปน็ วิทยำกรส�ำหรับศูนย์เครอื ข่ำย ศพก.
(ดำ้ นปศสุ ัตว์)”

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.
สงขลา) ร่วมกบั ศนู ยก์ ารเรยี นร้กู ารเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิต
สนิ ค้าเกษตร (ศพก.) เครือข่ายดา้ นปศสุ ัตว์ จดั โครงการอบรม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สตู ร “พฒั นาทกั ษะการเปน็ วทิ ยากรสา� หรบั
ศูนย์เครือข่าย ศพก. (ด้านปศุสัตว์)” ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
ระหว่างวันที่ ๒๔-๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุม
ไพโรจน์ ด้วงวิเศษ คณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา โดยมี
นำยสัตวแพทย์บรรจง จงรักษ์วัฒนำ ปศุสัตว์เขต ๙
เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ และ ผศ.ดร.ศรุติพงศ์ ภวู ชั รว์ รำนนท์
คณบดีคณะครุศาสตร์ กล่าวต้อนรับผู้เข้ารับการอบรม โดย
ได้รบั เกยี รตจิ าก ผศ.นิตยำ ธัญญพำณิชย์ และคณะ
ในการเป็นวทิ ยากรคร้ังนี้

14

มรภ.สงขลา จัดกิจกรรม

“เตมิ วทิ ย์ คิดสนุก...
กับวิทย์รอบตัว”

ชวนคุณคร-ู นร.มธั ยมปลาย ทดลองเรยี น
พร้อมรับประกาศนยี บตั รออนไลน์

คณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มรภ.สงขลำ ทั้งนี้ ในช่วงเดือนมีนาคม ท่ีผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดกิจกรรม
จดั กิจกรรม “เติมวิทย์ คดิ สนุก...กบั วทิ ยร์ อบตวั ” ชวนคณุ ครู “เตมิ วิทย์ คิดสนุก...กับวทิ ย์รอบตวั EP๑” ใน ๗ หัวขอ้ ไดแ้ ก่ ครัง้ ท่ี ๑ “การท�าปุ๋ยหมักจาก
นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย และบคุ คลทว่ั ไป รว่ มทดลองเรยี น วสั ดเุ หลือใช้ทางการเกษตร” วันเสาร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๕ โดย อ.เซเลปโต้ง (ทล.บ.นวัตกรรม
พรอ้ มรบั ประกำศนียบัตรในรปู แบบออนไลน์หลงั เรียนจบ การเกษตรเพื่อความยั่งยืน) คร้ังท่ี ๒ “ไบโอเทคกับการสกัดดีเอ็นเอ” วันเสาร์ท่ี ๑๒ มีนาคม
๒๕๖๕ โดย อ.แม่อ้อม (วท.บ.เทคโนโลยชี วี ภาพ) ครั้งท่ี ๓ “การทา� แม่พมิ พด์ ว้ ยยางซลิ โิ คน”
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วันอาทิตย์ที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๕ โดย อ.พ่เี อก และ อ.พเ่ี ก่ง (วท.บ.วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์เชงิ
สงขลา (มรภ.สงขลา) จดั กิจกรรม “เตมิ วิทย์ คดิ สนุก...กบั วทิ ย์ อุตสาหกรรม เทคโนโลยียางและพอลิเมอร์) ครั้งที่ ๔ “การแสดงการส่ือสารด้วยระบบ IOT”
รอบตัว” เปิดโอกาสให้คุณครูทุกระดับช้ัน นักเรียนระดับ วนั อาทติ ย์ท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๕ โดย อ.ตา้ วหรง่ั และ อ.ตา้ วนกิ (วท.บ.วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ - ม.๖) และบุคคลทั่วไปที่สนใจ เชิงอตุ สาหกรรม ฟสิ ิกส์ประยกุ ต์) ครัง้ ท่ี ๕ “ถงั ขยะไม่มีวันเตม็ ” วนั เสารท์ ่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๕
เข้าร่วมทดลองเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom โดยไม่เสีย โดย อ.ท่านชายวิน (วท.บ.วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) ครั้งท่ี ๖ “สปาเพ่ือสุขภาพกับมาร์คหน้า
ค่าใช้จ่ายใด ๆ พร้อมรับประกาศนียบัตรในรูปแบบออนไลน์ ทองค�า” วันเสาร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๕ โดย อ.น้องออย อ.น้องจุ๋ม และ อ.น้องอ้อม
หลังทดลองเรียน ซ่ึงในเดือนเมษายนจัดท้ังหมด ๓ หัวข้อ (วท.บ.วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพและสปา) คร้งั ที่ ๗ “การทา� นา้� ยาล้างจานจากน้�าข้เี ถ้าและวสั ดจุ าก
โดยหลกั สูตรตา่ ง ๆ ดังน้ี ธรรมชาต”ิ วันอาทิตย์ที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๕ โดย อ.เนเน่ และ อ.นงุ้ นัน (วท.บ.เคม)ี

ครั้งท่ี ๑ หัวข้อ “รู้ทันภัยโลกไซเบอร์” วันเสาร์ท่ี ๙
เมษายน ๒๕๖๕ เวลา ๐๙.๓๐-๑๒.๐๐ น. โดย ทีมวิทยากร
Comsci-Hacker (หลักสูตร วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร์)
คร้ังท่ี ๒ หัวข้อ “AI ปัญญาประดิษฐ์...เพ่ือนสนิทของฉัน
ในอนาคต” วันเสาร์ท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๖๕ โดย ทีมวิทยากร
Comsci-AI (หลักสูตร วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร์) ครั้งท่ี ๓
หัวขอ้ “ของเลน่ ฟสิ ิกสใ์ นชีวิตประวัน” วันเสารท์ ี่ ๓๐ เมษายน
๒๕๖๕ โดย อ.จ๊ะเอ๋ และ อ.พ่ีปอ๋ ง (หลกั สตู ร คบ.ฟิสิกส์)

มรภ.สงขลา วิทยาเขตสตลู จดั อบรม

“อนรุ กั ษ์ สบื สานต่อยอดภมู ิปญั ญาสานไม้ไผ่
ส่กู ารสรา้ งมูลคา่ ของชมุ ชน”

เมอ่ื วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ นกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั นวตั กรรมและการจดั การ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) วิทยาเขตสตูล ร่วมเรียนรู้ฝึกทักษะ
ภูมิปัญญาการสานไม้ไผ่ ในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “อนุรักษ์ สืบสานต่อยอด
ภมู ปิ ญั ญาการสานไมไ้ ผ่ สกู่ ารสรา้ งมลู คา่ ของชมุ ชน” ณ อาคารเรยี นรวม มรภ.สงขลา
วิทยาเขตสตูล อ.ละงู จ.สตูล ซึ่งนักศึกษาที่เข้าร่วมอบรมสามารถน�าความรู้ที่ได้รับ
ไปตอ่ ยอดในการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑห์ รอื ผลิตภณั ฑ์สร้างสรรค์ไดต้ อ่ ไป

