The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2021-09-16 02:52:19

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2564

วารสารปาริฉัตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2564

สารบญั

Contents
๓รบั มอบถงุ ปันสขุ วศิ วกรสังคม
มอบถุงปนั สขุ พื้นที่หลเี ปะ๊ ๓
บันทึกเทปถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิฯ ๔
สถาบนั ดนตรียามาฮา่ จบั มอื สาขาดรุ ยิ างคศลิ ปต์ ะวนั ตก
รว่ มพูดคุยแนวทางศึกษาตอ่ ๖
เทคโน’อุตฯ ส่งมอบกำาลังใจสู้โควิด-๑๙ ๗

๖บรจิ าคเงิน รพ.สงขลา ใชด้ แู ลผูป้ ว่ ย โควิด-๑๙ “เกษตร” ปลอ่ ยปลา-กงุ้ กา้ มกราม ถวายเปน็ พระราชกศุ ล ร.๑๐ ๗
คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตร์ฯ ศิษยเ์ ก่าดีเด่น คณะ วจก. ม.อ. ๘
ปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม ่ ในรูปแบบออนไลน์ ๙
“นูรอาตีกะ๊ ห ์ ทางา” ไดร้ บั ทุนนกั ศกึ ษาแลกเปลยี่ น ๙
ร.ร.สาธติ ฯ จดั กจิ กรรมวันแมแ่ ห่งชาต ิ ๑๐
อบรมเตรยี มความพร้อมนักศกึ ษาพิการ-ออทสิ ตกิ ๑๐
คณะครุฯ จัดคา่ ยครเู พื่อพฒั นาท้องถ่นิ ๑๑

๘อธกิ ารฯ รับโล่ศิษยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศ “เกษตร” ช่วยเกษตรกรยกระดับทเุ รียนพ้นื บา้ น ๑๔

มท.๒ ลงพน้ื ที่ติดตามความกา้ วหน้าแกป้ ัญหานำา้ ทว่ ม ๑๕

เฟน้ หาตัวแทนออมสนิ ยุวพฒั น์รักษ์ถนิ่ ประกวดระดับประเทศ ๑๖

เทคโน’อตุ ฯ ใช้เทคโนโลยชี ่วยทนุ่ แรงผสมแป้งทาำ ขนมเจาะห ู ๑๗

สมั มนาสรา้ งการรบั รูช้ ุมชน

บนฐานอตั ลกั ษณแ์ ละวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น “เกาะแต้ว” ๑๗

“ผศ.ดร.ภทั รพร ภกั ดฉี นวน” คดิ คน้ เครอ่ื งเจาะรพู ลาสตกิ คลมุ ดนิ ๑๘

๑๒ประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ดา้ นมนุษยศาสตรฯ์ “ผศ.ดร.ธิตมิ า พานิชย”์ ๑๙
พฒั นาผงหมักสเต็กรสจม้ิ แจว่ จากเปลือกมะละกอ ๒๐
“ผศ.นพรัตน ์ วงศห์ ริ ญั เดชา” ๒๑
ใชเ้ ทคโนโลยที างอาหารยืดอายซุ อสกอและ
“ผศ.ฐติ ิมาพร ศรรี ักษ”์
จดอนสุ ิทธิบตั รข้าวเกรียบรสข้าวยำาเคร่อื งแกง

“พัชรนิ ทร ์ หนูหนอง” คว้ารางวลั แข่งขันศลิ ปะนานาชาต ิ ๒๒

นกั ศกึ ษาสวสั ดกิ ารสงั คม ควา้ ๑๐ รางวลั ประกวดทกั ษะวชิ าการ ๒๒

มองผา่ นเลนส์ ๒๓

คณะผจู้ ดั ท�ำ ป�รฉิ ตั ร ว�รส�รเพอ่ื ก�รประช�สมั พนั ธ์ มห�วทิ ย�ลยั ร�ชภฏั สงขล� ปที ่ี ๑๕ ฉบบั ท่ี ๔ ประจ�ำ เดอื น กรกฎ�คม - สงิ ห�คม ๒๕๖๔

ทปี่ รกึ ษ� : รศ.ดร.ทศั น� ศริ โิ ชต,ิ อ.พเิ ชษฐ์ จนั ทว,ี อ.จริ ภ� คงเขยี ว, ดร.นร�วดี บวั ขวญั , ผศ.ดร.วรี ะชยั แสงฉ�ย, ผศ.น�ถนเรศ อ�ค�สวุ รรณ,
น�งปยิ ม�ศ ศริ ศิ ภุ นนท,์ น�งส�วปณั ฑิต� โชติชว่ ง

บรรณ�ธกิ �ร : ลดั ด� เอง้ เถย้ี ว กองบรรณ�ธกิ �ร : ดร.ศภุ ฤกษ์ เวศย�สริ นิ ทร์ , สพุ ฒั น์ สวุ รรณโณ, ธวชั ชยั รงุ่ สว�่ ง, ธรี ภทั ร์ มณเี กษร, ปรญิ ภรณ์ ชมุ มณ,ี อภญิ ญ� สธุ �ประดษิ ฐ์
ง�นประช�สมั พันธ์ มห�วทิ ย�ลัยร�ชภฏั สงขล� : ๑๖๐ ถนนก�ญจนวนิช ต�ำ บลเข�รูปช�้ ง อ�ำ เภอเมืองสงขล� จังหวัดสงขล� ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔ http://www.skru.ac.th/ E-mail : [email protected] FM.๑๐๕.๗๕ MHz. facebook : SKRUCONNECT
ID LINE : PR_SKRU

สาำ นกั ศิลปะฯ สบื สานพระบรมราโชบาย ร.๑๐

จบั มือวิทยาลัยชมุ ชน ลงพ้ืนท่ีบรกิ ารวิชาการ
ต.สทงิ หม้อ อนุรกั ษภ์ มู ิปัญญาท้องถ่นิ

สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มรภ.สงขล� ตลอดจนตวั แทนองคก์ รส่วนทอ้ งถ่นิ และชาวบา้ น
ร่วมกับวิทย�ลัยชุมชน ลงพ้ืนท่ีบริก�รวิช�ก�ร ในพืน้ ที่ เขา้ ร่วมรบั ฟังแนวทางดำาเนินงาน
กลุ่มเคร่ืองป้ันดินเผ�สทิงหม้อ สืบส�นพระบรม
ร�โชบ�ยในหลวงรัชก�ลที่ ๑๐ พร้อมจับมือทุก ท้ังนี้ อ�จ�รย์กมลน�วิน อินทนูจิตร
ภ�คส่วน ห�แนวท�งเสริมสร้�งคว�มย่ังยืนก�ร รองผู้อำานวยการฝ่ายวิชาการและวิจัย สำานักศิลปะ
จัดก�รภูมิปัญญ�ท้องถ่นิ และวัฒนธรรม มรภ.สงขลา ได้กล่าวถึงการสนับสนุน
แหล่งเรยี นรกู้ ลุม่ เครื่องปั้นดินเผาสทงิ หม้อ ท้ังในรปู แบบ
เมื่อวันท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ สำานักศิลปะและ On-site รวมทั้งสนับสนุนการปรับปรุงเคร่ืองมือการ
วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ข้ึนหม้อ วัสดุโครงสร้างแหล่งเรียนรู้ คู่มือการท่องเท่ียว
โดย ดร.บรรจง ทองสร้�ง ผู้อำานวยการสำานักศิลปะและ แ ห ล่ ง ทุ น วั ฒ น ธ ร ร ม ย่ า น ชุ ม ช น เ ก่ า ใ น อำ า เ ภ อ
วัฒนธรรม มรภ.สงขลา ได้ร่วมกับวิทยาลัยชุมชนสงขลา สิงหนคร และรูปแบบ On-line ในรูปแบบ
ลงพื้นที่บริการวิชาการ เพ่ือสืบสานพระบรมราโชบาย ๓ D M o d e l ข อ ง ภู มิ ปั ญ ญ า ก า ร ตี ห ม้ อ ข อ ง
ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ณ กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาสทิงหม้อ ชุมชนสทิงหม้อ ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะถ่ิน
ปตนำ้าั บหลมสอ้ ทแิงลหะเมค้อรอ่ื องปำานเ้ั ภดอนิ สเิงผหาโนบครราณจใังนหลวมุ่ัดนสาำ้งทขละเาลสชาุมบชสนงขกลาาร ในฐานข้อมูล NAVANURAK เพื่อเสริมสร้าง
โดยมีนายอำาเภอสิงหนคร นายกเทศมนตรีเมืองสิงหนคร ความยัง่ ยืนของการจัดการภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินตอ่ ไป

มรภ.สงขลา มอบถุงปันสุขพน้ื ทห่ี ลเี ปะ๊ ปันนาำ้ ใจคลายทกุ ข์ โควิด-๑๙

มรภ.สงขล� วทิ ย�เขตสตูล มอบถงุ ปนั สขุ ช่วยเหลือ ซงึ่ กนั และกนั เราเป็นหว่ งทกุ คน หากมีส่ิงใดทจี่ ะให้ มรภ.สงขลา ช่วย
ช�วบ้�นเก�ะหลีเป๊ะ ทต่ี ้องรกั ษ�และกักตัวในบ้�น อธิก�รฯ สามารถแจ้งมาได้ ทางมหาวิทยาลยั ยินดชี ว่ ยเหลืออย่างเต็มที่
ฝ�กคว�มหว่ งใย พรอ้ มช่วยเหลือดูแลซึ่งกนั และกนั
รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา กล่าวอกี ว่า จ.สตลู ถูกประกาศ
รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทัศน� ศิริโชติ อธิการบดี ใหเ้ ปน็ ๑ ใน ๓7 จังหวดั พืน้ ท่ีควบคุมสงู สดุ โดยพบผปู้ ว่ ยยนื ยัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) กล่าวว่า ในนามตัวแทน รายใหม่ในพ้ืนท่ีจำานวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มจำานวนสูงขึ้น
มรภ.สงขลา มีความห่วงใยชาวเกาะหลีเป๊ะ ในสถานการณ์การแพร่ อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงจากสถานการณ์ดังกล่าวมีผู้ได้รับผลกระทบจาก
ระบาดของโควิด - ๑๙ ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน จึงได้มอบหมายให้ การขาดรายได้ของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้น เพ่ือแก้ไขปัญหา
ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร.เกียรติศักด์ิ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ความเดือดร้อนเบ้อื งตน้ จากวิกฤตกิ ารณ์ดงั กล่าว สาำ นักงานวทิ ยาเขต
ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี มรภ.สงขลา ดร.ทวสี นิ ธ์ุ ต้งั เซง่ ผู้รับผดิ ชอบ สตูล มรภ.สงขลา จึงได้จัดโครงการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำาบลแบบบูรณาการ จากวิกฤติเชื้อโควิด - ๑๙ โดยให้ความสำาคัญกับพ้ืนที่ที่เป็น
(๑ ตาำ บล ๑ มหาวิทยาลัย) วทิ ยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มรภ. กลุ่มคลัสเตอร์ในการแพร่กระจายในจังหวัด โดยเฉพาะพื้นที่
สงขลา วิทยาเขตสตูล พร้อมดว้ ยคณาจารย์ เจา้ หนา้ ที่ และผ้รู บั จา้ ง เกาะหลีเป๊ะ ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยได้เร่งให้การช่วยเหลือโดยการ
โครงการ ๑ ตำาบล ๑ มหาวิทยาลยั เป็นตัวแทนไปมอบถุงปันสขุ มอบถุงปนั สุข เมอื่ วนั ที่ ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๔ เพ่อื ใหส้ ามารถดำารงชีวิต
จาำ นวน ๑๐๐ ถุง เพ่อื ช่วยเหลอื ชาวบา้ นในพื้นทีเ่ กาะหลีเป๊ะ จ.สตูล อย่างมคี วามสุขและรอดจากภยั โควดิ - ๑๙
ที่ต้องรักษาตัวและกักตัวในบ้าน ซึ่งถือเป็นการช่วยเหลือและดูแล

๓ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

NBT จบั มอื มรภ.สงขลา บนั ทึกเทปถวายพระพร

สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง

สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นแ์ หง่ ประเทศไทย จงั หวดั สงขลา (NBT) รว่ มกบั ในการน้ี มรภ.สงขลา นาำ โดย รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จดั กจิ กรรมบนั ทกึ เทปถวายพระพร อธกิ ารบดี พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย อ�จ�รยจ์ ริ ภ�
สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษา ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วรี ะชยั
เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา (๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๔) ณ สตดู โิ อ แสงฉ�ย รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวางแผนและงบประมาณ ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์
นเิ ทศศาสตร์ ช้นั 7 คณะวทิ ยาการจัดการ มรภ.สงขลา ระหว่างวนั ที่ น�ถนเรศ อ�ค�สวุ รรณ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการและประกนั คณุ ภาพ
๓-๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔ การศกึ ษา อ�จ�รยจ์ ริ �ภรณ์ กวดขนั ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดี ร่วมบันทึกเทป
ถวายพระพร

๔ ปาริฉตั ร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา รบั มอบถงุ ปนั สขุ วศิ วกรสงั คม จาก “พลเอกดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ” องคมนตรี
เตรยี มแจกจา่ ยใหก้ บั ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบโควดิ -๑๙

ผู้บริห�ร มรภ.สงขล� รับมอบถุงปันสุขวิศวกรสังคม จ�ก
“พลเอกด�ว์พงษ์ รัตนสุวรรณ” องคมนตรี เตรียมแจกจ่�ยต่อให้กับ
ผู้ได้รับผลกระทบโควดิ -๑๙

เม่ือวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๑.๐๐ น. พลเอกด�ว์พงษ์
รัตนสวุ รรณ องคมนตรี มอบถงุ ปนั สขุ วศิ วกรสงั คมให้แกม่ หาวทิ ยาลัยราชภัฏ
สงขลา (มรภ.สงขลา) โดย รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศิรโิ ชติ อธกิ ารบดี
มรภ.สงขลา พร้อมดว้ ยคณะผ้บู ริหาร ซง่ึ ประกอบดว้ ย อ�จ�รย์พเิ ชษฐ์ จันทวี
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต อ�จ�รยจ์ ริ ภ� คงเขยี ว รองอธกิ ารบดี
ฝ่ายพัฒนานกั ศึกษา ดร.นร�วดี บัวขวญั รองอธิการบดฝี า่ ยวจิ ัยและบรกิ าร
วชิ าการ ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วรี ะชยั แสงฉ�ย รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวางแผน
และงบประมาณ อ�จ�รยจ์ ริ �ภรณ์ กวดขนั ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี พรอ้ มดว้ ยเจา้ หนา้ ท่ี
กองพฒั นานกั ศกึ ษา และนกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา รว่ มรบั มอบถงุ ปนั สขุ วศิ วกรสงั คม
จำานวน ๒๐๐ ถุง เพ่ือให้ผู้นำานักศึกษานำาถุงปันสุขไปแจกจ่ายให้กับผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโควดิ -๑๙ ต่อไป

๕ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา บรจิ าคเงิน รพ.สงขลา

ใช้ดแู ลผู้ปว่ ย โควิด -๑๙

เมอ่ื วันที่ ๑๘ สงิ หาคม ๒๕๖๔ คณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
นาำ โดย รองศ�สตร�จ�รย์ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี พรอ้ มดว้ ย อ�จ�รยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี
รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและวิทยาเขต อ�จ�รย์จิรภ� คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา
นักศึกษา ดร.นร�วดี บวั ขวญั รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ ผูช้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วีระชยั แสงฉ�ย
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและงบประมาณ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์น�ถนเรศ อ�ค�สุวรรณ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
และประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เปน็ ตัวแทน มรภ.สงขลา สนบั สนนุ งบประมาณจำานวน ๓๐,๐๐๐ บาท ให้แก่โรงพยาบาลสงขลา
ในการจัดซอ้ื อปุ กรณท์ างการแพทย์สาำ หรบั ใช้ดแู ลผู้ปว่ ยจากโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา (โควดิ - ๑๙)

