The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2020-03-17 02:56:31

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2560

วารสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2560

๐๓ ชมรมรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม ออกค่ายสรา้ งฝาย-ปลูกปา่ ๕

จดจารึกประวัติศาสตร์ นาฏยรังสรรค์ โชว์วัฒนธรรม ๖
ถวายงานในหลวง ร.๙
“ฝายรวมใจ” ฟื้นฟูพนื้ ท่ี มรภ.สงขลา แตง่ เพลงถวายอาลยั ในหลวง ร.๙ ๗

๐๔ประสบอุทกภยั แจกฟรีน้ำ�ดื่ม ๙๙๙ ขวด ถวายเป็นพระราชกุศล ๘
เปิดสอนฟรี
๐๑๘๑วา่ ยน�ำ้ เพื่อเอาชวี ติ รอด ปนั้ นศ. ขับเคล่อื นเศรษฐกิจพอเพียง ๙

๑๔สรา้ งบ้านปลา ท�ำ ดีเพื่อพ่อ นอ้ มน�ำ พระบรมราโชวาท ร.๙ สร้างความรู้ชมุ ชนเกาะยอ ๑๐

นายกฯ เยอื น มรภ.สงขลา “ผศ.นิตยา ธญั ญพาณิชย์” รับโล่ผู้มีจติ สาธารณะ ๑๑

๑๗วทิ ยาเขตสตูล มรภ.สงขลา เปิดบ้านจัดประชุมอธกิ ารบดฯี ๑๒

‘นิเทศ’ มรภ.สงขลา ร.ร.สาธติ ฯ ๑๓
ผงาดเวทีผลิตสอ่ื โทรทัศน์
รบั ตราพระราชทานบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย

ร.ร.สาธิตฯ ควา้ รางวัลส่งเสริมสุขภาพ ระดบั เพชร ๑๓

ศนู ยบ์ ่มเพาะธุรกิจอบรมทำ�โรตี-ซาลาเปา ๑๔

ผนกึ กรมวิทยาศาสตรฯ์ ๑๕

สร้างเครือขา่ ยเพิ่มศักยภาพวสิ าหกิจชุมชน

คณะวทิ ย์ฯ เตรยี มจบั มอื มาเลย์ แลกเปลี่ยน นศ. ๑๕

“นิภาวรรณ ทองจนิ ดา” นศ.ครุ คว้าเยาวชนดเี ด่น ๑๖

มรภ.สงขลา ร่วมพัฒนากลุม่ คลัสเตอร์มะพรา้ วสตูล ๑๘

มรภ.สงขลา วางกรอบพฒั นา นศ. ๔.๐ ๑๙

ติวเทคนคิ อาจารย์ที่ปรึกษา ๑๙

จดอนุสทิ ธบิ ัตร ๒ งานวจิ ยั ทางเกษตร ๒๐

วิจยั ผสมยางธรรมชาติ-ยางสังเคราะห์ ๒๑

เพ่ิมความยืดหยุ่น

เล็งทำ� ‘MOU’ ศูนย์ยทุ ธศาสตรภ์ าษาฯ อนิ โด ๒๒

มองผ่านเลนส์ ๒๒

คณะผจู้ ดั ท�ำ ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปที ่ี ๑๑ ฉบบั ท่ี ๖ ประจ�ำ เดอื น กนั ยายน-ตลุ าคม ๒๕๖๐

ท่ีปรกึ ษา : ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม, ดร.พพิ ฒั น์ ลมิ ปนะพทิ ยาธร, ผศ.ดร.ฆนทั ธาตทุ อง, ผศ.ดร.ปอ้ งศกั ด์ิ ทองเนอ้ื แขง็ , นางสาวจริ ภา คงเขยี ว, นายพเิ ชษฐ์ จนั ทว,ี
ดร.แสนศกั ดิ์ ศริ ิพานิช, นายฉลอง อาคาสวุ รรณ, นางสาวปณั ฑติ า โชติช่วง
บรรณาธกิ าร : ลดั ดา เอง้ เถย้ี ว กองบรรณาธกิ าร : ชวฤทธ์ิ ทองเพช็ รจนั ทร,์ ป.ทนั มนตร,ี ปรญิ ภรณ์ ชมุ มณ,ี สพุ ฒั น์ สวุ รรณโณ, ธวชั ชยั รงุ่ สวา่ ง, อภญิ ญา สธุ าประดษิ ฐ์