15

“เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม” มรภ.สงขลา

เดินหน้าพัฒนาหลกั สตู รตามมาตรฐาน OBE AUN

ปัน้ บณั ฑติ เชยี่ วชาญศาสตรด์ ้านอตุ สาหการ สอดรบั ตามความตอ้ งการตลาดงาน

คณะเทคโนโลยีอตุ สำหกรรม มรภ.สงขลำ สัมมนำเตรยี มควำมพรอ้ ม ทงั้ นี้ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ หลกั สตู รหลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ า
พฒั นำหลักสตู รตำมมำตรฐำน OBE AUN มุ่งผลิตนกั ศึกษำเช่ียวชำญศำสตร์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๕๗ มีการปรับปรุงหลักสูตร ตาม มคอ.๑
ด้ำนอตุ สำหกำร ตรงตำมควำมตอ้ งกำรของผใู้ ช้บัณฑิต ควบคจู่ ดั ท�ำรำยวิชำ ภายใต้หลักการท่ีว่าสถาบันการศึกษาที่เปิดให้บริการต้องผ่านการรับทราบจาก
ตำ่ ง ๆ ให้มีเน้ือหำทันสมยั กำ้ วทันควำมก้ำวหนำ้ ทำงวทิ ยำกำร สา� นักงานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา และมีการปรับปรุงทกุ ๕ ปี โดยผู้รับผดิ ชอบ
หลกั สตู รตอ้ งมกี ารออกแบบหลกั สตู ร ควบคมุ กา� กบั การจดั ทา� รายวชิ าตา่ ง ๆ ใหม้ ี
ดร.กันตภณ มะหำหมัด คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เน้ือหาที่ทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงการจัดสัมมนาเตรียม มีการบริหารจัดการการเปิดรายวิชาต่าง ๆ ทั้งวิชาบังคับและวิชาเลือกที่เน้น
ความพรอ้ มการพฒั นาหลกั สตู รตามมาตรฐาน OBE AUN เมอื่ วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม นกั ศกึ ษาเปน็ สา� คญั โดยตอบสนองความตอ้ งการของนกั ศกึ ษาและตลาดแรงงาน
๒๕๖๕ ณ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา วา่ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ปรบั ปรงุ
หลักสูตรให้ทันสมัย มีความก้าวหน้าในศาสตร์ด้านอุตสาหการ สอดคล้องตาม ส�าหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ต้องเน้นการพัฒนาทักษะด้านการ
ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างแท้จริง และสอดคล้องตามมาตรฐาน OBE วิจัยและการเรียนรู้ด้วยตนเอง และให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนเน้ือหาในรายวิชา
AUN ตลอดจนเพ่ือให้อาจารย์ได้พัฒนาทักษะด้านวิชาการท่ีทันสมัยและ ให้ทันสมัย โดยปรับเปลี่ยนชื่อเป็นหลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหการ และเปิดรับ
จ�าเป็นต่อการเรียนการสอนในหลักสูตร โดยได้เชิญ อำจำรย์เอมอร อ่ำวสกุล นกั ศกึ ษาใหมใ่ นปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เปน็ ปแี รก หลกั สตู รมกี ารบรู ณาการรายวชิ า
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา มาเปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดความรู้ ของเทคโนโลยีการผลิตควบคู่กับเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม เพื่อให้
ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องกับ มคอ.๑ โดย
ด้าน ผศ.คลุ ยำ ศรโี ยม ประธานหลกั สูตร ทล.บ.เทคโนโลยีอตุ สาหการ หลักสูตรได้ผา่ นการอนมุ ัติจากสภามหาวิทยาลยั เม่อื วันที่ ๒๐ ตลุ าคม ๒๕๖๑
มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า หลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหการเล็งเห็น และผา่ นการอนมุ ตั จิ าก สกอ. เม่ือวนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔
ความส�าคัญของการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ไปของอุตสาหกรรมในยุคปัจจุบันและอนาคต เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ หลกั สตู รมกี ารจดั การเรยี นการสอนตอ่ เนอ่ื งมาเปน็ ระยะเวลา ๓ ปี มกี าร
ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ส่งนักศึกษาไปฝึกปฏิบัติสหกิจศึกษาในสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง
บัณฑิตอยา่ งแทจ้ รงิ จึงได้เนน้ การพัฒนานกั ศกึ ษาในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเปน็ ตลอดระยะเวลา ๓ ปที ผี่ า่ นมา ซึ่งในปีการศึกษา ๒๕๖๖ หลักสูตรจะครบรอบ
ทักษะด้านความรู้ ทักษะด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรม ทักษะด้านภาษาอังกฤษ การปรบั ปรุงหลักสตู รทุก ๆ ๕ ปี และได้รับการคดั เลือกใหเ้ ปน็ หนง่ึ ในหลักสตู ร
รวมถึงทักษะด้านการพัฒนาอาชีพของตนเอง ซ่ึงเป็นสิ่งส�าคัญท่ีนักศึกษา ทต่ี อ้ งมกี ารประเมนิ ประกนั คณุ ภาพตามมาตรฐาน AUN-QA ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕
จะตอ้ งมกี อ่ นจบ เพอื่ สะทอ้ นถงึ ความกา้ วหนา้ ขน้ึ ไปอยา่ งไมห่ ยดุ นง่ิ ของนกั ศกึ ษา ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรมีคุณภาพ จึงมีการจัดโครงการสัมมนาในครั้งน้ีขึ้น
ก่อนส�าเร็จการศึกษา และถือเป็นส่วนหน่ึงในการสะท้อนถึงความก้าวหน้า เพ่ือเตรียมความพร้อมในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องตามความต้องการ
ในการท�างานทแ่ี สดงถงึ ความเติบโตในสายอาชพี ของตน ของผ้ใู ชบ้ ัณฑิตและสอดคลอ้ งตามมาตรฐาน OBE AUN

16

มรภ.สงขลา พฒั นาภาษาองั กฤษ และสอบวัดสมรรถนะ

ตามมาตรฐาน CEFR สา� หรับนกั ศกึ ษาและบคุ ลากร

สำ� นกั วทิ ยบรกิ ำรฯ มรภ.สงขลำ พฒั นำทกั ษะภำษำและสอบวดั สมรรถนะตำมมำตรฐำน CEFR
สำ� หรับนกั ศึกษำและบคุ ลำกร ภำยใต้โครงกำรยทุ ธศำสตร์มหำวิทยำลยั รำชภฏั เพื่อกำรพฒั นำทอ้ งถน่ิ
หวังสรำ้ งควำมตระหนักร้ถู งึ ควำมสำ� คัญของภำษำอังกฤษตอ่ กำรประกอบอำชพี ในอนำคต