สถาบันดนตรยี ามาฮ่า จบั มอื สาขาดุรยิ างคศลิ ป์ตะวันตก

ชวนรว่ มพดู คุยแนวทางศึกษาตอ่ -เรยี นรูด้ นตรใี นร้วั มหาวทิ ยาลยั

สถาบันดนตรียามาฮ่า ร่วมกับสาขาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) ร่วมพูดคยุ แนะนาำ ถาม ตอบ เก่ยี วกบั แนวทางการเขา้ ศึกษาต่อหลักสตู ร และการเรยี นรู้ดนตรใี นรั้วมหาวทิ ยาลยั
เมอ่ื วันท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๙.๓๐ น. ผา่ นทาง
Live Streaming FB:Yamaha Music School Thailand
ในการนี้ คณาจารย์หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
สาขาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา
นำาโดย ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์วีระศักด์ิ อักษรถึง
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์และอาจารย์ประจำาหลักสูตร
ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์วิชัย มีศรี ประธานหลักสูตร
ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร.กรฤต นิลว�นิช กรรมการ
หลกั สตู ร อ�จ�รย์สหภัส อกั ษรถึง อาจารยป์ ระจำาหลกั สูตร
อ�จ�รย์ภูษิต สุวรรณมณี เลขานุการหลักสูตร ร่วมเป็น
วิทยากรให้ข้อมูลเก่ียวกับรูปแบบการเรียนการสอนสาขา
ดุริยางคศิลป์ตะวันตกของคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา

๖ ปาริฉัตร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สง่ มอบกำาลังใจ

บุคลากรทางการแพทยแ์ ละผู้ปว่ ยโควดิ - ๑๙

ดร.กันตภณ มะห�หมัด คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) พร้อมด้วย ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ชัยยุทธ มีง�ม อาจารย์คณะเทคโนโลยี
อตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา เปน็ ตวั แทนคณาจารย์ บคุ ลากร และเครอื ขา่ ยผรู้ ว่ มสมทบทนุ
ส่งมอบนำ้าใจและกำาลังใจให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วยจากโควิด - ๑๙
ณ โรงพยาบาลสงขลา และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลเกาะแต้ว
อำาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ในการนี้ ทางคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มรภ.สงขลา ขอขอบคุณทุก ๆ ท่าน และขอให้ผลการแบ่งปันนี้จงช่วยดูแล
ค้มุ ครองทุกทา่ นใหพ้ ้นภยั โควดิ - ๑๙ ตลอดจนโรคภัยตา่ ง ๆ

“เกษตร” มรภ.สงขลา จบั มือชุมชนทงุ่ ลาน

ปล่อยปลา - กุ้งก้ามกราม ถวายเปน็ พระราชกศุ ลในหลวง ร.๑๐

คณะเทคโนโลยกี �รเกษตร มรภ.สงขล� จบั มอื อบต.ท่งุ ล�น และเกษตรกรในพ้นื ท่ี ร่วมปล่อยปล�ตะเพียนข�ว
ปล�ยส่ี กเทศ กงุ้ ก�้ มกร�ม อย�่ งละ ๗,๐๐๐ ตวั ถว�ยเปน็ พระร�ชกศุ ลเนอ่ื งในโอก�สวนั เฉลมิ พระชนมพรรษ�พระบ�ทสมเดจ็
พระเจ�้ อยหู่ วั

เมอื่ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) พรอ้ มดว้ ยทมี งานคณาจารยใ์ นหลกั สตู รเพาะเลยี้ งสตั วน์ าำ้ ซงึ่ สง่ ตวั แทนเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามมาตรการรกั ษาความปลอดภยั
ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด - ๑๙ ประกอบด้วย อ�จ�รย์ศรัณย์ รักษ�พร�หมณ์ อ�จ�รย์วิจิตร� ตุ้งซี่
น�ยณัฐพล ร�ชูภมิ นต์ คณาจารยแ์ ละเจ้าหนา้ ท่ีคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ตวั แทนจากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำาบลทุ่งลาน
(อบต.ทงุ่ ลาน) อำาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา และเกษตรกรในพ้นื ทร่ี ว่ มกันปล่อยปลาชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ปลาตะเพยี นขาว

ปลาย่สี กเทศ และกงุ้ ก้ามกราม ชนิดละ 7,๐๐๐ ตวั ลงในคลองทอน ซงึ่ เป็น
คลองในพ้ืนทตี่ าำ บลทงุ่ ลาน

ทั้งน้ี เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ

พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๑๐ (๖๙ พรรษา)
กจิ กรรมทจี่ ดั ขึ้นในครงั้ นี้ถือเป็นโครงการ

ภ า ย ใ ต้ ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ข อ ง ท า ง ค ณ ะ ฯ
ที่ได้ดำาเนินการมาอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเพ่ิม

ประสิทธิภาพการเลี้ยงปลานิลในกระชัง
โดยใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกและวิตามินซี
เสริมในอาหารปลาให้กับเกษตรกร
อีกทางหนงึ่ ดว้ ย

7ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

“รศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ” อธิการบดี รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทัศน� ศิริโชติ อธิการบดี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ไดร้ บั การคดั เลอื กจาก
รับโล่ศิษย์เก่าเกียรติยศ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รบั โลร่ างวลั ศษิ ยเ์ กา่
เกียรติยศ ประจำาปี ๒๕๖๔ ประเภทผ้ปู ระสบความสำาเร็จสูง
จากคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ประเภท ผู้ประสบความสำาเร็จสูง ในหนา้ ทก่ี ารงานหรอื วชิ าชพี

ในหน้าที่การงานหรือวิชาชีพ ทง้ั น้ี คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มนี โยบาย
ส่งเสริมและสร้างขวัญกำาลังใจแก่ศิษย์เก่าท่ีสร้างช่ือเสียงและ
ทาำ คณุ ประโยชนต์ อ่ วงการศกึ ษา ในโอกาสวนั คลา้ ยวนั สถาปนา
คณะครศุ าสตร์ วนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ของทกุ ปี โดยมกี ารมอบโล่
ศษิ ยเ์ กา่ เกยี รตยิ ศเปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๔๘

“ดร.รชั ชพงษ์ ชชั วาลย”์ คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรฯ์
ศิษย์เก่าดเี ด่น ด้านความสำาเรจ็ ในอาชีพ คณะ วจก. ม.อ.

“ดร.รชั ชพงษ์ ชชั ว�ลย”์ คณบดคี ณะมนษุ ยศ�สตรแ์ ละ ดร.รัชชพงษ์ ชัชว�ลย์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ
สงั คมศ�สตร์ มรภ.สงขล� ไดร้ บั คดั เลอื กจ�กคณะวทิ ย�ก�รจดั ก�ร สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) กลา่ วถงึ ความรสู้ กึ
มห�วทิ ย�ลยั สงขล�นครนิ ทร์ ใหเ้ ปน็ ศษิ ยเ์ ก�่ ดเี ดน่ ด�้ นคว�มส�ำ เรจ็ ตอ่ รางวลั ทไ่ี ดร้ บั วา่ รสู้ กึ ยนิ ดแี ละเปน็ เกยี รตอิ ยา่ งยง่ิ ทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื ก
ในอ�ชพี ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔ เจ�้ ตวั เผยขอน�ำ คว�มร-ู้ ประสบก�รณ์ ใหเ้ ปน็ ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ถ�่ ยทอดใหล้ กู ศษิ ย์ ควบคชู่ ว่ ยเหลอื สงั คมในมติ กิ �รพฒั น�ทอ้ งถน่ิ ประจาำ ปี ๒๕๖๔ ซง่ึ เปน็ สถาบนั การศกึ ษาทไ่ี ดป้ ระสทิ ธป์ิ ระสาทวชิ าความรู้
และสงั คม ใหแ้ กต่ น ตง้ั แตร่ ะดบั ปรญิ ญาตรี รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑติ ปรญิ ญาโท
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ และปริญญาเอก ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต
๘ ปาริฉตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา (การจัดการ)

คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา กลา่ วอกี วา่
ขอขอบพระคณุ คณาจารยท์ กุ ทา่ นทเ่ี มตตาใหค้ วามรแู้ ละประสบการณต์ า่ งๆ
ตนจะขอนำาความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รับไปถ่ายทอดให้แก่ลูกศิษย์
และช่วยเหลือสังคมในมิติการพัฒนาท้องถิ่นและสังคม ตามแนวทาง
พระปณธิ านแหง่ พระราชบดิ ากรมหลวงสงขลานครนิ ทรท์ ว่ี า่ “ขอใหถ้ อื
ประโยชน์ของเพอื่ นมนษุ ยเ์ ปน็ กจิ ท่หี นึง่ ” และเป็นความโชคดที ตี่ นได้
มโี อกาสทาำ งาน ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ซง่ึ เปน็ สถาบนั การศกึ ษา
ที่มีปรัชญามุ่งม่ันในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน
ทำาให้ได้มีโอกาสในการทำางานเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินอย่างเป็นรูปธรรม
ตามปณธิ านท่วี างไว้

มรภ.สงขลา ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่

ในรูปแบบออนไลน์

มรภ.สงขล� ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษ�ใหมใ่ นรปู แบบออนไลน์
Steaming Live พร้อมบรรย�ยเรียนรู้ชีวิต ด้วยกิจกรรม
นกั ศกึ ษ� บรกิ �รของส�ำ นกั วทิ ยบรกิ �รและเทคโนโลยสี �รสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) จัดปฐมนิเทศ
นกั ศกึ ษาใหม่ ประจำาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ (ภาคปกตแิ ละภาค กศ.บป.)
ในรูปแบบออนไลน์ Steaming Live ผ่านแฟนแพจ กองพัฒนา
นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยมี รองศ�สตร�จ�รย์
ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ และกลา่ วตอ้ นรบั
นักศึกษาใหม่ การบรรยาย เรื่อง เรียนรู้ชีวิต ด้วยกิจกรรมนักศึกษา
โดย อ�จ�รย์จิรภ� คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา
อ�จ�รยจ์ ริ �ภรณ์ กวดขนั ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี และกลมุ่ ตวั แทนผนู้ าำ นกั ศกึ ษา

นอกจากน้ัน กองพัฒนานกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา ยังได้ชี้แจง
เรอ่ื งบรกิ ารและสวสั ดกิ ารสาำ หรบั นกั ศกึ ษา อาทิ ทนุ การศกึ ษา กองทนุ
ใหก้ ยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษา ประกนั อบุ ตั เิ หตุ หอพกั นกั ศกึ ษา และการขอผอ่ นผนั
การตรวจเลอื กทหาร รวมทงั้ ระเบยี บการแตง่ กายทถี่ กู ตอ้ งตามกฎของ
มหาวิทยาลัย ปิดท้ายด้วย การบรรยาย เรื่อง การบริการของสำานัก
วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย อ�จ�รย์เสรี ชะนะ
ผอู้ าำ นวยการสาำ นกั วทิ ยบรกิ ารฯและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มรภ.สงขลา

สำาหรับรูปแบบการเรียนการสอนของ มรภ.สงขลา ในขณะนี้
ยังคงยึดรูปแบบออนไลน์จนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง ซ่ึงทาง
มหาวิทยาลัยจะต้องประเมินสถานการณ์เป็นรายสัปดาห์ เพื่อความ
รอบคอบในการพจิ ารณาเพอ่ื ความปลอดภยั และเหมาะสมตอ่ สถานการณ์
มากทส่ี ดุ จงึ ขอใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนตดิ ตามขอ้ มลู -ขา่ วสารของมหาวทิ ยาลยั
อย่างใกล้ชิดผ่านช่องทางออนไลน์ของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย
ลิงก์รับชมการถ่ายทอดสดย้อนหลัง https://www.facebook.com/
watch/live/?v=๑๑๓๔๙๓๐๑๑๓๖๖๘๑๔๔&ref=watch_permalink

มรภ.สงขลา สุดปลื้ม “นูรอาตีก๊ะห์ ทางา” สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุฯ

ได้รับทุนนักศึกษาแลกเปลี่ยน ณ สหรัฐอเมริกา

มรภ.สงขล� สดุ ปลมื้ “นรู อ�ตกี ะ๊ ห์ ท�ง�” นกั ศกึ ษ�ส�ข� นอกจากนน้ั ยงั ไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมบาำ เพญ็ ประโยชนเ์ พอื่ ชมุ ชน
วชิ �ภ�ษ�องั กฤษ คณะครศุ �สตร์ ผ�่ นก�รคดั เลอื กจ�กสถ�นทตู เป็นเวลา ๒๐ ชัว่ โมงต่อภาคการศึกษาและร่วมประชุมสัมมนารว่ มกับ
อเมรกิ นั ประจำ�ประเทศไทย รว่ มกบั ฟุลไบรท์ รบั ทุนนกั ศกึ ษ� ผรู้ บั ทนุ Global UGRAD จากประเทศอน่ื ๆ ในหวั ขอ้ เกย่ี วกบั การพฒั นาผนู้ าำ
แลกเปล่ยี น ณ สหรัฐอเมรกิ � และทกั ษะในการทาำ งาน และอาจมโี อกาสไดร้ บั การอบรมภาษาองั กฤษ
ในสหรัฐฯ ก่อนเข้ารับทุน รวมถึงได้รับการประสานงานในภาพรวม
สาำ นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั การปฐมนเิ ทศ และการดแู ลจากฟุลไบรท์ ประเทศไทย ทำาใหม้ ีโอกาส
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ น�งส�วนรู อ�ตกี ะ๊ ห์ ท�ง� นกั ศกึ ษา สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั ผไู้ ดร้ บั ทนุ ฟลุ ไบรทอ์ นื่ ๆ ทจ่ี ะไปในปเี ดยี วกนั รวมถงึ
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ศษิ ยเ์ กา่ ทง้ั ไทยและอเมริกนั
ผ่านการคัดเลือกจากสถานทูตอเมริกันประจำาประเทศไทย ร่วมกับ ๙ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
มลู นธิ กิ ารศกึ ษาไทย-อเมรกิ นั (ฟลุ ไบรท)์ ใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ๒๐๒๑-๒๐๒๒
Global Undergraduate Exchange Program (ทนุ นกั ศกึ ษาแลกเปลย่ี น
สำาหรบั มหาวทิ ยาลัยในภมู ิภาคทกี่ าำ หนด) ประจาำ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ณ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า เปน็ ระยะเวลา ๑ ภาคการศกึ ษา (ประมาณ
๔-๕ เดอื น)

ทั้งน้ี ส่ิงท่ี น�งส�วนูรอ�ตีก๊ะห์ ท�ง� จะได้รับจากทุน
Global Undergraduate Exchange Program อาทิ ไดร้ บั ทนุ แลกเปลย่ี น
เต็มจาำ นวนจาก The Bureau of Educational and Cultural Affairs
(ECA) กระทรวงการตา่ งประเทศของสหรฐั อเมรกิ า โดยมี World Learning
(ประเทศสหรัฐอเมริกา) และ Fulbright Thailand (ประเทศไทย)
เปน็ ผบู้ รหิ ารทนุ การศกึ ษา ไดเ้ ขา้ เรยี นในหลกั สตู รทเ่ี ปดิ สอนในสถาบนั
อุดมศึกษาและพักร่วมกับเพื่อนนักศึกษาชาวอเมริกันหรือครอบครัว
ชาวอเมริกนั

ร.ร.สาธิต มรภ.สงขลา จัดกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ

“ร้อยดวงใจ นอ้ มรำ�ลกึ ในพระมห�กรณุ �ธิคุณ” ในรูปแบบออนไลน์

เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา (๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๔) สมเดจ็
พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) นำาโดย
อ�จ�รย์ ดร.พรรณี ผดุ เกตุ ผูอ้ ำานวยการโรงเรียนสาธติ ฯ จัดกิจกรรม
วนั แมแ่ หง่ ชาติ “รอ้ ยดวงใจ นอ้ มราำ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ” ในรปู แบบ
ออนไลน์ เม่อื วันท่ี ๑๑ สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา

มรภ.สงขลา อบรมเตรียมความพร้อมนักศึกษาพิการ-ออทิสติก
เทียบเชิญวิทยากรแนะแนวทางช่วยเหลือด้านการเรียนการสอน