งานประชาสมั พันธ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา : ๑๖๐ ถนนกาญจนวนชิ ตำ�บลเขารูปช้าง อำ�เภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖ http://www.skru.ac.th/ E-mail : [email protected] FM.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU

อ.วสนิ ทับวงษ์

อาจารย์ มรภ.สงขลา สุดปีติถวายงานในวาระสุดท้ายแด่ อาจารย์ประจำ�โปรแกรมวิชาประวัติศาสตร์ มรภ.สงขลา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ จับมือนักวิชาการจด กลา่ วอกี วา่ ตนในนามของราชภฏั ทง้ั ในฐานะผศู้ กึ ษาประวตั ศิ าสตร์
จารกึ เร่อื งราวประวตั ศิ าสตร์ สง่ มอบความรู้ธรรมเนียมปฏบิ ัตลิ ด ผู้สอนประวัติศาสตร์ รู้สึกภาคภูมิใจและถือเป็นเกียรติอย่างย่ิง
ธงคร่ึงเสา-ยิงสลุตถวายความเคารพพระบรมศพ บอกเล่า เนอ่ื งดว้ ยชว่ งพระราชพธิ เี มอื่ วนั ท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ ผบู้ รรยายฯ
ประชาชนชาวไทย อ่านเรื่อง “การยิงสลุตถวายความเคารพแด่พระบรมศพ”
และเร่ือง “ราชรถปืนใหญ่ พระเกียรติยศอย่างทหาร”
อ.วสิน ทับวงษ์ อาจารย์ประจำ�โปรแกรมวิชาประวัติศาสตร์ จากบทความทตี่ นไดร้ ว่ มเขยี นในหนังสือ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ตนมโี อกาสเขยี นบทความเรอ่ื ง ธรรมเนยี มตะวนั ตก “ตอนทผ่ี บู้ รรยายอา่ บทความทผ่ี มรว่ มเขยี นในหนงั สอื เสดจ็
ในพระราชพิธีพระบรมศพกษัตริย์สยาม ลงหนังสือ “เสด็จสู่แดนสรวง สู่แดนสรวงฯ ผมน้ำ�ตาร่วงหนักมาก ปล้ืมใจที่ความฝันว่าจะได้
: ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ” ถวายงานพระองค์ท่านในวาระอันเป็นที่สุด คือพระราชพิธีถวาย
เพื่อรวมเล่มร่วมกับอาจารย์มหาวิทยาลัยอ่ืนๆ สำ�หรับหนังสือเล่มน้ี พระเพลิงพระบรมศพ ได้บรรลุเป้าหมายของชีวิต และสามารถ
ประชาชนทั่วไปสามารถหาอ่านได้ฟรีจาก https://drive.google.com/ นอนตายตาหลับแล้ว อยากใหค้ นไทยแปรเปลยี่ นความโศกสลด
file/d/0B5BpTtXUXhCeX09XYkRHbm1OZGc/view?pli=1 ขณะท่ี เป็นความปลาบปล้ืมใจที่ได้เกิดมาในแผ่นดินของพระองค์ท่าน
รปู เลม่ ทตี่ พี มิ พเ์ ผยแพรน่ นั้ มหี นว่ ยงานราชการ ๓ แหง่ คอื ส�ำ นกั งานคณะ รวมถึงสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ในวถิ ขี องแต่ละคน”
กรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.)กระทรวงศึกษาธิการ
คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ และ มวิ เซยี มสยาม สถาบัน 3ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
พพิ ธิ ภณั ฑก์ ารเรยี นรแู้ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) สง่ มอบใหก้ บั โรงเรยี นใน
สังกัด สพฐ. ในแต่ละเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และจัดส่งมาให้หอสมุด
มรภ.สงขลา จ�ำ นวน ๑ เล่ม ซง่ึ ในการทำ�งานทมี งานทกุ คนทุ่มเทแรงกาย
แรงใจ ท้ังบุคลากรในแวดวงวิชาการและงานเขียนผู้เช่ียวชาญ ด้วยความ
ตั้งใจถวายงานแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ เพ่ือให้ได้
หนังสือท่ีเป็นวิชาการ แต่คนท่ัวไปรวมถึงเด็กนักเรียนสามารถอ่านแล้ว
เข้าใจงา่ ย