อำจำรยเ์ สรี ชะนะ ผอู้ า� นวยการสา� นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ส�านักวิทยบริการฯ โดยงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษา จัดโครงการ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการสอบวัด
สมรรถนะตามมาตรฐาน CEFR ส�าหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ประจ�าปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ ระหว่างวันท่ี ๒๕-๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและการสอบวัดสมรรถนะ
ตามมาตรฐาน CEFR ส�าหรับนักศึกษารหัส ๖๒, ๖๓, ๖๔ และ ๖๕ จ�านวน ๗,๔๓๙ คน โดยได้รับเกียรติจาก
รศ.ดร.ทัศนำ ศริ ิโชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา เปน็ ประธานในพธิ ีเปิด และใหโ้ อวาทแกน่ ักศกึ ษา
ส�าหรับโครงการดังกล่าว เป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า
เจ้าอยู่หัว จัดขึ้นเพ่ือประเมินความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานด้านภาษาอังกฤษของนักศึกษา และบุคลากร
เพอ่ื กระตนุ้ ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามตระหนกั รถู้ งึ ความสา� คญั ของภาษาองั กฤษตอ่ การประกอบอาชพี ในอนาคต โดยมตี วั แทน
จาก บริษัท EduSoft จา� กัด เป็นวทิ ยากรให้ความรู้เกย่ี วกบั การใชง้ านโปรแกรม English Discoveries และการสอบ
วัดสมรรถนะตามมาตรฐาน CEFR ในรูปแบบออนไลน์ ผ่าน Youtube Live ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษา
มรภ.สงขลา เข้าร่วมฟงั การบรรยายดว้ ยบรรยากาศท่ีได้ทงั้ สาระความรแู้ ละความสนกุ สนาน

EvมรภEe.สnงrขลygา จldัดiอบsaรมhy สำ� นกั วทิ ยบรกิ ำรฯ มรภ.สงขลำ จดั อบรม “Everyday English” ใหบ้ คุ ลำกรสำยวชิ ำกำร
และสำยสนบั สนนุ เทียบเชิญวทิ ยำกรจุดประกำยสรำ้ งแรงบนั ดำลใจ ถ่ำยทอดเทคนคิ กำรสอ่ื สำร
เรยี นร้.ู .. ภาษาอังกฤษรอบตวั ภำษำองั กฤษในชวี ติ ประจำ� วนั และกำรปฏิบัติงำน

อำจำรย์เสรี ชะนะ ผูอ้ �านวยการสา� นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ส�านักวิทยบริการฯ โดยงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษา
จดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง “Everyday English” ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นโปรแกรม ZOOM
สา� หรบั บคุ ลากรสายวชิ าการและสายสนบั สนนุ มรภ.สงขลา ในวนั ที่ ๑๑ และ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕
เพ่ือเพิ่มเติมความรู้ความสามารถและช่วยให้มีความม่ันใจในการใช้ภาษาอังกฤษ อันจะเป็นการช่วย
เพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและเป็นประโยชน์ในการพัฒนาหน่วยงาน โดยได้เชิญวิทยากร
อำจำรยศ์ ภุ ณฐั เพช็ รรกั ษ์ ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยบรหิ าร คณะการบรกิ ารและการทอ่ งเทย่ี ว มหาวทิ ยาลยั
สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภเู กต็ มาบรรยายและฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารภาษาองั กฤษรอบตวั สรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ในการฝึกภาษาอังกฤษผ่านส่ือในชีวิตประจ�าวันจาก Line Facebook ข่าว เพลง ซีรีส์ เรียนรู้
ความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาองั กฤษกบั ภาษาไทย เชน่ การสรา้ งประโยค การออกเสยี ง การใหค้ วามสา� คญั
กับเวลา ฝึกการบอกต�าแหน่งของสถานที่และการบอกเส้นทาง ฝึกการวางแผน เสนอความคิดเห็น
และนา� เสนอผลงานผ่านการสรา้ งประติมากรรม

ด้าน อำจำรย์ ดร.นิสิตำ ฤทธำภิรมย์ รองผู้อ�านวยการส�านักวิทยบริการฯ มรภ.สงขลา
ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศที่มีบทบาทส�าคัญอย่างมากในการ
ปฏิบตั งิ านและการใชช้ ีวิตประจา� วนั แตจ่ ากผลการสา� รวจพบวา่ ทักษะทางภาษาองั กฤษของคนไทย
ยังอยู่ในระดับท่ีไม่ดีนัก โดยเฉพาะทักษะการพูดและการฟัง อันเป็นทักษะพื้นฐานในการส่ือสาร
งานศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษา เล็งเห็นถึงความส�าคัญ ความจ�าเป็น และประโยชน์ในการพัฒนา
ทักษะภาษาอังกฤษของบุคลากร จึงได้จัดโครงการอบรมในคร้ังน้ีข้ึน เพ่ือให้บุคลากร มรภ.สงขลา
ได้รับการพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษด้านการฟัง การพูด และการออกเสยี งทถ่ี กู ต้อง ตลอดจนการฝึก
สนทนาการสอ่ื สารตา่ ง ๆ ซง่ึ บคุ ลากรจะสามารถนา� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ ชท้ ง้ั ในแงข่ องการเสรมิ
ทกั ษะดา้ นการปฏบิ ตั งิ าน การตดิ ตอ่ สอื่ สาร หรอื การทา� กจิ กรรมอนื่ ๆ ในชวี ติ ประจา� วนั ไดอ้ ยา่ งมน่ั ใจ
และมีประสทิ ธิภาพเพิ่มมากข้ึน

17

มรภ.สงขลา เปดิ บา้ นตอ้ นรบั
นายกสภา มรภ.อบุ ลราชธานี
รว่ มประชมุ หารอื เชิงนโยบาย
มรภ.สงขลำ เปิดบ้ำนต้อนรับนำยกสภำ มรภ.อุบลรำชธำนี พร้อมคณะ

ในโอกำสเดนิ ทำงมำรว่ มประชมุ หำรอื เชิงนโยบำยร่วมกบั ผู้บริหำรมหำวทิ ยำลยั
เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๖๕ อำจำรยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต
พร้อมด้วย ผศ.นำถนเรศ อำคำสุวรรณ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ใหก้ ารต้อนรับ พลเอก นริ ุทธ เกตสุ ริ ิ นายกสภามหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อุบลราชธานี) พร้อมคณะ ประกอบด้วย ผศ.ดร.นเรศ ขันธะรี คณบดี
คณะครศุ าสตร์ อำจำรย์ ดร.สุทธิพงษ์ สุทธลิ ักษมนุ ีกลุ ผอู้ า� นวยการสา� นักงานสภา อำจำรยป์ รดี ำ กงั แฮ
รองคณบดีคณะครุศาสตร์ และ อำจำรย์ ดร.เกษม พันธุสะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ในโอกาสเดนิ ทางมารว่ มประชมุ ปรกึ ษาหารอื เชงิ นโยบายรว่ มกบั คณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
ในประเดน็ เก่ยี วกับนกั ศึกษา การบรหิ าร การจดั การเรยี นการสอน ณ ห้องประชมุ อรัญ ธรรมโน ช้ัน ๘
อาคารอ�านวยการ สา� นักงานอธกิ ารบดี

มรภ.สงขลา

ลงพ้ืนทก่ี ลุ่มดาหลาปาเตะ๊

ถ่ายทอดองคค์ วามรูง้ านวิจยั จา� ปาดะ

สำ� นกั ศลิ ปะฯ พร้อมอำจำรยค์ ณะศิลปกรรมศำสตร์ มรภ.สงขลำ
ลงพ้ืนท่ีกลุ่มดำหลำปำเต๊ะ อ.ควนโดน จ.สตูล ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้
งำนวิจัย “ลำยโคร๊ะจ�ำปำดะ” สร้ำงอัตลักษณ์ลวดลำยผ้ำเพิ่มมูลค่ำ
ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน

เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ บุคลากรส�านักศิลปะ
และวัฒนธรรม พร้อมด้วยคณาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ลงพ้ืนที่กลุ่มดาหลา
ปาเต๊ะ หมทู่ ่ี ๒ ต.ควนสตอ อ.ควนโดน จ.สตลู ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้
งานวิจัยลวดลายผ้าประจ�าอ�าเภอควนโดน “ลายโคร๊ะจ�าปาดะ”
ในโครงการจ�าปาดะสู่การพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์
สร้างสรรค์ให้มีความโดดเด่น เน้นความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน
อย่างแทจ้ ริง
ในการนี้ มรภ.สงขลา ขอขอบพระคุณ นำยอัลดุลเลำะห์ บูเดียะ รองนายก อบต.ควนสตอ
พรอ้ มด้วย คณะผู้บริหาร และเจา้ หนา้ ทีใ่ นสงั กัด อบต.ควนสตอ ทใ่ี หก้ ารต้อนรบั ในการลงพนื้ ที่อย่างดยี ง่ิ

18

มรภ.สงขลา

เดินหน้ามหาวิทยาลัยสีเขยี วโลกสรู่ ะดับทส่ี งู ขึ้น

ติวบุคลากรรว่ มขับเคล่อื น

UI Green Metric Word University Rankings

มรภ.สงขลา เดินหน้ามหาวิทยาลัยสีเขียวโลกสู่ระดับที่สูงขึ้น จัดอบรมเตรียม
ความพร้อม เข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ให้ความรู้บุคลากรพร้อมเข้าสู่การประเมิน
ตามเกณฑ์ UI Green Metric Word University Rankings

รศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) กลา่ วระหวา่ ง
เปน็ ประธานในพิธเี ปิดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การเตรียมความพร้อมเขา้ สู่การเป็น
มหาวทิ ยาลยั สเี ขยี ว ณ ห้องประชมุ พลเอก เปรม ตณิ สูลานนท์ อาคารอ�านวยการ เมอ่ื วนั ที่ ๒๔
พฤษภาคม ๒๕๖๕ ว่า มรภ.สงขลา ได้ก�าหนดนโยบายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว Green University เพื่อเข้าสู่
การประเมนิ ตามเกณฑ์ UI Green Metric Word University Rankings ในการจัดอนั ดับมหาวทิ ยาลัยยุคใหม่ ที่มีความมงุ่ ม่นั ยกระดับคุณภาพชีวิต การรักษาสภาพ
แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื และบรหิ ารจดั การองคก์ รใหเ้ ออื้ ตอ่ วถิ ชี วี ติ ทส่ี ง่ เสรมิ การเรยี นรคู้ วบคไู่ ปกบั การสรา้ งจติ สา� นกึ รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและผลกระทบทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ภาวะ
โลกร้อน โดยใชท้ รพั ยากรอยา่ งรู้คณุ คา่ และเกิดการมสี ่วนรว่ ม

จากความสา� คญั ดังกลา่ ว ทางมหาวิทยาลยั จงึ ไดส้ ง่ เสรมิ คา่ นิยมการอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมและพลังงาน สกู่ ารเปน็ มหาวิทยาลยั สเี ขียว ซึ่งเปน็ สว่ นหน่ึงในการ
พัฒนาองคก์ รใหม้ ีสภาพแวดล้อมท่ีดแี ละเอือ้ ตอ่ การจดั การเรียนการสอน ทงั้ ยงั เปน็ การสรา้ งจติ สา� นึกในการจัดการส่ิงแวดล้อมอยา่ งมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ

ทงั้ นี้ มรภ.สงขลา ไดจ้ ัดอบรมเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นมหาวทิ ยาลยั สเี ขียวให้กบั บุคลากร โดยได้จัดบรรยายใหค้ วามรู้ในเรื่อง ดา้ นสถานทแ่ี ละ
โครงสรา้ งพื้นฐาน โดย อาจารยพ์ ิเชษฐ์ จันทวี รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและวิทยาเขต ผศ.ดร.เกียรตศิ ักด์ิ รัตนดิลก ณ ภเู ก็ต ผชู้ ว่ ยอธิการบดี นอกจากนนั้ ยงั มี
การบรรยายดา้ นพลงั งานและการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ของเสยี นา้� การขนสง่ การศกึ ษาและวจิ ยั พรอ้ มทงั้ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง นา� เกณฑม์ หาวทิ ยาลยั สเี ขยี ว
มาใช้ในชวี ติ ประจ�าวัน โดย ผศ.ดร.เกยี รติศักดิ์ รตั นดิลก ณ ภเู กต็

มรภ.สงขลา เผยผลจดั อนั ดบั
“Thailand MHESI Impact Ranking ๒๐๒๒”

ครองอนั ดบั ๔๗ ของประเทศ อันดบั ๒ ราชภัฏกลมุ่ ภาคใต้

มรภ.สงขลา เข้ารับการจัดอันดับ “Thailand MHESI Impact
Ranking ๒๐๒๒” เป็นปีแรก สุดปลื้มอยู่ในอันดับที่ ๔๗ ของประเทศ และ
เปน็ อนั ดับท่ี ๒ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กล่มุ ภาคใต้

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เข้ารับการจัดอันดับ
www.timeshighereducation.com ใน Impact Rankings ๒๐๒๒ เปน็ ปแี รก
โชวผ์ ลงานใน ๔ ประเดน็ ไดแ้ ก่ SDG ๑ no poverty (ขจดั ความยากจนทกุ รปู แบบ
ในทุกพ้ืนที)่ SDG ๗ affordable and clean energy (สรา้ งหลกั ประกนั ใหท้ กุ คน
สามารถเขา้ ถึงพลงั งานสมยั ใหมท่ ีย่ ัง่ ยนื ในราคาทีย่ อ่ มเยา) SDG ๘ decent work
and economic growth (ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ตี อ่ เนื่อง ครอบคลมุ
และยั่งยืน) และ SDF ๑๗ partnerships for the goals (สร้างความร่วมมือ
เพอื่ การพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื )

ทั้งน้ี ผลปรากฏว่า มรภ.สงขลา อยู่ในอันดับที่ ๔๗ ของประเทศ และ
เปน็ อนั ดบั ที่ ๒ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กลมุ่ ภาคใต้ โดยมมี หาวทิ ยาลยั ไทยเขา้ รว่ ม
การจัดอันดบั รวมทัง้ ส้นิ ๕๑ แห่ง

19

มรภ.สงขลา

ประกวดผลงานสหกิจฯ ดา้ นวิทย-์ สังคม-นวัตกรรม
เฟ้นหาตวั แทนแข่งขนั ระดบั เครอื ข่ายภาคใต้ตอนล่าง