มรภ.สงขล� จดั อบรมเตรยี มคว�มพรอ้ มส�ำ หรบั นกั ศกึ ษ�พกิ �ร- และนกั ศกึ ษาทกุ คน จะไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเตรยี มความพรอ้ ม
ออทสิ ตกิ ในรปู แบบออนไลน์ เทยี บเชญิ วทิ ย�กร ม.เกษตรศ�สตร์ สำาหรับนักศึกษาพิการ และสามารถนำาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
แนะแนวท�งชว่ ยเหลอื ด�้ นก�รเรยี นก�รสอน สร�้ งคว�มรคู้ ว�มเข�้ ใจ การจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเพอ่ื ชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษาพกิ าร
แกอ่ �จ�รยแ์ ละผปู้ กครอง รว่ มดแู ลคนกลมุ่ พเิ ศษใหม้ คี ณุ ภ�พชวี ติ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ยี ง่ิ ขน้ึ ตอ่ ไป
ทด่ี ขี น้ึ
ดา้ น ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รยร์ กั ษณิ � หยดยอ้ ย หวั หนา้ หนว่ ยบรกิ าร
สถาบนั พฒั นาการศกึ ษาพเิ ศษ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) สนบั สนนุ นกั ศกึ ษาพกิ าร สถาบนั สถาบนั พฒั นาการศกึ ษาพเิ ศษ มรภ.สงขลา
จดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง เตรยี มความพรอ้ มสาำ หรบั นกั ศกึ ษาพกิ าร ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า มรภ.สงขลา ให้โอกาสแก่นักศึกษาพิการ
เมอ่ื วนั ที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ในรปู แบบออนไลน์ Live ผา่ นระบบZOOM เขา้ ศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา มที ง้ั นกั ศกึ ษาทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเหน็
ณ สถาบนั พฒั นาการศกึ ษาพเิ ศษ มรภ.สงขลา วทิ ยากรโดย รองศ�สตร�จ�รย์ บกพร่องทางการได้ยิน และ บกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว
ดร.ด�รณี อทุ ยั รตั นกจิ จากคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ โดยมหี นว่ ยบรกิ ารสนบั สนนุ นกั ศกึ ษาพกิ ารทาำ หนา้ ทใ่ี หบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื
บรรยายเรอ่ื ง แนวทางการชว่ ยเหลอื ดา้ นการเรยี นการสอนสาำ หรบั นกั ศกึ ษา ซง่ึ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ มรภ.สงขลา เปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาออทสิ ตกิ เขา้ เรยี น
พกิ ารและออทสิ ตกิ ในระดบั อดุ มศกึ ษา โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก รองศ�สตร�จ�รย์ ในระดบั อดุ มศกึ ษา ซง่ึ นกั ศกึ ษากลมุ่ นเ้ี ปน็ บคุ คลทม่ี คี วามผดิ ปกตขิ องระบบ
ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธิการบดี มรภ.สงขลา เปน็ ประธานเปดิ โครงการ การทาำ งานของสมองบางสว่ น สง่ ผลตอ่ ความบกพรอ่ งทางพฒั นาการดา้ นภาษา
ด้านการปฏิสัมพนั ธท์ างสังคม โดยมีพฤติกรรมความสนใจจำากัดเฉพาะ
ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร.โสภณ ชัยวัฒนกุลว�นิช รกั ษาการ เร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่ ดังนนั้ เพื่อใหอ้ าจารย์และบคุ ลากรมคี วามรู้ความเข้าใจ
ผอู้ าำ นวยการสถาบนั พฒั นาการศกึ ษาพเิ ศษ มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ การจดั ต่อนกั ศึกษากลุ่มน้ี และสามารถจดั การเรียนการสอนได้ สถาบันพฒั นา
โครงการฯ ในครง้ั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสาำ หรบั นกั ศกึ ษาพกิ าร การศึกษาพิเศษ จึงได้จัดโครงการอบรมในครัง้ นข้ี ึน้
และออทสิ ตกิ ในระดบั อดุ มศกึ ษา และเพอ่ื ประชมุ ชแ้ี จงทาำ ความความเขา้ ใจ
กบั ผปู้ กครองในดา้ นการเรยี นการสอนของนกั ศกึ ษาพกิ าร โดยมผี เู้ ขา้ รว่ ม
โครงการประมาณ 7๐ คน คาดหวังว่าอาจารย์ บุคลากร ผ้ปู กครอง

๑๐ ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

คณะครฯุ มรภ.สงขลา ผนกึ ๘ สถาบนั เครอื ขา่ ย

จดั คา่ ยครเู พอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ

คณะครุศ�สตร์ มรภ.สงขล� จับมือมห�วิทย�ลัยเครือข่�ย คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โดยมี รองศ�สตร�จ�รย์
สถ�บันผลิตครูภ�คใต้ตอนล่�ง 8 สถ�บัน จัดกิจกรรมค่�ยครู ดร.ทศั น� ศิรโิ ชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา เปน็ ประธานในพิธีเปดิ
เพอ่ื พฒั น�ทอ้ งถน่ิ (Summer Camp) ในรปู แบบออนไลน์ มงุ่ สง่ เสรมิ
ศกั ยภ�พเชงิ วชิ �ก�รและวชิ �ชพี นกั ศกึ ษ� หลอ่ หลอมจติ วญิ ญ�ณ ดา้ น อ�จ�รย์ ดร.ภวู เดช อินทเรือง รองคณบดีฝ่ายบริหาร
คว�มเป็นครู และวชิ าการ คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา ผูเ้ สนอโครงการ กลา่ ววา่
คณะครศุ าสตรด์ าำ เนนิ การจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รเพอ่ื พฒั นานกั ศกึ ษาครู
ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.ศรตุ พิ งศ์ ภวู ชั รว์ ร�นนท์ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ในโครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถ่ิน โดยมีคณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ คณะครุศาสตรจ์ ัด มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี เปน็ ประธานเครอื ขา่ ย
กิจกรรมคา่ ยครูเพื่อพฒั นาท้องถิ่น (Summer Camp) สาำ หรบั นกั ศกึ ษา สถาบันผลติ ครภู าคใต้ตอนลา่ ง ร่วมกับ ๘ สถาบนั เครือขา่ ย ซึง่ ตาม
โครงการผลติ ครูเพือ่ พฒั นาทอ้ งถ่นิ รหสั ๖๑ ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ น เงอ่ื นไขขอ้ ตกลงจากหลกั การดงั กลา่ วขา้ งตน้ สาำ นกั งานปลดั กระทรวง
ระบบ Zoom ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๕ และ ๒๑-๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ โดย การอุดมศึกษาฯ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงกำาหนดให้สถาบันผลิตครู
ดาำ เนนิ งานรว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ยสถาบนั ผลติ ครภู าคใตต้ อนลา่ ง เครอื ขา่ ยสถาบนั ฝา่ ยผลติ ครเู ชงิ พนื้ ที่ ตลอดจนหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
๘ สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ในแตล่ ะจงั หวดั แตล่ ะภมู ภิ าค ตอ้ งทาำ งานรว่ มมอื กนั ในลกั ษณะเบญจภาคี
ราชมงคลศรีวิชัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประกอบดว้ ย ๑. สถาบนั ผลติ ครู ๒. เครอื ขา่ ยสถาบนั ผลติ ครใู นแตล่ ะ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยทักษิณ ภูมภิ าค ๓. ศึกษาธกิ ารภาค ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สำานกั งานเขตพ้ืนที่
มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ วทิ ยาเขตยะลา วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปพทั ลงุ การศึกษา ๔. สถานศึกษา และ ๕. ชุมชนทีร่ ่วมกนั ออกแบบกาำ หนด
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในการสังเคราะห์องค์ความรู้ ถอดบทเรียน วิธีการในการพัฒนานักศึกษาผู้ที่รับทุนตลอดระยะเวลาท่ีศึกษาใน
การทาำ งานในฐานะครูนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ สถาบนั ผลติ ครู เป็นการสรา้ งครทู มี่ ีคณุ ภาพ
ของนกั เรียน ตลอดจนการทาำ งานของครใู นยคุ ปจั จบุ นั ทง้ั ยงั เปน็ ชอ่ งทาง
สาำ หรบั อาจารยน์ เิ ทศก์ได้ประเมินสมรรถนะครูนักวิจัยของนักศึกษาฝึก ทั้งน้ี สถาบันผลิตครูจะต้องออกแบบกิจกรรมที่จะหล่อหลอม
ปฏบิ ตั ิการสอนรว่ มกับหนว่ ยฝกึ สอนอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจะนำาไปสู่การ จติ วญิ ญาณความเปน็ ครใู หแ้ กน่ กั ศกึ ษา โดยมที งั้ กจิ กรรมในสถาบนั
พฒั นานกั ศกึ ษาใหม้ คี วามรแู้ ละสมรรถนะตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี ใน ผลติ ครทู ง้ั ในและนอกชน้ั เรยี น กจิ กรรมรว่ มกนั ในเครอื ขา่ ย ซง่ึ กระบวนการ
การพัฒนาท้องถน่ิ ตามคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ผลิตครูครูแนวใหม่นี้จะต้องเป็นการส่งเสริมศักยภาพเชิงวิชาการ
และวชิ าชพี สรา้ งสรรคช์ มุ ชนวชิ าชพี นกั ศกึ ษาครเู พอ่ื การเรยี นรู้ (PLC)
กจิ กรรมคา่ ยครูเพือ่ พัฒนาทอ้ งถ่นิ (Summer Camp) ทจ่ี ัดขน้ึ ใน ตงั้ แตใ่ นระหวา่ งศกึ ษาและการสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางสงั คม
ครง้ั น้ี ได้รบั เกียรตจิ าก ฯพณฯ ชินวรณ์ บุณยเกยี รติ อดีตรฐั มนตรี ของกลุ่มนักศึกษาครู เพ่อื พัฒนาทอ้ งถ่ินใหเ้ ป็นฐานกาำ ลงั เชิงวชิ าการ
วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ปาฐกถาและบรรยายพิเศษ “ครูคนื ถิ่นกบั ทม่ี คี ณุ ภาพ โดยมเี ปา้ หมายใหน้ กั ศกึ ษาครใู นโครงการผลติ ครเู พือ่ พัฒนา
การพฒั นาบ้านเกดิ ” นอกจากนั้น ยังมีการบรรยายพิเศษ “จิตวิญญาณ ทอ้ งถน่ิ ไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร โดยเนน้
ความเปน็ คร”ู โดย ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.ศรตุ พิ งศ์ ภวู ชั รว์ ร�นนท์ การสังเคราะห์องค์ความรู้ การถอดบทเรียนการทำางานในฐานะครู
คณบดคี ณะครศุ าสตร์ และ บรรยายพเิ ศษ “ความเปน็ ครู : ปญั หา และทางออก” นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ตลอดจน
โดยวทิ ยากรผทู้ รงคณุ วฒุ ิ รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ธรี พงศ์ แกน่ อนิ ทร์ การทำางานของครูในยคุ ปัจจุบนั

๑๑ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขล�

จัดประชุมวิช�ก�รระดับช�ติ ด้�นมนุษยศ�สตร์ฯ ครั้งที่ 3

เทยี บเชญิ “ศ.ดร.จรสั สวุ รรณม�ล�” ป�ฐกถ�พเิ ศษในรปู แบบออนไลน์

มรภ.สงขล� จัดประชมุ วิช�ก�รด�้ นมนษุ ยศ�สตร์และสงั คมศ�สตร์ ระดบั ช�ติ
ครั้งที่ 3 เทียบเชิญ “ศ.ดร.จรัส สุวรรณม�ล�” อดีตน�ยกสภ�ฯ ป�ฐกถ�พิเศษ
“กระบวนทัศน์ใหม่ของมนุษยศ�สตร์และสังคมศ�สตร์กับก�รพัฒน�ท้องถ่ิน”
สุดปลม้ื นกั วจิ ยั มรภ.สงขล� คว�้ ๕ ร�งวลั บทคว�มระดบั ด-ี ดเี ดน่

รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
กล่าวระหวา่ งเปน็ ประธานในพธิ เี ปิดการประชมุ วิชาการดา้ นมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี ๓ “กระบวนทศั นใ์ หมข่ องมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรก์ บั การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ”
จดั โดยคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา รว่ มกบั เครอื ขา่ ย ๕ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ภาคใต้ สาำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) และกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
นวตั กรรม (อว.) ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ นระบบ ZOOM ระหวา่ งวนั ท่ี ๒-๓ สงิ หาคม ๒๕๖๔ วา่
ขอชน่ื ชมทางคณะผจู้ ดั งานทร่ี ว่ มกนั จดั การประชมุ วชิ าการขน้ึ ในครง้ั น้ี ซง่ึ แสดงถงึ ความมงุ่ มน่ั ท่ี
จะยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการวจิ ยั เชงิ รกุ เพอ่ื สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหแ้ กท่ อ้ งถน่ิ สมู่ าตรฐาน
สากลตามยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ของ มรภ.สงขลา

อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา กลา่ วอกี วา่ การเปดิ เวทสี าธารณะดา้ นการวจิ ยั ด้าน ดร.รัชชพงษ์ ชัชว�ลย์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ
และวชิ าการแกค่ ณาจารย์ นกั วชิ าการ นสิ ติ และนกั ศกึ ษา ไดแ้ ลกเปลย่ี นความรู้ สงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ การประชมุ วชิ าการทจ่ี ดั ขน้ึ ในครง้ั น้ี
อนั จะนำาไปส่กู ารสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื ทางวิชาการ เพ่ือใหเ้ กิด มผี เู้ ขา้ รว่ มจาำ นวน ๕๐๐ คน ไดแ้ ก่ คณาจารย์ นกั วจิ ยั นกั วชิ าการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
การพฒั นาผลงานวจิ ยั สรา้ งสรรคง์ านวชิ าการทเ่ี ขม้ แขง็ ยง่ั ยนื ตอบสนอง ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย และนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ความตอ้ งการของสงั คมและประเทศชาติ สอดรบั กบั ปรชั ญาของมหาวทิ ยาลยั ถอื เปน็ เวทใี หค้ ณาจารย์ นกั วจิ ยั นสิ ติ นกั ศกึ ษาและผสู้ นใจไดน้ าำ เสนอ
ทว่ี ่า มรภ.สงขลา : สถาบันอดุ มศกึ ษาเพือ่ การพัฒนาทอ้ งถิ่น ซง่ึ ต้อง และเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการสสู่ าธารณชนและชมุ ชนวชิ าการ รวมทง้ั
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้กรุณาให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ได้แลกเปล่ียนข้อคิดเห็นและประสบการณ์ สูก่ ารพฒั นางานวจิ ยั และ
ตลอดจนเจา้ ภาพรว่ มจากคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั งานสร้างสรรค์ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ราชภฏั ทง้ั ๕ แหง่ และขอขอบพระคณุ ศ�สตร�จ�รย์ ดร.จรสั สวุ รรณม�ล� นอกจากนน้ั ยงั เปน็ การรวบรวมจดั พมิ พบ์ ทความทางวชิ าการในรปู แบบ
อดตี นายกสภา มรภ.สงขลา ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละนกั วชิ าการดา้ นรฐั ศาสตร์ เอกสารทางวชิ าการ และสรา้ งเครอื ขา่ ยในการสรา้ งสรรคง์ านวจิ ยั และ
องคป์ าฐกทใ่ี หเ้ กยี รตมิ าปาฐกถาพเิ ศษในหวั ขอ้ “กระบวนทศั นใ์ หมข่ อง งานวชิ าการ ระหว่างนกั วจิ ยั นักวิชาการ ในสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรก์ บั การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ” การจดั โครงการ เพ่ือร่วมมือกนั พัฒนางานวชิ าการและอืน่ ๆ ท่เี กี่ยวข้อง
ครง้ั นถ้ี อื วา่ มปี ระโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ดา้ นการวจิ ยั
และวชิ าการ ซ่งึ เป็นบทบาทสาำ คัญของมหาวทิ ยาลยั ในอนาคต