อ.วสนิ กลา่ ววา่ งานเขยี นท่จี ดั ทำ�ขน้ึ ในครง้ั น้ีเป็นเรื่องคอ่ นขา้ งยาก
ใช้เวลาเกือบปีในการศึกษาค้นคว้าจนกระทั่งเสร็จเป็นรูปเล่มด้วยความ
เหน็ดเหนื่อย โดยเฉพาะบรรณาธิการ ผศ.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นผู้จัดต้ังคณะทำ�งานขึ้นมา ทั้งที่ลาศึกษาต่อปริญญาเอก ที่วิทยาลัย
บูรพาคดแี ละแอฟรกิ ันศกึ ษา (School of Oriental and African Studies
: SOAS) มหาวทิ ยาลยั ลอนดอน กย็ งั ท�ำ งานราวกบั อยเู่ มอื งไทย แมก้ ระทง่ั
บางครั้งตอ้ งส่งงานตอนตสี องเพ่ือตรวจและทยอยปรบั แก้ ทีมงานทกุ ทา่ น
ต่างชว่ ยเหลอื ประสานงานกันเปน็ อยา่ งดี

ความสำ�เร็จของ โครงการ “ฝาย” รวมใจ (ฟื้นฟูพื้นท่ี หรอื เรียกว่า Check Dam หรือฝายชะลอความชมุ่ ชื้น Check Dam คือส่ิง
ประสบภัยอุทกภัย) เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมิน- ที่ก่อสร้างขวางกนั้ ทางเดินของล�ำ น�ำ้ ซ่ึงปกตมิ กั จะกน้ั ห้วยลำ�ธารขนาดเลก็
ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ท่ีมี ๗ เครอื ขา่ ย กยศ. สถาบันอดุ มศกึ ษา ในบริเวณที่เป็นต้นน้ำ�หรือพ้ืนที่ที่มีความลาดชันสูง ทำ�ให้พืชสามารถ
ภาคใต้ รว่ มเปลี่ยนความแห้งแล้งทกุ ข์ยากของคนบา้ นนาหมอบญุ ด�ำ รงชีพอยู่ได้ และหากชว่ งทนี่ �้ำ ไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน�้ำ ให้
เป็นความชุ่มช้ืนงอกงาม คือกระจกท่ีสะท้อนพลังของเยาวชนจิต ช้าลงและกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลลงไปในบริเวณลุ่มน้ำ�ตอนล่าง นับเป็น
อาสาได้ชัดเจนอย่างยง่ิ วิธกี ารอนุรกั ษด์ นิ และน�ำ้ ได้ดีมากวธิ ีการหน่งึ