สุดปล้มื นศ.เกษตร คว้ารางวัลชมเชย
ด้านวทิ ยาศาสตร์ฯ

“เอกชัย เบา่ อบุ ลย”์ หัวหนา้ ศนู ยส์ หกจิ ศกึ ษา

สนส. รบั รางวลั ผูป้ ฏิบตั ิการยอดเย่ยี ม

มรภ.สงขลำ จดั ประกวดผลงำนสหกจิ ศกึ ษำดเี ดน่ ระดบั มหำวทิ ยำลยั คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยมี อำจำรย์คมกฤช เจริญ และ อำจำรย์
ดำ้ นวทิ ยำศำสตรฯ์ ดำ้ นสงั คมศำสตรฯ์ และ ดำ้ นนวตั กรรม หำตวั แทนแขง่ ขนั ภำณุกร ภรู ปิ ัญญำนันท์ เปน็ อาจารยท์ ีป่ รึกษาผลงาน
ระดบั เครอื ขำ่ ยภำคใตต้ อนลำ่ ง สดุ ปลม้ื ทมี นกั ศกึ ษำคณะเทคโนโลยกี ำรเกษตร
ควำ้ รำงวัลชมเชยด้ำนวิทยำศำสตร์ฯ “เอกชยั เบ่ำอบุ ลย”์ หัวหน้ำศนู ย์สหกิจ ดำ้ นนวตั กรรมสหกจิ ศกึ ษำดเี ด่น รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ผลงานเรือ่ ง
ศึกษำ สนส. รับรำงวลั ผปู้ ฏิบัตกิ ำรยอดเย่ยี ม “ระบบหอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส”์ จดั ทา� โดย นำงสำวอังคณำ ชูสวุ รรณ และ
นำงสำวเมวดี ธรรมดิษฐ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ คณะวทิ ยาการจดั การ
เม่ือวันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๖๕ ศูนย์สหกิจศึกษา ส�านักส่งเสริมวิชาการ โดยมี ผศ.วฒุ ิชยั อินทรแ์ กว้ เปน็ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาผลงาน รางวัลรองชนะเลศิ
และงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จดั โครงการประกวด อันดับ ๑ ผลงานเรื่อง “การลดกระบวนการรอคอยงานในกระบวนการผลิต
ผลงานสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท�างานดีเด่น ระดับ Coco peat plus.” โดย นำงสำวอลษิ ำ หำดเดน็ สาขาวชิ าวศิ วกรรมโลจสิ ตกิ ส์
มหาวิทยาลัย ประจ�าปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Cloud คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยมี ดร.ผจงจิต พิจิตบรรจง เป็นอาจารย์
Meeting โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.ทัศนำ ศิริโชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา ทป่ี รกึ ษาผลงาน รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒ ผลงานเรอ่ื ง “นวตั กรรมโตะ๊ เชอ่ื ม
เป็นประธานในพิธีเปิด เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดกระบวนการ ส�าหรับงานซ่อมบ�ารุงและสร้างช้ินงาน” โดย นำยภำณุพงศ์ จุนคง และ
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ การคิดค้น การพัฒนาผลงาน และการประยุกต์ใช้นวัตกรรม นำยวรุธ สำนสุ รณ์ สาขาวชิ าเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (เทคโนโลยีการจัดการ
ในการด�าเนินงานสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท�างาน อุตสาหกรรม) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยมี ผศ.คุลยำ ศรีโยม
ตลอดจนเปน็ การเผยแพรแ่ ละเปน็ เวทแี สดงศกั ยภาพนา� เสนอผลงานของนกั ศกึ ษา ดร.ศรวี รรณ ข�ำตรี และ ดร.พัชรี เพม่ิ พนู เป็นอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาผลงาน

ผลการประกวด ด้ำนวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยีดีเดน่ รางวลั ชนะเลศิ ทงั้ น้ี ทมี นกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา ทไี่ ดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ และรองชนะเลศิ
ไดแ้ ก่ ผลงานเรอื่ ง “ลดปญั หาการปดิ ผนกึ ไมส่ มบรู ณใ์ นไลนอ์ อโตซ้ ลี ทมี่ ผี ลตอ่ การ อันดับ ๑ ในแต่ละด้าน ได้เข้าร่วมการประกวดผลงานสหกิจศึกษา ระดับ
ฆา่ เช้อื ” จัดท�าโดย นำงสำวสำวิตรี แซอ่ ึ้ง และ นำยนันทนัช โต๊ะสู สาขาวชิ า เครอื ขา่ ยสหกจิ ศกึ ษาภาคใตต้ อนลา่ ง ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร โดยมี โปรแกรม Zoom Cloud Meeting เมื่อวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๖๕ จัดโดย
อำจำรยส์ ุเพ็ญ ด้วงทอง เปน็ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาผลงาน รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะมหาวิทยาลัยแม่ข่ายภาคใต้ตอนล่าง
ผลงานเร่ือง “การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการปิดผนึกถุงส�าหรับผลิตภัณฑ์ ผลปรากฏวา่ นำงสำวสำวติ รี แซอ่ ง้ึ และ นำยนนั ทนชั โตะ๊ สู ไดร้ บั รางวลั ชมเชย
ชสี บอลเพอื่ จดั ทา� เปน็ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน” โดย นำงสำวรชนำ โสะ๊ ประจนิ และ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากผลงานเร่ือง “ลดปัญหาการปิดผนึก
นำงสำวตอญบี ๊ะ หมำดตำ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร โดยมี ไมส่ มบรู ณ์ ในไลนอ์ อโตซ้ ลี สา� หรบั ผลติ ภณั ฑอ์ าหารสตั ว”์ บรษิ ทั สยามอนิ เตอร์
ผศ.ดร.ธิตมิ ำ พำนชิ ย์ เป็นอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาผลงาน รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ เนชนั่ แนลฟดู๊ จา� กดั โดยมี ผศ.ดร.ธติ มิ ำ พำนชิ ย์ และ อำจำรยส์ เุ พญ็ ดว้ งทอง
ผลงาน เรื่อง “เพม่ิ Module & Feature ใหก้ บั Spider HR Mobile App.” โดย เป็นอาจารย์ทปี่ รกึ ษา และ นำยเอกชัย เบำ่ อบุ ลย์ นกั วชิ าการศึกษา (ระดับ
นำยอมรกิจ รุยัน และ นำยวุฒิชัย ศิริวัฒน์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชา� นาญการ) ปฏิบตั งิ านในต�าแหน่งหัวหน้างานศนู ยส์ หกจิ ศึกษาและแนะแนว
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยมี ดร.เกศนิ ี บญุ ชว่ ย อำจำรยย์ พุ ดี อนิ ทสร อาชีพ ส�านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มรภ.สงขลา ได้รับรางวัล
และ อำจำรยพ์ ัฒนะ วรรณวิไล เป็นอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาผลงาน ผู้ปฏิบัติการสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท�างาน
ในสถานศกึ ษายอดเยยี่ ม ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ระดบั เครอื ขา่ ยพฒั นาสหกิจ
ด้ำนสังคมศำสตร์ มนษุ ยศำสตร์และกำรจดั กำรดเี ดน่ รางวัลชนะเลศิ ศึกษาภาคใต้ ตอนล่าง
ไดแ้ ก่ ผลงานเรอ่ื ง “การพฒั นางานจกั สานวสั ดธุ รรมชาตพิ นื้ ถน่ิ ภาคใต”้ จดั ทา� โดย
นำยอนั วำ บำเหะ นำยศรำวธุ บลิ ตำลี และ นำงสำวซไุ รดำ สำระซนี ำ สาขาวชิ า
การออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ โดยมี อำจำรย์อมรรัตน์ บุญสว่ำง
เปน็ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ๑ ผลงานเรอื่ ง “การเพ่มิ
ประสิทธิภาพในการผลิตปลาแมคเคอเรลทอด และการเพ่ิมมูลค่าให้แก่เศษ
ปลาทอด” โดย นำงสำววิลำวัณย์ เกื้อกูล และ นำงสำวซัลซะบีล กอเซ็ง
สาขาวิชาการผลิตและการจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
โดยมี ผศ.นพรตั น์ วงศห์ ิรญั เดชำ และ ผศ.ขนษิ ฐำ พันชูกลำง เป็นอาจารย์
ที่ปรึกษาผลงาน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ผลงานเร่ือง “ระบบขออนุญาต
ไปราชการ” โดย นำงสำวพัชริดำ ฝอยทอง สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