๑๒ ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ดร.รชั ชพงษ์ กลา่ วอกี วา่ ภายในงานมกี ารนาำ เสนอผลงานวจิ ยั คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ โดย วลยั ลกั ษณ์
ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทุกมิติ แบ่งเป็น ๑๐ กลุ่ม ดังนี้ รัตนวงศ์ ป�ริฉัตร ตู้ดำ�นวิทย์ เอมเอก ธีรพร ทองขะโชค
กลมุ่ ที่ ๑ ภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์ ภาษาและวรรณคดี และ และ ชวี นนั ท์ คณุ พทิ กั ษ์ ๔. การพฒั นาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบมี
การสอนภาษาตา่ งประเทศ กลมุ่ ท่ี ๒ ภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์ ปฏิสัมพันธ์เพ่ือการเรียนรู้คำาศัพท์ภาษาอังกฤษสำาหรับนักเรียน
ภาษาและวรรณคดี และการสอนภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ โดย ฮ�กมี ะห์ บอื แน วชิ ชดุ � เพชรสวุ รรณ
และ สลลิ � เพช็ รทอง ๕. การพฒั นาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ สรมิ ทกั ษะ
กล่มุ ท่ี ๓ ประวัติศาสตร์ การท่องเท่ยี วและนันทนาการ กล่มุ ท่ี ๔ การอา่ นภาษาองั กฤษโดยใชเ้ นอ้ื หาบรบิ ททอ้ งถน่ิ ภาคใต้ สาำ หรบั นกั เรยี น
สงั คมศกึ ษาและภมู ศิ าสตร์ กลมุ่ ท่ี ๕ รฐั ศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ และ ระดบั ชว่ งชน้ั ที่ ๒ ในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดย นรู ฮนั น�น ตยู ง
นติ ศิ าสตร์ กลมุ่ ท่ี ๖ พฒั นาชมุ ชนและสวสั ดกิ ารสงั คม กลมุ่ ท่ี 7 ศลิ ปกรรม ทศั นยี ์ ลอฮะ และ สลลิ � เพช็ รทอง ๖. การศกึ ษาปญั หาการสอื่ สาร
และการออกแบบ กลมุ่ ท่ี ๘ การจดั การวฒั นธรรม กลมุ่ ท่ี ๙ การจดั การ ภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาฝกึ งาน สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ มหาวทิ ยาลยั
สารสนเทศ และ กล่มุ ท่ี ๑๐ การบริหารจัดการ โดยได้รับความกรุณา ราชภัฏสงขลา โดย ซูไรนี กระโด ณชิ �รีย์ กะหละหมดั สทิ ธโิ ชค
จากผู้ทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยจำานวน ๑๐ แห่ง ให้ข้อเสนอแนะ ด�ำ เรือง และ อมรรตั น์ จริ ันดร 7. แนวทางพัฒนากฎหมายการจ้าง
ท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อการสรา้ งสรรค์งานวจิ ัยและงานวิชาการ แรงงานและคมุ้ ครองแรงงานผสู้ งู อายุ โดย ประพ�ฬรตั น์ สขุ ดษิ ฐ์ และ
เลอพร ศภุ สร
ทง้ั น้ี มผี สู้ ง่ บทความวจิ ยั และบทความวชิ าการเขา้ รว่ มนาำ เสนอรวมทง้ั สน้ิ
๑๑๒ บทความ และมีการพจิ ารณาคดั เลอื กบทความทไี่ ด้รบั รางวลั ดังน้ี “เมอ่ื จบโครงการนค้ี ณะกรรมการดาำ เนนิ งานหวงั อยา่ งยง่ิ วา่ จะเกดิ การ
บทความดเี ดน่ จาำ นวน ๕ บทความ ไดแ้ ก่ ๑. การนาำ เทคนคิ EDFR พฒั นาผลงานวจิ ยั การสรา้ งสรรคง์ านวชิ าการทเ่ี ขม้ แขง็ เกดิ การผนกึ กาำ ลงั กนั
ไปใชส้ าำ หรบั การวจิ ยั ดา้ นทอ่ งเทย่ี ว โดย เตง้ิ อ�้ ยหมนิ และ ยพุ นิ อนุ่ แกว้ ของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทง้ั 5 แหง่
๒. แนวทางการยกระดับการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน กรณศี กึ ษา : ชมุ ชนบ้าน เพอ่ื จดั งานประชมุ วชิ าการทางมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรใ์ นปตี อ่ ๆ ไป”
บากันเคย ตำาบลตนั หยงโป อำาเภอเมอื ง จงั หวดั สตลู โดย กนั ตนิ ันท์ คณบดีคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์มรภ.สงขลา กลา่ ว
โฉมทอง และ มุจลินทร์ ผลกล�้ ๓. การศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสอนขบั รอ้ งในประเทศไทย ในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๔7-๒๕๖๒ ขณะที่ ศ�สตร�จ�รย์ ดร.จรัส สวุ รรณม�ล� องค์ปาฐก ได้ร่วม
โดย ภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ ๔. แนวทางและเครื่องมือสำาหรับ เสนอมุมมองกระบวนทัศน์ใหม่ในเชิงวิชาการ จากวิกฤตสถานการณ์
จดั การเรยี นการสอนภาษาจนี ในรปู แบบออนไลน์ โดย สดุ �รตั น์ จงบรู ณสทิ ธ์ิ แพร่ระบาดของโรค โควิด-๑๙ ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง
และ วสิ ทุ ธ์ิ กระจ�่ งศริ ศิ ลิ ป์ ๕. การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของพน้ื ทเ่ี พอ่ื รองรบั อยา่ งรวดเร็ว สู่การปรบั ตัว ฟ้ืนฟู และพฒั นาท้องถิน่ โดยอาศยั หลัก
การขยายตัวของเมืองในอำาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดย ทางดา้ นมนษุ ยศาสตรฯ์ ควบคกู่ ารใชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ศุภฤกษ์ โออินทร์ และ พชิ ญ์สนิ ี อนิ พ�เพียร

บทความดี จาำ นวน 7 บทความ ไดแ้ ก่ ๑. แนวทางสง่ เสรมิ การตลาด
เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร บา้ นนาคหู า ตาำ บลสวนเขอ่ื น อาำ เภอเมอื งแพร่
จงั หวดั แพร่ โดย ป�นณน�ถ ศกั ดศ์ิ ริ คิ ณุ และ ประกอบศริ ิ ภกั ดพี นิ จิ
๒. การพฒั นากจิ กรรมทางการทอ่ งเทย่ี วผา่ นผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ ของทร่ี ะลกึ
ชมุ ชนบา้ นตลาดตรอกซอย ตาำ บลตากออก อาำ เภอบา้ นตาก จงั หวดั ตาก
โดย ศริ ศิ กั ด์ิ ศกั ดศ์ิ ริ คิ ณุ เจนจริ � ฟน่ั เตม็ ดษุ ฎี มกุ ด�ออ่ น กนกพร
บัวทรัพย์ และ สุวจั นก�นด� พูลเอยี ด ๓. ความพึงพอใจผใู้ ชบ้ ณั ฑิต
หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

๑๓ปาริฉัตร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

“เกษตร” มรภ.สงขลา ลงพนื้ ท่ี ต.คลองหลาชว่ ยเกษตรกรยกระดับทเุ รียนพน้ื บา้ นพันธป์ุ ากทา่ ของดปี ระจำำ ถนิ่
ผศ.ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง กลา่ ววา่ จากการสาำ รวจเบอ้ื งตน้ ทราบวา่
มีทุเรียนพันธุ์ปากท่าต้นเดิม ๆ เหลืออยู่เพียง 7 ต้นเท่าน้ันใน
จงั หวดั สงขลา จงึ ไดล้ งพน้ื ทเ่ี พอ่ื รว่ มกนั แกป้ ญั หา พฒั นา และยกระดบั
ผลติ ภัณฑต์ ามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการฯ โดยไดพ้ บปะและพูดคยุ กับ
น�ยไพฑรู ย์ รตั นศรี น�งดวงสมร รตั นศรี (ภรรยา) และ น�งส�วพชี �
รตั นศรี (บตุ รสาว) ซง่ึ สบื ทอดสายพนั ธจ์ุ ากตน้ แมท่ ม่ี อี ายกุ วา่ ๒๐๐ ปี
มาแล้ว ทุเรียนปากท่ามีต้นกำาเนิดมาจากทุเรียนป่าหรือที่คนทั่วไป
เรยี กวา่ ทเุ รยี นพน้ื บา้ น ทเุ รยี นปา่ มากบั กระแสนาำ้ แลว้ มาเจรญิ เตบิ โตทท่ี า่ นาำ้
บนทด่ี นิ ของนางหลอด โดยกอ่ นหนา้ นท้ี เุ รยี นปากทา่ เคยใหผ้ ลผลติ จาำ นวนมาก
ราวตน้ ละ ๔๐๐-๕๐๐ ลกู เลยทเี ดยี ว ซง่ึ ทางสวนจะเนน้ ยา้ำ ใหป้ ลกู แบบ
เกษตรอินทรยี ป์ ลอดภยั
คณะเทคโนโลยกี �รเกษตร มรภ.สงขล� ท�ำ กจิ กรรมสง่ เสรมิ ดร.ศภุ คั รช� อภริ ตกิ ร กลา่ วเพม่ิ เตมิ วา่ พวกตนยงั ไดเ้ ดนิ ทางไปยงั
ก�รผลิตทุเรียนในพื้นที่ภ�คใต้ตอนล่�ง ส่งคณ�จ�รย์ลงพ้ืนที่ สวนทเุ รยี นของนายประพาศ แตล่ ะตน้ มขี นาดใหญป่ ระมาณ ๒-๓ คนโอบ
ต.คลองหล� อ.คลองหอยโขง่ รับฟงั ปญั ห�และคว�มต้องก�ร ใหผ้ ลปีละ ๑ ครั้ง มีเนอ้ื เยอะ เนื้อแน่น เนื้อละเอียด และหวานเข้ม
เกษตรกร หวงั ใชค้ ว�มรทู้ �งวชิ �ก�รชว่ ยใหผ้ ลผลติ ทเุ รยี นพน้ื บ�้ น อายรุ าว ๖๐ ปี โดยนายประพาศเลา่ วา่ คณุ พอ่ ไดไ้ ปทาบกง่ิ มาจากตน้ แม่
พนั ธป์ุ �กท�่ ของดปี ระจ�ำ ถน่ิ มคี ณุ ภ�พเทยี บเท�่ ตน้ ดง้ั เดมิ ควบคู่ ทาำ ใหไ้ ดผ้ ลทเุ รยี นทม่ี ขี นาดและรสชาตทิ ดี่ เี ทยี บเทา่ ตน้ แม่ ประกอบกบั
พัฒน�ก�รขย�ยตน้ พันธุ์ดีใหม้ ีจำ�นวนเพ่ิมม�กข้นึ ดนิ บรเิ วณนเ้ี คยเปน็ ปากทา่ ซง่ึ เปน็ ทร่ี วมของสายนาำ้ ทาำ ใหด้ นิ มคี วามสมบรู ณ์
ดร.มงคล เทพรตั น์ คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตรมหาวทิ ยาลยั เหมาะกบั การปลกู ไม้ผล ทาำ ใหไ้ ด้ผลผลิตดี ตอนนี้ตนอยู่ระหว่างการ
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤษภาคมเปน็ ตน้ มา ขยายพนั ธเ์ุ พม่ิ อกี ดว้ ย เพอ่ื อนรุ กั ษท์ เุ รยี นพนั ธป์ุ ากทา่ เนอ่ื งจากเกรงวา่
ตนได้มอบหมายให้คณาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร ลงพื้นที่ หากตน้ เดิมตายไปอาจจะทาำ ให้สูญพันธไ์ุ ปได้
จดั ทาำ โครงการพฒั นาและยกระดบั ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนบนฐานดา้ นการเกษตร “จากการลงพน้ื ทท่ี าำ ใหม้ โี อกาสในการรบั ทราบปญั หาและความตอ้ งการ
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตำาบลคลองหลา และตำาบลโคกม่วง ของเกษตรกรผปู้ ลกู ทเุ รยี นซง่ึ จะไดร้ ว่ มกนั ในเรอ่ื งของการจดั การแปลงปลกู
อาำ เภอคลองหอยโขง่ จังหวัดสงขลา โดยมกี ิจกรรมย่อยในการลงพืน้ ท่ี หลังการเก็บเกี่ยวผลผลติ เชน่ การให้ปุย๋ การตรวจสภาพดิน เพือ่ ให้
ร่วมกับชุมชน ซึ่งแต่ละหมู่บ้านมีของดีของเด่นและเป็น OTOP ของ ผลผลติ มคี ณุ ภาพเทยี บเทา่ ตน้ ดง้ั เดมิ และเพอ่ื พฒั นารว่ มกนั ในสว่ นของ
หมบู่ า้ นอยแู่ ลว้ ทง้ั ตาำ บลคลองหลาและตาำ บลโคกมว่ ง โดยทางคณาจารย์ การขยายพนั ธต์ุ น้ พนั ธด์ุ ใี หม้ จี าำ นวนเพม่ิ มากขน้ึ รวมทง้ั หาวธิ กี ารขยายพนั ธ์ุ
ไดเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ญั หาเพอ่ื พฒั นาและยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ ทเ่ี หมาะสมต่อไป” ดร.ศุภัครชา กลา่ ว
ชมุ ชนใหด้ ยี งิ่ ขนึ้ ทง้ั ในสว่ นของการผลติ เครอ่ื งแกงเพอื่ การคา้ ผลติ ภณั ฑ์
ขนมซงั การผลติ และแปรรปู นาำ้ ผง้ึ ชนั โรง การผลติ ผกั ระบบ GAP ครบวงจร
การเล้ียงปลาผสมผสานในแปลงเกษตร การพัฒนาการเล้ียงปศุสัตว์
ผลิตภัณฑ์หอมเจยี ว ผลติ ภัณฑ์จากสัตว์ เชน่ ไข่เค็ม ข้าวเหนยี วกวน
บ้านโหนด และการสง่ เสรมิ และผลิตทเุ รยี นพื้นบา้ น เป็นต้น ซง่ึ ลว้ น
เป็นของดใี นหมู่บ้านตา่ ง ๆ ทงั้ ส้ิน
ทัง้ นี้ ตนได้มอบหมายให้ ดร.ศุภคั รช� อภริ ติกร และ ผศ.ดร.
อมรรตั น์ ชมุ ทอง ซง่ึ รบั ผดิ ชอบดแู ลในสว่ นของกจิ กรรมยอ่ ย : การสง่ เสรมิ
การผลิตทุเรียนในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ซ่ึงในพ้ืนท่ีตำาบลคลองหลา
อาำ เภอคลองหอยโขง่ มีทเุ รียนพื้นบา้ นพนั ธป์ุ ากทา่ พันธ์เุ กา่ แก่ดง้ั เดมิ
ทข่ี น้ึ ชอ่ื เรอ่ื งรสชาตหิ วาน มนั เนอ้ื นม่ิ อรอ่ ย เนอ้ื เหนยี วเขม้ ขน้ อยใู่ นพน้ื ท่ี
หมู่ 7 บา้ นชา่ งแกว้ และไดเ้ ดนิ ทางไปยงั สวนทเุ รยี นพมิ ศริ ิ (สวนทเุ รยี น
ปากท่า) ของ น�ยไพฑูรย์ รัตนศรี และ น�ยประพ�ศ รตั นศรี
โดยกอ่ นน้ีไดต้ ดิ ต่อประสานงานกับ น�งส�ววีรนัส ก�ญจนะ และ
น�งส�วอนิ ทมิ � จนั วดี ผจู้ า้ งงานในโครงการ ๑ ตาำ บล ๑ มหาวทิ ยาลยั
เพอื่ ประสานงานไว้ก่อนแลว้

๑๔ ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มมรทภ..ส2งขลลาง-บพริเวื้นณทใก่ตี ล้เดิ คียตงามความก้าวหน้าแกน้ าำ้ ทว่ ม

รัฐมนตรีช่วยว่�ก�รกระทรวงมห�ดไทย ขับเคล่ือนนโยบ�ย ทงั้ นี้ จงั หวดั สงขลาไดข้ อรบั การสนบั สนนุ จากงบประมาณโครงการ
รัฐบ�ลบรรเท�คว�มเดือดร้อนเร่งด่วนของประช�ชน ลงพ้ืนที่ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของเศรษฐกจิ ฐานราก ภายใตก้ ลุม่
จ.สงขล� ตดิ ต�มคว�มก�้ วหน�้ แกไ้ ขปญั ห�น�้ำ ทว่ มในพนื้ ที่ มรภ. แผนงาน/โครงการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนบนพื้นฐานของ
สงขล� และบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ตลอดแนวถนนก�ญจนวนชิ ไปจนถงึ โอกาสและศกั ยภาพของทอ้ งถน่ิ : ระดบั พน้ื ทข่ี องจงั หวดั สงขลา โดยขณะน้ี
ห้�แยกนำ้�กระจ�ย และพน้ื ท่เี กย่ี วขอ้ ง อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณากลน่ั กรองการใชเ้ งนิ กขู้ องสาำ นกั งานสภาพฒั นาการ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ กอ่ นเสนอคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบตอ่ ไป
เม่ือวันท่ี ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ น�ยนพิ นธ์ บุญญ�มณี รัฐมนตรี จาำ นวน ๒ โครงการ วงเงนิ งบประมาณ ๒๘,๖๐๐,๐๐๐ บาท ประกอบดว้ ย
ชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย เปน็ ประธานการประชมุ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ๑. โครงการแกม้ ลงิ บา้ นสะพานยาวพรอ้ มอาคารประกอบ วงเงนิ ๒๕ ลา้ นบาท
การแกไ้ ขปญั หานาำ้ ทว่ มในพน้ื ทม่ี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบโครงการชลประทานสงขลา ๒. โครงการงานแกไ้ ข
และบรเิ วณใกลเ้ คยี ง ตลอดแนวถนนกาญจนวนชิ ไปจนถงึ หา้ แยกนาำ้ กระจาย และปอ้ งกนั นาำ้ ทว่ มทาง ทางหลวงหมายเลข ๔๓๐๙ ตอนสามแยกทงุ่ หวงั -
และพน้ื ที่เกีย่ วขอ้ ง ณ ห้องประชุม CEO ศาลากลางจงั หวดั สงขลา โดยมี สงขลา ระหว่าง กม.๙+๕๐๐-กม.๑๐+๒๐๐ วงเงิน ๓,๖๐๐,๐๐๐ บาท
น�ยจ�รวุ ฒั น์ เกลย้ี งเกล� ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา พรอ้ มดว้ ย น�ยวงศกร หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบแขวงทางหลวงสงขลาที่ ๑ สาำ หรบั การแกไ้ ขปญั หา
นนุ่ ชคู นั ธ์ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา น�ยวรณฎั ฐ์ หนรู อต รองผวู้ า่ ราชการ ดงั กล่าว ไดม้ ีการนำาเสนอจากหน่วยงานต่างๆ ในหลายแนวทาง อาทิ
จงั หวดั สงขลา รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา แขวงทางหลวงสงขลาที่ ๑ เสนอโครงการปรบั ปรงุ ระบบระบายน้าำ เดมิ
อ�จ�รยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต ตลอดจน บนทางหลวงหมายเลข ๔๐7 (หนา้ มรภ.สงขลา) โดยเพม่ิ ขนาดทอ่ ระบายนาำ้
หวั หนา้ สว่ นราชการ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง อาทิ สาำ นกั งานโยธาธกิ าร และกอ่ สรา้ งอาคารระบายนาำ้ เชอ่ื มตอ่ กบั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สงขลา
และผงั เมอื งจงั หวดั สงขลา โครงการชลประทานสงขลา สาำ นกั งานปอ้ งกนั ในซอยกาญจนวนชิ ๑๓ เพอ่ื ระบายนาำ้ ลงสคู่ ลองสาำ โรง ขอรบั การสนบั สนนุ
และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั สงขลา แขวงทางหลวงสงขลาที่ ๑ เทศบาล จากงบกรมทางหลวง
เมอื งเขารปู ชา้ ง ฯลฯ เขา้ รว่ มการประชมุ

น�ยนิพนธ์ บุญญ�มณี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
กลา่ ววา่ การลงพนื้ ทใ่ี นครง้ั นเี้ พอื่ ตดิ ตามการแกไ้ ขปญั หานา้ำ ทว่ มในพน้ื ที่
มรภ.สงขลา และบรเิ วณใกลเ้ คยี งใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยสอดคลอ้ ง
กับนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเร่งด่วนของ
ประชาชน โดยไดก้ าำ ชบั ทุกหนว่ ยงานในการบรู ณาการการทำางานรว่ มกัน
ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ท้ังในเรื่องของงบประมาณ
แผนการดาำ เนนิ งาน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาคใตเ้ รม่ิ มฝี นตกลงมาในพนื้ ท่ี
เนอ่ื งจากอยู่ในชว่ งฤดมู รสมุ ขอให้ทกุ หน่วยเตรยี มแผนการดำาเนนิ งาน
สง่ิ ใดพร้อมดำาเนนิ การกข็ อใหท้ ำาทันที

เทศบาลเมอื งเขารปู ชา้ ง นาำ เสนอโครงการปรบั ปรงุ คลองสง่ิ แวดลอ้ ม จากแหลง่ งบใดงบหน่งึ แขวงทางหลวงสงขลาที่ ๑ สูบโคลนจากบ่อพัก
บรเิ วณหนา้ มรภ.สงขลา เพอื่ ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณจากแหลง่ อยา่ งสมาำ่ เสมอควบคกู่ บั การลา้ งทอ่ /ดดู ระบายนาำ้ ในภารกจิ สว่ นทร่ี บั ผดิ ชอบ
งบใดงบหนง่ึ มรภ.สงขลา และมหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ นาำ เสนอการขดุ ลอก การสำารวจท่อลอดทางเข้าสำานักงาน/อาคารบ้านเรือนให้ได้มาตรฐาน
คคู ลองภายในมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ระบายนาำ้ ในชว่ งฤดฝู น เทศบาลตาำ บลพะวง รองรบั การระบายนา้ำ ในชว่ งฤดฝู นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดาำ เนนิ การกอ่ สรา้ ง
นาำ เสนอโครงการขุดลอกคลองตอเตีย้ คลองนาำ้ กระจาย คลองบางดาน ทอ่ ลอดคูระบายนา้ำ จากห้าแยกนา้ำ กระจายลงสู่ทะเลสาบสงขลา
และคลอง หมทู่ ่ี ๕ สายกลางบา้ น (พะวง) เพอ่ื ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณ

๑๕ปารฉิ ตั ร วารสารเพือ่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา เฟ้นหาตัวแทนออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่นประกวดระดับประเทศ
ทีม “POWER CHANGE” พัฒนาสบู่เหลวผลตาลสุก คว้ารางวัลชนะเลิศ

มรภ.สงขล� จบั มอื ธน�ค�รออมสนิ ประกวดผลง�นโครงก�ร อ.บางกลาำ่ จ.สงขลา ๔. ทมี SKRU รกั ษถ์ น่ิ คณะวทิ ยาการจดั การ พฒั นา
ออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ เผย ทมี POWER CHANGE คณะวทิ ย�ศ�สตรฯ์ ผลิตภัณฑ์มะม่วงเบาแช่อิ่ม Singo และส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
พฒั น�ผลติ ภณั ฑส์ บเู่ หลวผลต�ลสกุ กลมุ่ วสิ �หกจิ ชมุ ชนโหนด น� เล กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีบ้านหัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา
อ.สทงิ พระ คว�้ ร�งวลั ชนะเลศิ เปน็ ตวั แทนเข�้ แขง่ ขนั รอบ BEST OF
THE BEST ระดบั ประเทศ รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา
กลา่ ววา่ มรภ.สงขลา เปน็ มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ เปน็ หนว่ ยงาน
งานศนู ย์เครื่องมอื กลาง สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลัย ขบั เคลอ่ื นตามเปา้ หมายของธนาคารออมสนิ ซง่ึ ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) จดั กิจกรรมประกวดผลงานโครงการย่อย จากทางธนาคารฯ ใหด้ าำ เนนิ โครงการออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ จาำ นวน 7
โครงการออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ เมอ่ื วนั ท่ี ๙ สงิ หาคม ๒๕๖๔ เพอ่ื คดั เลอื ก โครงการในพน้ื ทข่ี องออมสนิ ภาค ๑๘ โดยใหค้ วามสาำ คญั กบั การสง่ เสรมิ
ตวั แทนของมหาวทิ ยาลัยเข้าแขง่ ขนั ในระดบั ประเทศ รอบ BEST OF และพฒั นาระบบเศรษฐกจิ ในระดบั ชมุ ชน ซง่ึ เปน็ หนว่ ยเศรษฐกจิ หลกั ของ
THE BEST โดยมี รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทัศน� ศิรโิ ชติ อธกิ ารบดี ระบบเศรษฐกจิ รวมทง้ั เพอ่ื ยกระดบั ขดี ความสามารถของประชาชนหรอื กลมุ่
มรภ.สงขลา เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ พรอ้ มดว้ ย อ�จ�รยพ์ ฒุ ธิ ร ตกุ เตยี น ชมุ ชนทร่ี วมตวั กนั สรา้ งผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารใหม้ ศี กั ยภาพ มนี วตั กรรมใหม่ ๆ
ผอู้ าำ นวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ทมี คณาจารยท์ ป่ี รึกษา นักศกึ ษา ซงึ่ มีมูลคา่ เพิ่มทตี่ อบสนองความต้องการของตลาด ด้วยการนาำ นักศกึ ษา
และคณะกรรมการพจิ ารณาตวั แทนจากธนาคารออมสนิ และ มรภ.สงขลา จากสถาบนั อดุ มศกึ ษา เขา้ ไปเรยี นรกู้ บั ชาวบา้ นเพอ่ื พฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
เขา้ รว่ มกจิ กรรม ซง่ึ เปน็ การดาำ เนนิ งานภายใตบ้ นั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื
โครงการออมสินยวุ พฒั น์รักษ์ถิน่ และโครงการส่งเสริมพัฒนาศกั ยภาพ ดา้ น ดร.นร�วดี บวั ขวญั รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ
ผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) และวิสาหกิจขนาดกลางและ มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ โครงการออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ เปน็ การลงพน้ื ทศ่ี กึ ษา
ขนาดย่อม (SMEs) ท่ี มรภ.สงขลา จดั ทำาร่วมกบั ธนาคารออมสินเม่ือ วเิ คราะหแ์ ละพัฒนาองค์ความรู้ทางธุรกิจมาประยุกต์ใช้ในการวางแผน
วันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๖๔ และแก้ไขปัญหาให้กับกลุ่มผู้ประกอบการ OTOP องค์กรชุมชน/กลุ่ม
อาชพี ในชุมชน ผู้ประกอบการ SMEs ผปู้ ระกอบการ SME Start Up
สาำ หรบั ผลการพจิ ารณาจากกลมุ่ นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ รว่ มประกวด จาำ นวน และอนื่ ๆ โดยนำาความรมู้ าบูรณาการกบั องคค์ วามรภู้ ูมปิ ญั ญาท้องถนิ่
7 ทมี ปรากฏวา่ รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั ๑ ไดแ้ ก่ ทมี POWER CHANGE ผนวกกบั กระบวนการตา่ ง ๆ ทธ่ี นาคารออมสนิ สนบั สนนุ การสรา้ งอาชพี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่เหลวผลตาลสุก สร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในระดับฐานราก ควบคู่ไปกับการเรียนรู้
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล อ.สทิงพระ จ.สงขลา รับเงินรางวัล ตลอดเวลา สง่ ผลใหก้ ารคา้ ขายในอาชพี เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจาก
๑๐,๐๐๐ บาท พร้อมเป็นตวั แทนมหาวิทยาลัยเขา้ ประกวดรอบระดับประเทศ การพัฒนาอยา่ งสมำา่ เสมอ
รางวลั รองชนะเลิศอันดบั ๑ ทมี HAPPY PUB คณะเทคโนโลยีการเกษตร
พฒั นาผลติ ภณั ฑข์ นมกะหรป่ี บ๊ั ไสไ้ กก่ อและ กลมุ่ เกษตรกรหมบู่ า้ นตวั อยา่ ง
อ.สะเดา จ.สงขลา รบั เงนิ รางวลั ๕,๐๐๐ บาท รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ๒
ทมี ยวุ พัฒนร์ าชภัฏสงขลา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ พฒั นา
ผลติ ภณั ฑห์ มอโหนดตา้ นตงึ และสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนกลมุ่ วสิ าหกจิ
ชมุ ชนสวนเพชรปลายนา อ.สทงิ พระ จ.สงขลา รบั เงนิ รางวลั ๓,๕๐๐ บาท

รางวลั ชมเชย จาำ นวน ๔ รางวลั รบั เงนิ รางวลั ทมี ละ ๒,๐๐๐ บาท
ไดแ้ ก่ ๑. ทมี RUBBER TECH คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พฒั นา
ผลติ ภณั ฑห์ มอนยางพารา กลมุ่ แปรรปู ผลติ ภณั ฑย์ างพารา บา้ นทงุ่ หลมุ นก
อ.สะเดา จ.สงขลา ๒. ทีม SKRU ทอฝัน คณะวิทยาการจดั การ พัฒนา
ผลิตภัณฑ์กระเป๋าเชือกพลาสติก กลุ่มผลิตภัณฑ์จักสานเชือกพลาสติก
บา้ นนาำ้ นอ้ ย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ๓. ทมี SKRU ปนั สขุ คณะวทิ ยาการจดั การ
พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสวนปนั สขุ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนสวนปนั สขุ บา้ นนาำ้ นอ้ ย

๑๖ ปารฉิ ตั ร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

เทคโน’อตุ ฯ ใช้เทคโนโลยชี ว่ ยทนุ่ แรงผสมแป้งทาำ ขนมเจาะหูสืบสานประเพณีสารทเดอื นสิบท้องถนิ่ ใต้