20

มรภ.สงขลา เป็นเจา้ ภาพ

จดั ประชมุ เครอื ขา่ ยส�ำนักวิทยบรกิ ารฯ
ราชภฏั เขตภูมศิ าสตรภ์ าคใต้

สำ� นกั วทิ ยบรกิ ารฯ มรภ.สงขลา เปน็ เจา้ ภาพจดั ประชมุ เครอื ขา่ ย
ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเขต
ภมู ศิ าสตรภ์ าคใต้ ครง้ั ที่ ๑๐ จบั มอื สถาบนั การศกึ ษาพนั ธมติ รสรา้ งความ
แขง็ แกรง่ ไปดว้ ยกัน

เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ สำ� นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปน็ เจา้ ภาพจดั อบรม บรหิ ารสำ� นกั งาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านงานวิทยบริการ และด้าน
เชิงปฏิบัติการเครือข่ายส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเปน็ เลิศดา้ นภาษา
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเขตภมู ศิ าสตรภ์ าคใต้ (South Rajabhat Academic
Resources and Information Technology Network : SRARITNET อาจารย์เสรี ชะนะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิทยบริการฯ มรภ.สงขลา
๑๐th) ครงั้ ที่ ๑๐ ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นโปรแกรม ZOOM โดยไดร้ บั เกยี รติ กลา่ ววา่ เครอื ขา่ ย SRARITNET เปน็ ความรว่ มมอื เครอื ขา่ ยสำ� นกั วทิ ยบรกิ าร
จาก รศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา เป็นประธานในพธิ ีเปิด และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภูมิศาสตร์ภาคใต้ ได้
มผี ู้เข้ารว่ มการประชมุ ฯ รวมท้งั ส้นิ ๑๖๖ คน ลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU) เมอื่ วนั ที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
เพ่ือประสานความร่วมมือระหว่างกันในการพัฒนากระบวนการบริหาร
ภายในงานมกี ารนำ� เสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี ๑๘ เรอ่ื ง โดยมี ผศ.ดร.เธยี รชยั จัดการ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร พร้อมท้ังมีการจัดประชุมและจัด
พันธ์คง จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ กจิ กรรมรว่ มกนั โดยหมนุ เวยี นเปน็ เจา้ ภาพ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ เครอื ขา่ ยฯ ใชเ้ ปน็
INSPIRATION TALK สรา้ งสรรคง์ านทเ่ี รารักจาก PASSION สรา้ งแรงจงู ใจ เวทีในการเสริมสร้างความรู้ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน และการสร้าง
ในการปฏิบตั งิ าน เพิ่มคณุ ค่าของบคุ คลและองค์กร สรา้ งสรรคง์ านชน้ิ ใหม่ ความสัมพันธ์ระหว่างส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการบรกิ าร อยา่ ยดึ ตดิ กบั วธิ กี ารเดมิ ๆ พรอ้ มทงั้ เปน็ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในเขตภมู ศิ าสตรภ์ าคใต้ เพอ่ื ความรว่ มมอื ในการบรหิ าร
ร่วมกับ ผศ.เสนอ สะอาด ผศ.ธยา ภิรมย์ อาจารย์ปรีดา เกิดสุข จาก จดั การระหวา่ งกนั อนั จะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาการปฏบิ ตั งิ านและกระบวนการ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั ในการตดั สนิ และใหข้ อ้ เสนอแนะ บริหารจดั การ ใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรูแ้ กน่ กั ศึกษา บุคลากร และผูใ้ ช้
การน�ำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของสมาชิกเครือข่าย ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการ บรกิ าร

มรภ.สงขลา เปดิ คลนิ ิกวิจยั

ใหค้ �ำปรึกษาการเขียนบทความ
ลงตพี มิ พว์ ารสารวชิ าการ

สถาบันวิจัยและพัฒนา มรภ.สงขลา เปิดคลินิกวิจัย เทียบเชิญผู้ทรงคุณวุฒิให้บริการค�ำปรึกษาการเขียนบทความวิจัยเพ่ือลงตีพิมพ์ใน
วารสารวชิ าการ หวังชว่ ยสร้างความมัน่ ใจอาจารย์-เจา้ หนา้ ที่ เดินหนา้ ทำ� ผลงานวิจยั คุณภาพ

ผศ.ดร.พลพัฒน์ รวมเจริญ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิจัยและ จากภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ยุทธศาสตร์สถาบัน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาสารคาม โดยมอี าจารยแ์ ละนกั วจิ ยั มรภ.สงขลา ใหค้ วามสนใจยนื่ งานวจิ ยั
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เม่ือวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ สถาบนั วจิ ยั ฯ จัด เพ่อื ขอใช้บรกิ ารค�ำปรึกษาจากคลินกิ วิจัย จำ� นวน ๘ เรือ่ ง
กิจกรรมการบริการให้ค�ำปรึกษาการเขียนบทความวิจัยเพื่อลงตีพิมพ์ใน
วารสารวิชาการ ภายใต้โครงการคลนิ กิ วิจัย ซงึ่ ได้รเิ ร่ิมจัดกจิ กรรมดังกลา่ ว ทั้งน้ี กิจกรรมในวันดังกล่าว อาจารย์ท่ีเข้าร่วมได้รับค�ำปรึกษา
เป็นครั้งแรก โดยมุ่งเน้นที่จะแก้ปัญหาในการด�ำเนินงานวิจัยของบุคลากร เกย่ี วกบั การเตรียมบทความตน้ ฉบับ ตลอดจนการค้นหาและเลือกวารสาร
และอาจารย์ มรภ.สงขลา ให้มีคุณภาพ และมีความมีม่ันใจในการตีพิมพ์ ท่ีเหมาะสมเพื่อลงตีพิมพ์ ซ่ึงเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์โดยตรงจาก
ผลงานวิชาการมากยิ่งข้ึน โดยได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิให้บริการค�ำปรึกษา ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ง้ั ๒ ทา่ น สง่ ผลใหอ้ าจารยไ์ ดร้ บั ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชน์
จ�ำนวน ๒ ทา่ น คอื ศ.ดร.อลงกลด แทนออมทอง จากภาควิชาชวี วทิ ยา ในการพฒั นาบทความวจิ ยั ทงั้ ยงั เปน็ การสรา้ งความมนั่ ใจและเชอื่ มน่ั ใหแ้ ก่
คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และ รศ.ดร.ประสาท เนอื งเฉลมิ ตวั ผวู้ จิ ยั ในการเขยี นบทความทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษทถี่ กู ตอ้ งและ
มคี ุณภาพ สำ� หรบั น�ำไปลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการตอ่ ไป