คณะเทคโนโลยีอุตส�หกรรม มรภ.สงขล� ประยุกต์ใช้ ในการผสมแปง้ ชว่ ยลดเวลาในการเตรยี มแปง้ สาำ หรบั ทาำ ขนมเจาะหู ทง้ั ยงั
คว�มรู้ด้�นเทคโนโลยีทุ่นแรงผสมแป้งทำ�ขนมเจ�ะหู ขนมคู่ สามารถนำาความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับตนเอง
ประเพณีส�รทเดือนสิบท้องถ่ินใต้ หวังลดเวล�เตรียมวัตถุดิบ และครอบครัว
ชว่ ยชุมชนมีร�ยได้เล้ียงครอบครวั
ดร.ศรวี รรณ ข�ำ ตรี ผชู้ ว่ ยคณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม
ดร.กนั ตภณ มะห�หมดั คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ ขนมเจาะหเู ปน็ หนึ่งในขนมทใ่ี ช้ในการจดั หมฺ ฺรับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการอบรม หรือสำารับ ในประเพณีสารทเดือนสิบของคนใต้ หรือที่คนคุ้นเคยว่า
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นเทคโนโลยศี ลิ ปหตั ถกรรมทอ้ งถน่ิ และภมู ภิ าค ครง้ั ท่ี ๑๑ งานทาำ บญุ ชงิ เปรต เพอ่ื อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหพ้ อ่ แมป่ ยู่ า่ ตายายและญาตพิ น่ี อ้ ง
สาธติ ทาำ ขนมเจาะหู ผา่ นสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยโปรแกรม Zoom ณ ลาน ทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ และผทู้ ต่ี กนรกหรอื เรยี กวา่ เปรต จะไดร้ บั อนญุ าตใหม้ า
อเนกประสงค์ อาคาร 7๔ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา พบกบั ญาตขิ องตนในเมืองมนุษยไ์ ดใ้ นวนั แรม ๑ คำ่า เดือนสบิ (๑๐)
เมอื่ วนั ท่ี ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ วา่ ทางคณะฯ เล็งเห็นถงึ ความสาำ คญั และกลบั ไปสนู่ รกดงั เดมิ ในวนั แรม ๑๕ คาำ่ เดอื นสบิ โดยในงานบญุ เดอื นสบิ
ในการสบื สานทาำ นบุ ำารุงศิลปวัฒนธรรม จึงไดเ้ ชญิ วิทยากร น�งมณฑ� เมอื งนครศรธี รรมราชจะเรยี กขนมเจาะหวู า่ ขนมดซี าำ มคี วามหมายแทน
เพชรสุวรรณ์ บคุ ลากรสำานักศิลปะและวฒั นธรรม มรภ.สงขลา ซึง่ มี เงนิ หรอื เบยี้ เพราะมลี กั ษณะคลา้ ยกบั เบยี้ หอย แตจ่ งั หวดั อนื่ ๆ กจ็ ะเรยี ก
ความเชย่ี วชาญในการทาำ ขนมพน้ื บา้ นภาคใต้ มาบรรยายใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื ง แตกต่างกันออกไป เชน่ ขนมเบซาำ และขนมเจาะรู
ความเปน็ มาและขน้ั ตอนการทาำ ขนมเจาะหู พรอ้ มทง้ั สาธติ การทาำ ขนมเจาะหู
โดยคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมไดน้ าำ ความรดู้ า้ นเทคโนโลยมี าชว่ ยทนุ่ แรง ดา้ น ผู้ชว่ ยศ�สตร�จ�รย์วีรชยั มัฎฐ�รักษ์ รองคณบดฝี า่ ย
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นานกั ศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม
มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า ทางคณะฯ ไดป้ ระยุกตใ์ ช้ความรู้
ทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน
ในรายวชิ าเทคโนโลยกี ารจดั การอตุ สาหกรรมเพอ่ื ชมุ ชน ซง่ึ อาจารยผ์ สู้ อน
ได้ให้โจทย์นักศึกษาในการนำาความรู้ไปประยุกต์ใช้เพ่ือการแก้ปัญหา
ชุมชน โดยงานกลุ่มดังกล่าวมี น�ยสุริย� สิงเน่ียว น�ยพงศธร
สยมพร น�ยวชั รพล สวุ รรณช�ตรี และ น�ยนที นวลแกว้ สาขาวชิ า
เทคโนโลยกี ารจดั การอตุ สาหกรรม (ตอ่ เนอ่ื ง) ไดน้ าำ เสนอการแกป้ ญั หา
การผสมแปง้ เพอ่ื ปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ และสง่ เสรมิ การผลติ ของผลติ ภณั ฑ์
ขนมเจาะหูเพ่อื ทาำ นุบาำ รุงศิลปวฒั นธรรม สืบทอด อนรุ กั ษแ์ ละส่งเสรมิ
การพฒั นาอตุ สาหกรรมทางดา้ นศลิ ปหตั ถกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ ใหน้ กั ศกึ ษา
มรภ.สงขลา และประชาชนทว่ั ไปทส่ี นใจไดร้ ว่ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสบื สาน
วัฒนธรรมท้องถ่นิ

เทคโน’อตุ ฯ สมั มนาสรา้ งการรบั รชู้ มุ ชนบนฐานอตั ลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ “เกาะแตว้ ”

คณะเทคโนโลยอี ตุ ส�หกรรม มรภ.สงขล� จดั สมั มน�ท�ง โดยในกิจกรรมนี้เป็นการสร้างการรับรู้และสร้างความเข้าใจในการนำา
วชิ �ก�รสร�้ งก�รรบั รขู้ องชมุ ชนบนฐ�นอตั ลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรม อัตลักษณ์ของท้องถ่ินเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน
ทอ้ งถน่ิ ต.เก�ะแตว้ ภ�ยใตโ้ ครงก�รยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คม และการท่องเท่ียวชุมชนในพื้นที่ตำาบลเกาะแต้ว อำาเภอเมืองสงขลา
ร�ยต�ำ บลแบบบรู ณ�ก�ร (๑ ต�ำ บล ๑ มห�วทิ ย�ลยั ) มงุ่ เตมิ เตม็ จงั หวดั สงขลา ในรปู แบบกจิ กรรมบรู ณาการทม่ี งุ่ เนน้ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
ศกั ยภ�พทกุ มติ ิ ควบคู่จบั มอื คนในทอ้ งถ่ินพฒั น�สูค่ ว�มยัง่ ยืน ด้านการเกษตร การแปรรูปและยกระดับผลิตภัณฑ์ เพ่ือให้เกิดรายได้
และช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การเป็นชุมชนต้นแบบท่ีมีความย่ังยืน
ดร.กนั ตภณ มะห�หมดั คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งให้ความรู้และเป็นที่พ่ึงพิงทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันท่ี ๕ มีบุคลากร นักวิชาการที่มีศักยภาพในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน
สงิ หาคม ๒๕๖๔ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา จดั กจิ กรรม ทพ่ี รอ้ มจะขบั เคลอ่ื นพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานราก
สมั มนาทางวชิ าการ เรอื่ ง การสรา้ งการรบั รขู้ องชมุ ชนบนฐานอตั ลกั ษณ์ บรู ณาการการทาำ งานรว่ มกบั หนว่ ยงานในพน้ื ท่ี มคี วามยง่ั ยนื สกู่ ารเปน็
และวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ตาำ บลเกาะแตว้ ภายใตโ้ ครงการยกระดบั เศรษฐกจิ ชุมชนต้นแบบ
และสงั คมรายตาำ บลแบบบรู ณาการ (๑ ตาำ บล ๑ มหาวทิ ยาลยั ) ดว้ ยรปู แบบ
ออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM โดยมีผู้เข้าร่วมเป็นตัวแทนกลุ่มชุมชน ๑7ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
เกษตรกร กลมุ่ แมบ่ า้ น ปราชญ์ชาวบ้าน กาำ นนั ผู้ใหญบ่ ้าน ในพน้ื ท่ี
ตาำ บลเกาะแตว้ รวมถงึ ประชาชนทส่ี นใจเขา้ รว่ มโครงการ เพอ่ื รว่ มแลกเปลย่ี น
เรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นาชมุ ชนเกาะแตว้ ทงั้ ในดา้ น
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร วัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในชุมชน
ทาำ ใหเ้ หน็ ถงึ ศกั ยภาพและความพรอ้ มของชมุ ชนครบถว้ นทกุ มติ ิ เพอ่ื นาำ ไปสู่
การพัฒนาชมุ ชนเกาะแตว้ ใหก้ ้าวสู่ความยง่ั ยนื ต่อไป

ดร.กนั ตภณ กลา่ ววา่ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มรภ.สงขลา
เลง็ ถงึ ความสาำ คญั ของการมบี ทบาทสนบั สนนุ ดา้ นวชิ าการและปฏบิ ตั งิ าน
ร่วมกับหน่วยงานและองค์กรท้องถ่ินในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ยกระดบั ชมุ ชนใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรมสกู่ ารเปน็ ชมุ ชนตน้ แบบ จงึ ไดจ้ ดั ทาำ
โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตาำ บลแบบบรู ณาการ (๑ ตาำ บล
๑ มหาวทิ ยาลยั ) สาำ หรบั ในโครงการนม้ี กี จิ กรรมตอ่ เนอ่ื งกนั รวม ๑๐ กจิ กรรม

“ผศ.ดร.ภัทรพร ภกั ดฉี นวน” คิดค้นเครือ่ งเจาะรพู ลาสตกิ คลมุ ดิน

นา้ำ หนักเบา เคลือ่ นยา้ ยงา่ ย ลดอันตรายเกษตรกรใชก้ ระปอ๋ งใส่ถ่านตดิ ไฟ

อ�จ�รย์คณะเทคโนโลยีก�รเกษตรมรภ.สงขล� และหากต้องการกำาหนดระยะปลูกทำาให้ต้อง
“ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน” แก้ปัญห�เกษตรกรเสี่ยง
อันตร�ยจ�กก�รใช้กระป๋องใส่ถ่�นติดไฟคิดค้นเคร่ืองเจ�ะรู เสียเวลาในการวัดระยะและทำาเคร่ืองหมายบน
พล�สติกคลุมดินเผยจุดเด่นนำ้�หนักเบ�เคล่ือนย้�ยสะดวก พลาสตกิ คลมุ แปลงเพอื่ กาำ หนดระยะหา่ งระหวา่ ง
ไมก่ ่อให้เกิดมลพิษ หลมุ ปลกู และสามารถเจาะรไู ดเ้ พยี งครง้ั ละ ๑ รู

ผศ.ดร.ภัทรพรภักดีฉนวน อาจารย์สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ เทา่ น้ัน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ผศ.ดร.ภัทรพร กล่าวว่า จากการ
เปิดเผยถึงผลงานวิจัยเคร่ืองเจาะรูพลาสติกคลุมดิน ซ่ึงได้รับการ
จดทะเบียนอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว ต น จึ ง ไ ด้
ประจาำ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ (วนั ทอี่ อกอนสุ ทิ ธบิ ตั ร ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔)
ว่าที่ผ่านมาเกษตรกรใช้ประโยชน์จากพลาสติกคลุมดินแปลง ประดิษฐ์เคร่ืองเจาะรูพลาสติกคลุมดิน
ปลูกพืช เพ่ือควบคุมอุณหภูมิของดิน ลดแรงกระแทกจากเม็ดฝน ออกแบบโดยใช้ความคมของอุปกรณ์
ท่ีตกหนัก ลดการระเหยของน้ำาจากดิน และการป้องกันวัชพืช และแรงกดในการทำาให้พลาสติกขาด
ซึ่งพลาสติกคลุมดินท่ีนิยมใช้มี ๒ แบบคือ แบบเจาะรูสำาเร็จรูป
และแบบไม่เจาะรู เกษตรกรโดยสว่ นใหญเ่ ลอื กใช้พลาสติกคลมุ ดิน เป็นรูซึ่งแก้ไขข้อจำากัดของกระป๋อง
แบบไม่เจาะรูเน่ืองจากมีราคาถูกกว่าแบบเจาะรูสำาเร็จรูป ใสถ่ า่ นตดิ ไฟทเ่ี กษตรกรนยิ มใชโ้ ดย
แ ต่ เ ก ษ ต ร ก ร ต้ อ ง เ จ า ะ รู พ ล า ส ติ ก เ อ ง เ ม่ื อ นำ า ม า ใ ช้ ค ลุ ม ดิ น มขี ้อดหี ลายประการดงั น้ี
ในแปลงปลูกพืชโดยท่ัวไปเกษตรกรนิยมใช้อุปกรณ์ที่ประกอบด้วย
กระป๋องสำาหรับใส่ถ่านติดไฟ ซ่ึงเป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อน ๑. สามารถเจาะรูพลาสติกคลุมดินได้โดยมีความปลอดภัยในการ
เพอื่ ละลายพลาสตกิ ใหข้ าดเปน็ รู ตามขนาดทตี่ อ้ งการสาำ หรบั ปลกู พชื ใช้งานและไม่ก่อให้เกิดมลพิษ ๒. สามารถปรับเปลี่ยนระยะห่าง
ระหวา่ งรแู ละขนาดของรทู ตี่ อ้ งการเจาะได้ ๓. สามารถเจาะรไู ดพ้ รอ้ มกนั
อย่างไรก็ตาม กระป๋องใส่ถ่านติดไฟดังกล่าวมีข้อจำากัด
หลายประการอาทิมีโอกาสเส่ียงได้รับอันตรายจากเช้ือเพลิง คร้งั ละ ๒ รู ท้งั เพ่อื การปลูกแบบแถวเด่ยี วและแถวคู่ โดยเจาะรู
ท่ีใช้ก่อให้เกิดมลพิษจากการละลายพลาสติกและต้องเติม ไดจ้ าำ นวนมากและรวดเรว็ ขน้ึ ๔. สามารถเจาะรอู ยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยได้
เชื้อเพลิงท่ีให้พลังงานความร้อนอยู่บ่อยครั้งในขณะ ระยะหา่ งระหวา่ งรแู ละขนาดของรทู เ่ี จาะแลว้ สมาำ่ เสมอกนั พรอ้ มเกบ็
ใช้งาน ท้ังยังต้องเปล่ียนอุปกรณ์สำาหรับใส่เชื้อเพลิง
บ่ อ ย ค ร้ั ง เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม เ สี ย ห า ย จ า ก ก า ร เ ผ า ไ ห ม้ เศษพลาสตกิ ทขี่ าดหลดุ จากการเจาะได้ ๕. สามารถดนั ดนิ ทต่ี ดิ คา้ งใน
เกิดการเย้มิ ของพลาสติกทีล่ ะลายซ่ึงเหนยี วหนืดติดกระปอ๋ ง อปุ กรณเ์ จาะรพู ลาสตกิ คลมุ ดนิ ออกได้ และ ๖. เครอ่ื งเจาะรูพลาสตกิ
และไม่ขาดหลุดจากแผ่นพลาสติกทำาให้ต้องเสียเวลาในการ คลมุ ดนิ นถ้ี กู ออกแบบใหม้ นี าำ้ หนกั เบาสามารถเคลอ่ื นยา้ ยไดส้ ะดวก
หยิบออก นอกจากน้ัน ไม่มีเครื่องมือวัดระยะห่างระหว่างรู
ที่เจาะทำาให้ได้ระยะห่างระหว่างหลุมปลูกที่ไม่สมำ่าเสมอกัน วิธีการใช้งานในการเจาะรูพลาสติกคลุมดินไม่ยุ่งยากซับซ้อน
และประยุกต์ใช้รว่ มกับอุปกรณ์เจาะหลุมปลกู ได้
๑๘ ปารฉิ ัตร วารสารเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

“ผศ.ดร.ธติ มิ าพานชิ ย”์ พฒั นาผงหมกั สเตก็

รสจ้ิมแจ่วจากเปลือกมะละกอ ชจู ุดเดน่ ฟิวชันสไตล์
ตะวันตก แต่อร่อยด้วยรสชาติแบบตำารบั ไทย

ผศ.ดร.ธติ มิ � พ�นชิ ย”์ อ�จ�รยค์ ณะเทคโนโลยกี �รเกษตร คู่กับสเต็ก โดยเมนูน้ีมีจำาหน่ายเพียงแค่ในภัตตาคารหรือร้านสเต็ก
มรภ.สงขล� พฒั น�ผลติ ภณั ฑผ์ งหมกั สเตก็ ส�ำ เรจ็ รปู รสจม้ิ แจว่ เท่านั้นยงั ไมม่ ีการผลิตและจำาหน่ายในรูปผงหมักสเตก็ สาำ เร็จรูป
ที่มีส่วนผสมของเปลือกมะละกอสำ�หรับทำ�สเต็กฟิวชัน
สไตล์ตะวันตก แตอ่ ร่อยด้วยรสช�ติแบบต�ำ รับไทย ใชไ้ ดท้ ัง้ จากความนิยมของผู้บริโภคดังกล่าวตนจึงมีแนวความคิด
หมักและจม้ิ ชจู ดุ เดน่ รสช�ติอร่อยกลมกลอ่ ม ช่วยลดระยะ ทจ่ี ะพฒั นาผลติ ภณั ฑผ์ งหมกั สเตก็ สาำ เรจ็ รปู รสจม้ิ แจว่ เพอ่ื เพมิ่ ทางเลอื ก
เวล�หมักเนือ้ ใหส้ น้ั ลง และตอบสนองความตอ้ งการใหก้ บั กลมุ่ ผบู้ รโิ ภคอาหารฟวิ ชนั ทง้ั ชาวไทย
และชาวต่างประเทศในการรับประทานสเต็กท่ีมีรสชาติแบบไทย ๆ
ผศ.ดร.ธิตมิ � พ�นชิ ย์ อาจารยส์ าขาวชิ าวิทยาศาสตร์และ โดยตอ้ งการใหผ้ งหมกั สเตก็ รสจมิ้ แจว่ ทพี่ ฒั นาขนึ้ สามารถนาำ มาใชไ้ ด้
เทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย แบบ ๒in๑ คือสามารถนำามาหมกั กับเน้ือไดโ้ ดยตรง เพือ่ ทาำ ให้สเตก็
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทไ่ี ดเ้ ขา้ ถงึ รสชาตขิ องซอสจม้ิ แจว่ และยงั สามารถนาำ มาเตรยี มเปน็ นาำ้ จม้ิ
ผงหมักสเต็กสำาเร็จรูปรสจิ้มแจ่วที่มีส่วนผสมของเปลือกมะละกอ หรอื ซอสจม้ิ แจว่ สาำ หรบั รบั ประทานคกู่ บั สเตก็ เพอ่ื เพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของ
และกระบวนการผลิต ซ่ึงได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรการ รสชาตไิ ด้ยิ่งขน้ึ
ประดิษฐ์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญาประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๓
(วนั ทอ่ี อกอนุสทิ ธิบัตร ๑7 มีนาคม ๒๕๖๔) วา่ ปจั จุบันผู้บรโิ ภค ผศ.ดร.ธิติมา กล่าวว่า เทคโนโลยีที่ใช้ในการเตรียมเปลือก
มีแนวโน้มในการรับประทานอาหารจำาพวกสเต็กมากขึ้นดังจะ มะละกอก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อนและไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง
เห็นได้จากการที่มีภัตตาคารหรือร้านสเต็กตลอดจนมีผลิตภัณฑ์ ตลอดจนส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตผงหมักสามารถหาซื้อได้ง่าย
ผงหมักสเต็กสำาเรจ็ รปู สาำ หรบั ให้ผู้บรโิ ภคประกอบอาหารเองท่บี า้ น จึ ง ส ะ ด ว ก แ ก่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข น า ด ย่ อ ม แ ล ะ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น
จำาหน่ายทั่วไปในท้องตลาด ในหลากหลายรสชาติ เช่น บาร์บิคิว ที่จะสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ผงหมักสเต็กสำาเร็จรูปรสจิ้มแจ่วจาก
และพริกไทยดำา เป็นต้น ซึ่งจากกระแสความนิยมอาหารฟิวชัน เปลอื กมะละกอเพ่อื การจาำ หน่ายได้ นอกจากนัน้ ผลติ ภัณฑส์ ามารถ
ที่มีมากข้ึนทำาให้มีเมนูสเต็กรสชาติใหม่ๆ เช่น สเต็กรสจิ้มแจ่ว ตอบสนองผู้บริโภคที่ทำาอาหารไม่เป็น มีเวลาจำากัดในการประกอบ
ออกวางจาำ หนา่ ยซงึ่ เปน็ สเตก็ ทมี่ ี การผสมผสานระหวา่ ง ๒ วฒั นธรรม อาหารรับประทานเองที่บ้าน หรือผู้ที่นิยมบริโภคอาหารฟิวชัน
และสามารถตอบสนองผู้ประกอบการภัตตาคารหรือร้านสเต็ก
โดยนำาเอารสชาติจัดจ้าน ท่ีต้องการเพ่ิมความสะดวกลดข้ันตอนและระยะเวลาในการหมักเนื้อ
แสดงถึงเอกลักษณ์ความ และการเตรียมนำ้าจิ้มแจ่วสำาหรับรับประทานคู่กับเมนูเน้ือต่างๆ
เ ป็ น ไ ท ย ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้
ในเมนสู เตก็ ของชาตติ ะวนั ตก “ผงหมักสเต็กรสจิ้มแจ่วที่มีส่วนผสมของเปลือกมะละกอ
มั ก ป รุ ง เ ป็ น น้ำ า จ้ิ ม แจ่ ว ช่วยทำาให้เมนจู ิม้ แจว่ มีรสชาติอรอ่ ยกลมกลอ่ ม สามารถนาำ มาใช้หมกั
สำาหรับราดหรือรับประทาน เนอื้ สตั วก์ อ่ นนาำ ไปประกอบอาหารช่วยให้เนอ้ื สัมผัสนมุ่ ละมนุ ภายใน
ระยะเวลาอันส้ัน และช่วยลดขั้นตอน ลดเวลาในการหมัก ช่วยเพ่ิม
อรรถรสและทางเลือกในการรับประทานเนื้อสเต็กให้มากขึ้นด้วย
รสชาติแบบต้นตำารับไทย นอกจากน้ัน ยังใช้เตรียมเป็นนำ้าจ้ิมแจ่ว
รับประทานคู่กับเนื้อสเต็กรสจิ้มแจ่ว หรือรับประทานคู่กับทุกเมนู
เนื้อสัตว์เพียงแค่นำาผงหมักมาละลายน้ำาแล้วรับประทานคู่กับเนื้อ
จะทำาให้เนื้อมีรสชาติอร่อยจัดจ้านยิ่งขึ้น เข้มข้นไปด้วยรสจิ้มแจ่ว”
ผศ.ดร.ธติ มิ า กลา่ ว

๑๙ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

“ผศ.นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดชา”

ใช้เทคโนโลยีทางอาหารยืดอายุซอสกอและ

“ผศ.นพรตั น์ วงศ์หริ ัญเดช�” อ�จ�รยค์ ณะเทคโนโลยี ในอุณหภูมิห้อง ตนจึงพัฒนาซอสกอและให้อยู่ในรูปแบบผง โดยใช้
ก�รเกษตร มรภ.สงขล� ใช้เทคโนโลยีท�งอ�ห�รคิดค้นสูตร เทคนคิ การทาำ แหง้ แบบโฟมแมท (foam mat drying) ซง่ึ เปน็ การทาำ แหง้
ซอสกอและพร้อมบริโภค-ซอสกอและแบบผง ช่วยยืดอ�ยุ โดยตีอาหารเหลวขน้ ใหเ้ กิดฟองเลก็ ๆ ที่คงตวั กอ่ น จากน้นั เกลยี่ ใส่ถาด
คว�มอรอ่ ยเมนอู �ห�รช�วไทยมสุ ลมิ ปกั ษใ์ ต้ ตอ่ ยอดสกู่ �รพฒั น� แลว้ ทาำ ให้แห้งดว้ ยเคร่อื งทำาแหง้ แบบลมรอ้ น อาหารจะแหง้ เรว็ เพราะ
เชิงพ�ณิชย์ โครงสร้างท่เี ป็นฟองนัน้ ชว่ ยเพิ่มพ้ืนท่ผี ิวในการระเหยนา้ำ อาหารท่ไี ด้
มคี ุณภาพสงู สแี ละกลน่ิ ของอาหารไมเ่ ปลี่ยนแปลง การทำาใหอ้ าหาร
ผศ.นพรัตน์ วงศ์หิรัญเดช� อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยี เกิดฟองคงตัวอาจเติมสารช่วยให้เกิดฟอง เช่น กัม โมโนกลีเซอไรด์
การจดั การผลติ ภณั ฑอ์ าหาร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เมโทเซล คารบ์ อกซเี มทลิ เซลลโู ลส โปรตนี ถว่ั เหลอื งไอโซเลท และไขข่ าว
เปดิ เผยถงึ ผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง “สตู รซอสกอและพรอ้ มบรโิ ภค” (วนั ทอ่ี อก เปน็ ต้น
อนุสิทธิบตั ร ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓) และ “กรรมวิธีการผลติ ซอสกอและ
แบบผง” (วนั ที่ออกอนุสทิ ธิบตั ร ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔) ซงึ่ ไดร้ บั การ “งานวิจัยซอสกอและท่ีคิดค้นข้ึนน้ี จะช่วยสร้างความสะดวก
จดทะเบียนอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา ในการทาำ อาหารใหแ้ กผ่ บู้ รโิ ภคและผปู้ ระกอบการ ทง้ั ยงั สะดวกตอ่ การบรโิ ภค
ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ว่า ท่ีมาของการคิดค้นสูตรซอสกอและ การเก็บรักษา และการขนสง่ ช่วยยืดอายุการเก็บรกั ษาซอสกอและใน
พร้อมบริโภค เน่ืองจากไก่กอและเป็นอาหารมลายูที่ชาวไทยมุสลิม สภาวะอณุ หภมู หิ อ้ ง ทส่ี าำ คญั สามารถนาำ มาเปน็ แนวทางในการพฒั นา
ปกั ษใ์ ตน้ ยิ มทาำ กนั เพอ่ื รบั ประทานภายในครวั เรอื นและในโอกาสสาำ คญั เชงิ พาณิชยไ์ ด้ต่อไป” ผศ.นพรตั น์ กล่าว
เช่น เลยี้ งรับรองแขกผมู้ าเยอื น แขกผ้ใู หญ่ท่ีให้ความเคารพ หรืองาน
ประเพณีต่าง ๆ ของชาวมสุ ลิม

จดุ เดน่ ของไกก่ อและอยทู่ น่ี าำ้ กะทปิ รงุ รสสแี ดงอมสม้ ซง่ึ ราดบนไก่
ทก่ี าำ ลงั ยา่ งไฟ ทาำ ใหไ้ กม่ รี สชาตหิ วานอมเปรย้ี ว เผด็ เลก็ นอ้ ย มกี ลน่ิ หอม
ของเครอ่ื งเทศและควนั นาำ้ กะทปิ รงุ รสดงั กลา่ วเรยี กวา่ ซอสกอและ ทาำ จาก
พริกช้ีฟา้ แห้ง หอมแดง กระเทยี ม ขงิ นำา้ มะขามเปียก นาำ้ ตาลปีบ๊ กะปิ
เกลอื และกะทิ เคย่ี วจนเข้มข้น นอกจากจะนิยมรับประทานกบั ไกแ่ ลว้
ยงั มกี ารรบั ประทานกับปลา ลูกชิ้น โรตี และขนมจนี เปน็ ต้น

ปญั หาของซอสกอและ คอื ตอ้ งใชเ้ วลาในการเคยี่ วนานเพอื่ ให้
รสชาติเข้มข้นและมีกล่ินหอม มีอายุการเก็บรักษาสั้น ต้องเก็บไว้ท่ี
อณุ หภมู ติ าำ่ ดงั นน้ั เพอ่ื ใหส้ ะดวกตอ่ การบรโิ ภคและการจาำ หนา่ ย ตนจงึ
พฒั นาซอสกอและพรอ้ มบรโิ ภคทเ่ี กบ็ รกั ษาไดใ้ นอณุ หภมู หิ อ้ งนานกวา่
๒ เดือน โดยใช้เทคนิคการบรรจุขณะร้อนในบรรจุภัณฑ์รีทอร์ทเพาซ์
ร่วมกบั การฆ่าเช้ือ

ผศ.นพรัตน์ กล่าวว่า ในส่วนของงานวิจัยกรรมวิธีการผลิต
ซอสกอและแบบผง มที ม่ี าจากการเล็งเห็นว่าซอสกอและเปน็ ของเหลว
ข้นหนืด มนี าำ้ หนกั มาก อายกุ ารเกบ็ รกั ษาสั้น ตอ้ งเก็บไวท้ ่ีอุณหภูมติ ำา่
ดงั นนั้ เพอ่ื ใหส้ ะดวกตอ่ การบรโิ ภค นาำ้ หนกั เบา และเกบ็ รกั ษาไดน้ าน

๒๐ ปาริฉตั ร วารสารเพ่อื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จดอนุสิทธิบัตรข้าวเกรียบรสข้าวยำาเครื่องแกง

ผลงาน “ผศ.ฐิติมาพร ศรีรักษ์” อาจารย์สาขาคหกรรมฯ

มรภ.สงขล� จดทะเบียนอนุสิทธิบัตรข้�วเกรียบ อบลมร้อนหรือตากแดดจนแห้งสนทิ และทอดในน้ำามัน จนฟูกรอบ
รสข�้ วย�ำ เครอ่ื งแกง ผลง�นวจิ ยั “ผศ.ฐติ มิ �พร ศรรี กั ษ”์ ส�ข�วชิ � โดยมขี น้ั ตอนทไ่ี มซ่ บั ซอ้ นมาก สามารถผลติ ไดท้ ง้ั ในระดบั อตุ สาหกรรม
คหกรรมฯ คณะวทิ ย�ศ�สตรแ์ ละเทคโนโลยี ชรู สช�ตเิ อกลกั ษณ์ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่
อ�ห�รภ�คใต้ ขน้ั ตอนไมซ่ บั ซอ้ น ผลติ ไดท้ ง้ั ระดบั อตุ ส�หกรรม
ขน�ดเลก็ และขน�ดใหญ่ สำาหรับกรรมวิธีการผลิตข้าวเกรียบรสข้าวยำาเคร่ืองแกง
มขี น้ั ตอนดงั น้ี ๑. นาำ เนอ้ื อกไก่ กระเทยี มบด เกลอื ปน่ และพรกิ ไทยปน่
ผศ.ฐติ มิ �พร ศรรี กั ษ์ ประธานหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ปน่ั ผสมใหเ้ ขา้ กนั ๒. นาำ แปง้ มนั สาำ ปะหลงั และแปง้ สาลเี อนกประสงค์
สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ปน่ั ผสมกบั สว่ นผสมในขอ้ ๑ คอ่ ย ๆ ใสน่ าำ้ รอ้ น ๓. นาำ เครอ่ื งแกงขา้ วยาำ
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื เรว็ ๆ นผ้ี ลงานวจิ ยั “ขา้ วเกรยี บ บดละเอียด และผักขา้ วยาำ ซอยอบแห้ง นวดผสมกับส่วนผสมในข้อ ๒
รสขา้ วยาำ เครอื่ งแกง” ทต่ี นจดั ทาำ ขนึ้ ไดร้ บั การจดทะเบยี นอนสุ ทิ ธบิ ตั ร ๔. แบง่ สว่ นผสมกอ้ นละ ๑๐๐ กรมั ขนึ้ รปู ทรงกระบอกขนาดยาว ๑๒
การประดิษฐ์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งวัตถุประสงค์ของ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ เซนติเมตร นึ่งด้วยไฟปานกลาง
การประดษิ ฐผ์ ลติ ภณั ฑด์ งั กลา่ ว เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑข์ า้ วเกรยี บทม่ี กี ลน่ิ นาน ๓๐ นาที ๕. นาำ ไปแชเ่ ยน็ อณุ หภมู ิ ๕-7 องศาเซลเซยี ส นาน ๑๐-๑๒
และรสชาตขิ องขา้ วยาำ เครอ่ื งแกงของภาคใต้ ถอื เปน็ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ชว่ั โมง ๖. หั่นแผน่ ข้าวเกรียบขนาด ๑-๒ มลิ ลเิ มตร ตากแดดหรือ
อาหารว่างไทย และชว่ ยเพม่ิ มลู คา่ ใหแ้ กผ่ ลิตภัณฑ์ได้อีกทางหนง่ึ อบลมรอ้ นทอ่ี ณุ หภมู ิ ๖๐ องศาเซลเซยี ส นาน ๔-๕ ชว่ั โมง 7. ทอดใน
นาำ้ มนั อณุ หภมู ิ ๑๘๐ องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา ๕ วนิ าที จะไดข้ า้ วเกรยี บ
ผศ.ฐติ มิ าพร กลา่ ววา่ การผลติ ขา้ วเกรยี บรสขา้ วยาำ เครอ่ื งแกง ทมี่ รี สชาตขิ องขา้ วยาำ เครอื่ งแกง ทแี่ สดงออกถงึ เอกลกั ษณข์ องอาหาร
ทม่ี สี ว่ นผสม (ingredients) ประกอบดว้ ย วตั ถดุ บิ สาำ หรบั การผลติ ขา้ วเกรยี บ ภาคใต้ได้อยา่ งชัดเจน
ไดแ้ ก่ แปง้ มนั สาำ ปะหลงั แปง้ สาลอี เนกประสงค์ เนอ้ื อกไกบ่ ด เกลอื ปน่
กระเทียมบด พริกไทยปน่ น้ำารอ้ น และ นา้ำ มันปาลม์ วัตถุดิบสำาหรบั นอกจากน้ัน เมื่อไม่นานมานี้คณาจารย์ประจำาหลักสูตร
ผลิตเคร่ืองข้าวยำาเครื่องแกงข้าวยำาบดละเอียด ได้แก่ กุ้งแห้งป่น วิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ ได้รับการจดทะเบยี น
ตะไคร้ ขมิ้น หอมแดง พรกิ ไทยปน่ พรกิ ข้หี นูแหง้ ปน่ เกลือปน่ กะปิ อนสุ ทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐจ์ ากกรมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ไดแ้ ก่ รศ.ดร.
และวัตถดุ ิบสำาหรับผักขา้ วยำาซอยอบแห้ง ไดแ้ ก่ ใบชะพลู ใบมะกรูด ทศั น� ศริ โิ ชติ จากผลงานวจิ ยั ขา้ วเกรยี บถว่ั ขาว ผศ.พรชยั พทุ ธรกั ษ์
ใบพาโหม ใบขม้ิน ใบบัวบก และใบยอ ซึ่งมีข้ันตอนการผลิตโดย จากผลงานวจิ ยั ขนมหมอ้ แกงจากเมลด็ จำาปาดะ และ ผศ.วิภ�วรรณ
การนำาวัตถุดิบทั้ง ๓ ส่วนมาปั่นผสมให้ละเอียด นวดจนเข้ากัน วงศ์สุด�ลักษณ์ จากผลงานวิจัยขนมทองพับจำาปาดะ
ขนึ้ รปู เปน็ แทง่ ทรงกระบอก นงึ่ สกุ แชเ่ ยน็ ใหค้ งตวั นาำ มาหนั่ แผน่ บาง
๒๑ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