21

มรภ.สงขลา สดุ ปลม้ื นกั ศกึ ษาคณะเทคโนโลยกี ารเกษตรโชวผ์ ลงานแขง่ ขนั ทกั ษะ
วชิ าการและวชิ าชพี เครือขา่ ยเกษตรราชภฏั ทว่ั ประเทศ คร้งั ท่ี ๗ กวาด ๑๑ รางวลั ๑
Popular Vote มากท่ีสุดจากท้งั หมด ๑๗ มหาวทิ ยาลัยสมาชกิ ฯ ท่เี ข้าร่วมแข่งขนั

ดร.มงคล เทพรตั น์ คณบดคี ณะเทคโนโลยี สหกิจศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพืชศาสตร์ รศ.ดร.คริษฐ์สพล หนูพรหม รองคณบดี
การเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ. นายทนงสทิ ธิ์ อนศุ าสนี และ นายกฤษณะ เพง็ ทอง ฝา่ ยพฒั นานกั ศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ กลา่ ววา่ ใน
สงขลา) ประธานเครอื ขา่ ยเกษตรราชภฏั ทว่ั ประเทศ ควบคุมทีมโดย ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง การแข่งขันคร้ังน้ีตนและทีมคณาจารย์คณะ
เปดิ เผยวา่ เม่ือวนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ตน เทคโนโลยกี ารเกษตร ไดร้ บั มอบหมายใหด้ ำ� เนนิ การ
พรอ้ มดว้ ย รศ.ดร.ครษิ ฐส์ พล หนพู รหม รองคณบดี คัดเลือกและส่งรายชื่อนักศึกษาเพื่อเข้าร่วม
ฝา่ ยพฒั นนกั ศกึ ษาและกจิ กรรมพเิ ศษ เขา้ รว่ มงาน การแข่งขันทักษะวิชาการและวิชาชีพทางด้าน
ปดิ การแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าการและวชิ าชพี ทางดา้ น การเกษตร เครือข่ายเกษตรราชภัฏทั่วประเทศ
การเกษตร เครือข่ายเกษตรราชภัฏท่ัวประเทศ โดยไดส้ ง่ นกั ศกึ ษาเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ทกุ รายการ
คร้ังที่ ๗ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผล
ปรากฏว่านักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั สอง ๔ รางวลั ดา้ น ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง รองคณบดี
มรภ.สงขลา สามารถคว้ามาได้ถึง ๑๑ รางวัล ๑. การแขง่ ขนั ตอบปญั หาทางวชิ าการดา้ นการเกษตร ฝ่ายวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ กลา่ วเพ่มิ เติมวา่ ใน
มากท่ีสุดจากทง้ั หมด ๑๗ มหาวิทยาลัยสมาชิกท่ี ด้านสัตวศาสตร์/สัตวบาล นายอดิศร พุทธศรี การจัดเตรียมงานครั้งนี้ตนได้มอบหมายให้
เข้าร่วมเครือข่ายเกษตรราชภัฏในครั้งน้ี และ นายธีระศักดิ์ เกตุแก้ว ควบคุมทีมโดย บคุ ลากรสายสนบั สนนุ รว่ มกนั จดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์
อาจารยอ์ ภิชาติ พันชกู ลาง ๒. การแขง่ ขันตอบ จัดหา ตรวจสอบ และติดตั้งระบบการน�ำส่ง
ส�ำหรบั รายละเอยี ดรางวัลตา่ ง ๆ ทไ่ี ดร้ ับมี ปัญหาทางวิชาการด้านการเกษตร ด้านประมง/ สญั ญาณ หอ้ งบนั ทกึ การประสานงานและอนื่ ๆ
ดงั นี้ รางวลั ชนะเลศิ ๕ รางวลั ๑. การตอบปญั หา เพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ นางสาวโซเฟยี หวาหาบ และ ให้พร้อมใช้งานส�ำหรับการแข่งขัน น�ำทีมโดย
วชิ าการพชื ศาสตร์ นายอานนท์ คลา้ ยจนิ ดา และ นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ เกอื้ สวุ รรณ ควบคมุ ทมี โดย นางวริษฐา ตันติพงศ์ นางสมจิต ปาละพัน
นางสาวจารุวรรณ ฤทธิรุตม์ ควบคุมทีมโดย ผศ.สบาย ตนั ไทย ๓. การแขง่ ขนั ตอบปญั หาทาง นางสาวศุจิรัตน์ สรประสิทธ์ิ นางธัญญาภรณ์
ผศ.ดร.ภทั รพร ภกั ดฉี นวน ๒. การประกวดศลิ ป- วชิ าการดา้ นการเกษตร ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี รกั ษท์ อง นายวชริ พนั ธ์ จนั ทรพ์ าณชิ ย์ นางสาว
วัฒนธรรมทางการเกษตร “ร้องเพลงลูกทุ่ง” อาหาร นางสาวชญานษิ ฐ์ เจรญิ ศร และ นางสาว สรุ ีพร วจิ ติ รโสภา นายณฐั พล ราชูภิมนต์ และ
นางสาวสร้อยสุดา แก้วจันทร์ ควบคุมทีมโดย จุฑามาศ อสิ สระ ควบคมุ ทมี โดย ผศ.ดร.ธิตมิ า ว่าท่ี ร.ต.หญิงอังคณา ไชยหนู ซ่ึงทีมงานได้
ผศ.ดร.ศภุ คั รชา อภริ ตกิ ร ๓. การแขง่ ขนั นำ� เสนอ พานชิ ย์ ๔. การแขง่ ขันน�ำเสนอปัญหาพเิ ศษและ ร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมให้สามารถร่วมงาน
ปัญหาพิเศษและโครงงานสหกิจศึกษาระดับ โครงงานสหกิจศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา แขง่ ขนั ประเภทตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งราบรนื่ และประสบ
ปริญญาตรี สาขาพืชศาสตร์ นายธนชยั จงภักดี สตั วศาสตร์ นายวงศธร เซง่ ลอยเลอื่ น และ นาย ความส�ำเรจ็ ได้ดว้ ยความรว่ มมอื ของทุกฝ่าย
และ นายพลกฤต อินทมณี ควบคุมทีมโดย ธรี ภัทร์ จันทร์เดิม ควบคุมทีมโดย ดร.ปิยะนันท์
ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง ๔. การแข่งขันน�ำเสนอ นวลหนปู ลอ้ ง โอกาสเดยี วกนั นี้ ดร.มงคล เทพรตั น์ คณบดี
ปัญหาพิเศษและโครงงานสหกิจศึกษาระดับ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ประธาน
ปรญิ ญาตรี สาขาอื่น ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การเกษตร รางวลั Popular Vote การประกวดศลิ ป- เครอื ขา่ ยเกษตรราชภฏั ทว่ั ประเทศ ไดร้ ว่ มมอบธง
นางสาววลิ าวณั ย์ เกอ้ื กลู และ นางสาวซลั ซะบลี วัฒนธรรมทางการเกษตร “ร้องเพลงลูกทุ่ง” แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในฐานะเจ้าภาพ
กอเซง็ ควบคมุ ทมี โดย ผศ.นพรตั น์ วงศห์ ริ ญั เดชา นางสาวสร้อยสุดา แก้วจันทร์ ควบคุมทีมโดย จัดแข่งขันทักษะวิชาการและวิชาชีพทางด้าน
๕. การแขง่ ขนั การประกวดนวตั กรรมดา้ นอาหาร ผศ.ดร.ศุภัครชา อภริ ตกิ ร การเกษตรปถี ดั ไป พรอ้ มทง้ั มอบตำ� แหนง่ ประธาน
นายภาณุพงศ์ พงศ์พันธ์ นางสาวณัฏฐธิดา เครือขา่ ยเกษตรราชภฏั ทัว่ ประเทศ ให้แกค่ ณบดี
บนิ ลา่ เตะ๊ นายยศกร บญุ มา และ นางสาวชตุ มิ า คณะเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บญุ วรรโณ ควบคมุ ทมี โดย ผศ.ขนษิ ฐา พนั ชกู ลาง ดำ� รงต�ำแหน่งประธานคนต่อไป

รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับหนง่ึ ๒ รางวลั
๑. การแขง่ ขนั นวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยกี ารเกษตร
นายทติ ยธ์ พิ งศ์ ประเสรฐิ ศลิ ป์ และ นางสาวอรทยั
อนิ แกว้ ควบคมุ ทมี โดย ผศ.ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง
๒. การแขง่ ขนั นำ� เสนอปญั หาพเิ ศษและโครงงาน

22

มรภ.สงขลา สุดปล้ืม

“นศ. วิชาเอกเคร่อื งเปา่ ”

ผ่านคดั เลือกประกวดวงโยธวาทติ โลก

เป็นตวั แทนประเทศไทย แขง่ ขนั ในระดับนานาชาติ

มรภ.สงขลา สุดปลื้ม นกั ศึกษาดุริยางคศลิ ป์ตะวันตก วิชาเอกเคร่ืองเปา่ วง Bagpipes Emsemble
และ วงสำ� โรง บราส ควนิ เตท ผา่ นคดั เลอื กประกวดวงโยธวาทติ โลก เปน็ ตวั แทนประเทศไทยแขง่ ขนั ในระดบั
นานาชาติ

นักศกึ ษาวชิ าเอกเครอ่ื งเปา่ สาขาวิชาดรุ ยิ างคศลิ ป์ตะวันตก คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
สงขลา (มรภ.สงขลา) จำ� นวน ๒ วง ไดแ้ ก่ ประเภท Woodwind Ensemble วง Bagpipes Emsemble และ
ประเภท Brass Emsemble วงส�ำโรง บราส ควินเตท ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในตัวแทนประเทศไทย ในการ
ประกวดรายการ WAMSB World Championship ๒๐๒๒ จากทัง้ หมด ๓๐ วง ระหวา่ งวนั ที่ ๑๑-๑๖ กรกฎาคม
๒๕๖๕ ณ หอประชมุ ใหญ่ ศนู ยว์ ฒั นธรรมแหง่ ประเทศไทย และสนามกฬี าแหง่ ชาตกิ รงุ เทพมหานคร ทปี่ ระเทศไทย
ไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพเปน็ ครงั้ แรก โดยนกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา ไดเ้ ปน็ ตวั แทนประเทศไทยไปแขง่ ขนั ตอ่ ในระดบั นานาชาติ

เกี่ยวกับเรอื่ งน้ี อาจารยภ์ ษู ติ สวุ รรณมณี ประธานหลกั สตู รดรุ ิยางคศาสตรบัณฑิต สาขาดุริยางคศลิ ป์
ตะวนั ตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา กล่าวว่า ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ ารมหาวิทยาลัยและทางคณะฯ ท่ีให้การ
สนบั สนุนด้วยดีเสมอมา และขอขอบคณุ คณาจารย์ในสาขาฯ วทิ ยากร ตลอดจนนักศกึ ษาเดก็ ในวง ตนรู้สกึ ภูมใิ จ
ในตัวทุกคนมาก ที่แม้จะมีเวลาซ้อมไม่มากแต่ทุกคนต้ังใจและท�ำได้ ในฐานะท่ีเป็นตัวแทนประเทศไทย และ
เปน็ เกยี รตทิ ส่ี ดุ ทไี่ ดแ้ ขง่ กบั วงตา่ ง ๆ ทถี่ อื เปน็ สดุ ยอดของประเทศไทย และวงอกี ๑๓ ประเทศ อาทิ สหรฐั อเมรกิ า
ญป่ี ุ่น เนเธอรแ์ ลนด์

นกั ศกึ ษาคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา คว้า ๒ รางวัล ระดับดแี ละชมเชย ในงาน
ประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรแห่งชาติ จากการน�ำเสนอผลงานภาค
บรรยาย และ แข่งขนั พดู สง่ เสรมิ การเกษตร

เมอื่ วนั ที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๕ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
เข้าร่วมงานประชุมวิชาการระดับปริญญาบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรแห่งชาติ
(The National Undergraduate Conference on Agricultural Science and Technology; NUCA)
ในรูปแบบออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม zoom meeting ภายใต้แนวคิด “BCG Model เพอื่ ความยง่ั ยืน
ด้านเกษตร อาหาร และส่ิงแวดลอ้ ม” จัดโดยคณะสัตวศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั
ศิลปากร เป็นเจา้ ภาพหลักในการจดั งานประชุมวิชาการฯ

ผลปรากฏว่า นกั ศึกษาของคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา ไดร้ บั ๒ รางวลั ได้แก่ รางวลั
ระดบั ดี จากการนำ� เสนอผลงานภาคบรรยายในสาขาพชื ศาสตร์ เรือ่ ง “ผลของการใชป้ ุย๋ เคมีรว่ มกบั ปุย๋
อินทรียต์ อ่ การเจริญเตบิ โตของโกโกท้ ่ปี ลูกในบ่อซเี มนต์” โดย นายศภุ วิชญ์ ชเู ขยี ว และ นายชีวธนั ย์
ไพโรจน์ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ผศ.ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง และ รางวลั ชมเชย การแขง่ ขนั พดู สง่ เสรมิ การเกษตร
เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพการผลิตกาแฟคลองหอยโข่งจากต้นสู่แก้วโดยใช้ BCG Economy” โดย
นางสาวภัทรสดุ า ทองหนู อาจารย์ทีป่ รกึ ษา อาจารย์ปรยิ ากร บุญส่ง และ ผศ.ดร.ศภุ คั รชา อภริ ตกิ ร

23


Click to View FlipBook Version