สดุ เจ“ง๋ พชั รนิ ทร์ หนหู นอง” สาขาวชิ าทศั นศิลป์

ควา้ รางวลั Special Prize-winners แข่งขันศิลปะนานาชาติ ประเทศญีป่ ุ่น

“พัชรินทร์ หนูหนอง” ความหวัง ความเพ้อฝัน จึงทำาให้มีขอบเขตพื้นที่ เกราะ หรือพื้นท่ีส่วนตัว
ส�ข�วิช�ทัศนศิลป์ มรภ.สงขล� เพ่ือปลีกตัวออกมาจากปัญหาท่ีเจอ เพ่ือให้ลดทอนความทุกข์ท่ีมีในใจ
สร�้ งช่อื เวทีแขง่ ขนั ศลิ ปะน�น�ช�ติ ให้เบาบางลงได้
ป ร ะ เ ท ศ ญี่ ปุ่ น ค ว้ � ร � ง วั ล
เSทpeคcนiaิคl สPีนrizำ้�eม-ันwin“nลerดsทจอ�นกผคลวง��มน สำ า ห รั บ เ ห ตุ ผ ล ท่ี เ ลื อ ก ว า ด รู ป น้ี เ น่ื อ ง จ า ก มี ค ว า ม รู้ สึ ก
เจ็ บ ป ว ด ” ส ะ ท้ อ น แ น ว คิ ด แอลยะาอกยปาลกดซ่อปนลต่ อัวยอยผู่ใ่ อนนพค้ืนลทา่ีทย่ีเงียจบาสกงสบิ่ ง วโุ่ นดยว าใชย้เตท่ าคงนิๆคสีนทำ้า่ี อมยันู่ รใอนบกตาั รว
ป ล ด ป ล่ อ ย ค ว � ม รู้ สึ ก ภ � ย ใ น สร้างสรรค์ผลงาน ขนาด ๑๑๐x๑๓๐ ซม. ใช้ระยะเวลาในการสร้างสรรค์
บรรเท�คว�มทกุ ข์ทีม่ ีใหเ้ บ�บ�ง ผลงานประมาณ ๑ เดือน
เม่ือเร็ว ๆ น้ี น�งส�วพัชรินทร์ หนูหนอง หรือ “นิ” ซึ่งเพิ่งจบ
การศึกษาจากสาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย “รู้สึกดีใจที่ได้รับรางวัล Special award และ
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ได้รับรางวัล Special Prize-winners ได้ผ่านเข้ารอบร่วมแสดงงาน ไม่ถึงกับคาดหวังมากว่า
จากการแข่งขนั ศิลปะนานาชาติประเทศญ่ีป่นุ Mellow Art Award ๒๐๒๐ จะต้องได้รางวัลอะไรกลับมา แค่อยากเผยแพร่
งานศิลปะทีใ่ ห้ความผอ่ นคลายและแรงบันดาลใจใหก้ บั โลก ผ ล ง า น ที่ ตั้ ง ใ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ อ อ ก สู่ ส า ธ า ร ณ ะ
นางสาวพัชรินทร์ กล่าวว่า คอนเซ็ปต์ของผลงานช้ินนี้ อยากให้คนที่ยังหาแนวทางของตัวเองไม่เจอ
คือ “ลดทอนความเจ็บปวด” ซ่ึงมีแนวความคิดจากมโนคติของตน พยายามหมั่นฝึกฝน คิดพัฒนาหาแนวทาง
ท่ีอยู่ภายในความรู้สึกข้างใน ส่ือถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ท่ีมาจาก ไม่ย่อท้อ และลองหาไอดอลหรือศิลปินที่ตัวเอง
สังคมรอบข้าง ท่ีมักจะทำาให้เจ็บปวดอยู่เสมอ ท้ังเร่ืองความรัก ชื่ น ช อ บ เ พ่ื อ เ พิ่ ม ไ ฟ ใ น ก า ร ทำ า ง า น ไ ด้ ”
นางสาวพชั รินทร์ กล่าว

ควา้ ๑ส๐ุดรเจาง๋งวนัลศป.รสะกววสั ดดทกิ กัารษสะวงั ชิคามกมารรภ“C.สSงDขลสาัมพนั ธ”์

คณะมนุษยศ�สตรฯ์ สุดปลืม้ นกั ศกึ ษ� รางวลั การนาำ เสนอผลงานแบบบรรยาย “ระดบั ด”ี การบริหารจดั การทด่ี ี กรณีศกึ ษา เทศบาลตำาบลปริก
ส�ข�วชิ �สวัสดิก�รสงั คม คว้� ๑๐ ร�งวัล ระดบั จาำ นวน ๔ รางวัล ได้แก่ อาำ เภอสะเดาจงั หวดั สงขลาโดยน�ยภมู ริ ตั น์ บลิ ค�เดอร์
ดีม�ก-ชมเชยประกวดทักษะเวทีประชุมวิช�ก�ร ผู้ นำ า เ ส น อ บ ท ค ว า ม อ . ม � ริ ส � จั น ท ร์ ฉ � ย
พัฒน�ชมุ ชนท้องถิ่นและสังคม (CSD สมั พนั ธ)์ ๑.ปจั จยั ความสาำ เรจ็ การจดั การธรุ กจิ ชมุ ชนกรณศี กึ ษา (อาจารยท์ ีป่ รึกษา)
ระดับช�ติ ครง้ั ที่ ๒๐ ก ลุ่ ม วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ บ้ า น น า อ อ ก
ตำาบลสทิงหม้อ อำาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ด ร . รั ช ช พ ง ษ์ ชั ช ว � ล ย์ ค ณ บ ดี ค ณ ะ โดย น�งส�วเณศร� สวยดี ผู้นำาเสนอบทความ
มนุษยศาสตร์แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ม ร ภ . ส ง ข ล า และ น�งส�วกฤษฎี สุวรรณช�ตรี สมาชิกทีม
เปดิ เผยวา่ นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี ๔ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ดร.ชยตุ อินทรพ์ รหม (อาจารยท์ ี่ปรึกษา)
สาขาวชิ าสวสั ดกิ ารสงั คม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ได้รับรางวลั ๒. ทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิลเพ่ือการจัดสวัสดิการ
การประกวดทักษะวิชาการ ในการประชุมวิชาการ แกผ่ ดู้ อ้ ยโอกาสในชมุ ชน กรณศี กึ ษา ตาำ บลราำ แดง อาำ เภอสงิ หนคร
การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม (CSD สัมพันธ์) จงั หวดั สงขลา โดย น�งส�วพชิ ญ�ภรณ์ เชยชม ผนู้ าำ เสนอ
ระดับชาติ คร้ังท่ี ๒๐ ระหว่างวันที่ ๓๐ กรกฎาคม- บทความ น�ยธรี ะวตั ร บญุ เรอื ง น�งส�วกนษิ ฐ� คงใหม่
๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ มหาวิทยาลัยทกั ษิณ วทิ ยาเขต น�ยพงศกร มิ่งสุข น�งส�วสิริก�ญจน์ ทองแท้
สงขลา รวม ๑๐ รางวัล ได้แก่ รางวัล “ระดบั ดมี าก” ดร.สุจริ � วจิ ิตร (อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)
ก า ร ป ร ะ ก ว ด C S D Y o u n g Ta l k s หั ว ข้ อ
“การเปล่ียนผ่านศาสตร์พระราชาสู่จิตอาสาเพื่อสังคม” ๓. การจัดสวัสดิการชุมชนเพื่อช่วยเหลือกลุ่ม
โดย น�งส�วปล�ยฝน ทองอ�รัญ รางวัล “ระดับดี” เปราะบางทางสังคมในช่วงสถานการณ์โควิด - ๑๙
การประกวด Best Practice Awards ผลงานเรอ่ื ง ฝายชะลอนาำ้ กรณีศึกษา ศูนย์บ่อยางสงขลาพ่ึงพาตนเอง โดย
จากพลังความร่วมมือ โดย น�ยณัฐพล ร�ชสุวรรณ น�งส�ววิจิตร� จำ�ฝังใจ ผู้นำาเสนอบทความ และ
ผนู้ ำาเสนอ และ น�ยธรี ภทั ร เจรญิ ฤทธ์ิ สมาชิกทีม น�งส�วรัตติย� หลีห�ด สมาชิกทีม ดร.สุจิร� วิจิตร
(อาจารยท์ ่ปี รึกษา)
รางวัล “ระดับดี” การประกวดการแข่งขันแผนท่ี
ความคดิ จาำ นวน๒รางวลั ไดแ้ ก่ทมี สวสั ดกิ ารสงั คมสงขลา ๑ ๔. การปรับตัวของผู้ประกอบการในสถานการณ์
โดย น�ยธีรภัทร เจริญฤทธิ์ ตัวแทนนำาเสนอ การระบาดของเช้ือไวรัสโควิด - ๑๙ กรณีศึกษา ตลาดกิมหยง
ผลงาน และสมาชิกทีม น�ยณัฐชนน นุ่นศรี อาำ เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา โดย น�ยธรี ภทั ร เจรญิ ฤทธ์ิ
น�ยชัยณรงค์ สุขสงวน น�ยปิยทัต ไฝทอง ผนู้ าำ เสนอบทความ ดร.นฤภร ไชยสขุ ทกั ษณิ (อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)
น�งส�วณัชช� เกตม�ศ และ ทีมสวัสดิการสังคม
สงขลา ๒ โดย น�งส�วพชิ ญ�ภรณ์ เชยชม ตวั แทน ร า ง วั ล ก า ร นำ า เ ส น อ ผ ล ง า น แ บ บ บ ร ร ย า ย
นำาเสนอผลงาน และสมาชกิ ทีม น�งส�วกนิษฐ� คงใหม่ “ระดบั ชมเชย” จาำ นวน ๒ รางวลั ได้แก่
น�ยธรี ะวตั ร บญุ เรือง น�งส�วนอร์ฟีด�ว เจะ๊ โซะ๊
น�งส�วอ�มรี � บนิ มะมิง ๑. รูปแบบกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของผู้สูงอายุ กรณีศึกษาโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง
๒๒ ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา เขารปู ช้าง จงั หวัดสงขลา โดย น�งส�วม�รษิ � รกั ษ�กิจ
ผนู้ าำ เสนอบทความ อ.ม�รสิ � จนั ทรฉ์ �ย (อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา)

๒. ปัจจัยความสำาเร็จการเป็นต้นแบบการ
บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัล

มองผา่ นเลนส์

แนะนำ�ทมี บริห�ร เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
นาำ โดย รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธกิ ารบดี พรอ้ มดว้ ย อ�จ�รย์
พเิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต อ�จ�รยจ์ ริ ภ� คงเขยี ว
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษา ผชู้ ว่ ยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วรี ะชยั แสงฉ�ย
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและงบประมาณ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์น�ถนเรศ
อ�ค�สวุ รรณ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เขา้ รว่ ม
แนะนำาทีมบริหารแก่คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ณ ห้องประชมุ อรญั ธรรมโน ชน้ั ๘ อาคารเรียนรวมและอาำ นวยการ

สัมมน�วิพ�กษ์ร่�งแผนยทุ ธศ�สตรฯ์ เมอ่ื วนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา จดั โครงการสมั มนา
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารวพิ ากษร์ า่ งแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕) ฉบบั ทบทวนประจาำ ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕
โดยมี รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศริ โิ ชติ อธิการบดี เป็นประธานการ
ประชุม ณ หอ้ งประชมุ อรญั ธรรมโน ชนั้ ๘ อาคารเรยี นรวมและอำานวยการ
โดยมผี ทู้ รงคณุ วฒุ ิ คณะผบู้ รหิ ารและบคุ ลากร ตลอดจนผแู้ ทนนกั ศกึ ษาเขา้ รว่ ม
ประชุมในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบ Zoom

ประชมุ บรคุ�ชลภ�กฏั รสมงหข�ลว�ิทย�ลยั เมอ่ื วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา จดั ประชมุ บุคลากร
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ประจาำ ปี ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ อรญั ธรรมโน ชน้ั ๘
อาคารเรียนรวมและอำานวยการ ในรูปแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM
โดยมี รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทศั น� ศิรโิ ชติ อธกิ ารบดี เปน็ ประธานการ
ประชมุ พรอ้ มด้วยคณะผู้บริหาร ร่วมชี้แจงนโยบายการบริหารมหาวิทยาลัย
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพนั ธกจิ

ประชมุ ติดต�มก�รด�ำ เนนิ ง�น เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๔ รองศ�สตร�จ�รย์ ดร.ทัศน� ศิริโชติ
แก้ไขปัญห�น�ำ้ ทว่ ม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พร้อมด้วย อ�จ�รย์พิเชษฐ์ จันทวี
รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ ารและวทิ ยาเขต เขา้ รว่ มประชมุ รว่ มกบั แขวงทางหลวงท่ี ๑
โดยมี น�ยวงศกร นนุ่ ชคู นั ธ์ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมาย
จากผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา ใหเ้ ปน็ ประธานในการประชมุ ตดิ ตามการดาำ เนนิ งาน
การแก้ไขปัญหาน้ำาท่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และพ้ืนท่ีโดยรอบ
มหาวทิ ยาลยั โดยไดล้ งพนื้ ทสี่ าำ รวจแนวทอ่ ระบายนา้ำ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ นา้ำ ทว่ มภายใน
มหาวทิ ยาลยั เพ่อื หาทางปอ้ งกันไม่ใหเ้ กิดข้นึ อกี ในอนาคต

สรวมศรีไตรรตั นเนศนอ้ ม บำ�บวง
เทพสิบหกชน้ั แมนสรวง พร่ังพรอ้ ม
สิบห้�ครบชนั้ ปวง ธรณิศ แดนน�
อวยพระบ�รมีเลิศล้อม บพิตรผู้สย�มินทรฯ์
ปตินธรวชิรเกล้� จอมไผท
เฉลิมพระชนมพรรษสมัย พิสิษฐ์ซรอ้ ง
ทรงธรรมพระเกียรติไกร ปร�กฏ เกริกแล
ทศทิศเนืองนอบน้อม ชื่นนำ�พระทัยธ�รฯ
นวษัฏฐิก�ลนบั ถว้ น พระชน มว�รเฮย
สรวมพระเกษมศุภกมล ม�ศแผว้
ใสสว่�งพ�่ งสุริยน เยือนแหลง่ หล้�แล
ยกจิตชนดุจแกว้ กอ่ งฟ�้ ฟูดินฯ

(ผ้ชู ว่ ยศ�สตร�จ�รย์นิตย� ธญั ญพ�นิชย์ ประพนั ธ)์

ด้วยเกล�้ ด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข�้ พระพธุ เจ�้ รองศ�สตร�จ�รยท์ ศั น� ศริ โิ ชต ิ อธกิ �รบดมี ห�วทิ ย�ลยั ร�ชภฏั สงขล�

ในน�มผบู้ รหิ �ร คณ�จ�รย ์ บคุ ล�กร และนกั ศกึ ษ� มห�วทิ ย�ลยั ร�ชภฏั สงขล�


Click to View FlipBook Version