อ.จิรภา คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้าน น.ส.วศินี หอยสังข์ นักศึกษาปี ๑ โปรแกรมวิชา
นกั ศกึ ษาและคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ กล่าวว่า รู้สึกดีใจมากที่ได้ดำ�เนินตามแนว
เปิดเผยถึงโครงการ “ฝาย” รวมใจ (ฟ้ืนฟูพื้นที่ประสบภัยอุทกภัย) พระราชด�ำ ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รชั กาลท่ี ๙ แม้การทำ�ฝาย
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งจัด อาจเป็นเพยี งเศษเสยี้ วในการท�ำ ความดเี พ่ือพระองค์ท่าน แตส่ ำ�หรบั ตนถือ
โดยมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ (มวล.) เมือ่ วันที่ ๑-๓ กนั ยายน ท่ีผา่ นมาวา่ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ในการเผยแพร่ กระจายแนวคดิ การมสี ว่ นรว่ มฟนื้ ฟทู รพั ยากร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชดำ�รัสว่า น้ำ�และผืนดิน ซึ่งเป็นการร่วมแรงร่วมใจของนักศึกษาเครือข่าย กยศ.
“การปลกู ปา่ ทดแทนปา่ ไมท้ ถ่ี กู ทำ�ลายนน้ั จะตอ้ งสรา้ งฝายเลก็ เพอื่ หนนุ นำ้� จากสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ท้ัง ๗ แห่ง ได้แก่ มรภ.สงขลา มวล.
ส่งไปตามเหมืองไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูกทั้งสองด้าน ซึ่งจะให้นำ้�ค่อยๆ ม.หาดใหญ่ ม.ทักษณิ (วิทยาเขตพทั ลุง และ วิทยาเขตสงขลา) มรภ.ภเู กต็
แผ่ขยายออกไปทำ�ความชมุ่ ชืน้ ในบริเวณนั้นด้วย” ดังน้ัน เม่ือ มวล. จัดท�ำ และ มรภ.นครศรีธรรมราช ร่วมกับคนในชุมชน พระบาทสมเด็จ
โครงการสร้างฝายฯ ข้ึน หน่วยกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) พระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี ๙ เคยตรสั วา่ “...ชีวิตอยู่ทีน่ ั่น ถา้ มีน�ำ้ คนอยไู่ ด้ ถา้
กองพัฒนานกั ศึกษา มรภ.สงขลา จึงไดค้ ัดเลือกนกั ศึกษาผกู้ ู้ยืมเงิน ให้เขา้ ไมม่ นี �ำ้ คนอยไู่ มไ่ ด้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยไู่ ด้ แตถ่ า้ มไี ฟฟา้ ไมม่ นี �ำ้ คนอยไู่ มไ่ ด.้ ..”
ร่วมโครงการดังกล่าว ณ บ้านนาหมอบุญ ต.อ่าวศรีเมือง อ.จุฬาภรณ์ และนี่จึงเป็นแรงบันดาลใจในการเข้าร่วมทำ�ฝายในคร้ังน้ี แม้สถานท่ี
จ.นครศรีธรรมราช เพื่อสนองพระราชดำ�รทิ พ่ี ระองคท์ ่านทรงพระราชทาน การกนิ การอยจู่ ะไมส่ ะดวกสบายมากนกั แตก่ ไ็ มไ่ ดส้ ง่ ผลตอ่ จติ ใจแมแ้ ตน่ อ้ ย
ไว้ และเพอื่ ใหเ้ ยาวชนจติ อาสาไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาจาก กยศ. มโี อกาส เพราะทุกคนมจี ดุ มุง่ หมายเดยี วกนั คอื การท�ำ ความดเี พอื่ ในหลวง และเพอื่
สร้างฝายฟ้ืนฟูพื้นท่ีประสบอุทกภัย ตอบแทนกลับคืนสู่สังคม และทำ�ให้ ผู้ประสบอทุ กภัยในพน้ื ท่ี
คนในชมุ ชนในพนื้ ทเี่ กดิ ความรกั ความหวงแหนพนื้ แผน่ ดนิ บา้ นเกดิ อกี ทาง
หนึง่ ดว้ ย “การมาอยู่ร่วมกันของกลุ่มคนแปลกหน้าเป็นสิ่งท่ียากลำ�บาก
แต่ค่ายน้ีสามารถทำ�ให้คนท่ีไม่เคยรู้จักกันมาก่อน หันมาทำ�ความรู้จัก
อ.จิรภา กล่าวว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- เรยี นรู้ แลกเปล่ยี น ท้ังนิสยั ความคิด ประสบการณ์ และความเออื้ อาทร
อดลุ ยเดช ทรงตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการอยรู่ อดของปา่ ไมเ้ ปน็ อยา่ งยงิ่ ต่อกัน ทุกคนเป็นเพื่อนกันไม่มีแบ่งแยก แม้การทำ�ฝายจะไม่ใช่งานท่ีง่าย
ทรงเสนออปุ กรณอ์ นั เปน็ เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะใชป้ ระโยชนใ์ นการอนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟู แต่ทุกคนก็ช่วยกันอย่างเต็มกำ�ลัง ทั้งผู้หญิง ผู้ชาย เด็ก คุณลุง คุณป้า
ปา่ ไมท้ ไี่ ดผ้ ลดยี ง่ิ กลา่ วคอื ปญั หาส�ำ คญั ทเ่ี ปน็ ตวั แปรแหง่ ความอยรู่ อดของ ทุกคนล้วนทำ�หน้าที่ได้อย่างดีเย่ียม ค่ายน้ียังสอนให้เราทำ�งานพร้อมกัน
ป่าไม้นนั้ นำ�้ คือสิ่งทข่ี าดไม่ไดโ้ ดยแท้ พระองคท์ รงแนะน�ำ ใหใ้ ช้ฝายกัน้ น�้ำ พักพร้อมกัน กินข้าวพร้อมกัน เข้านอนพร้อมกัน เรียกได้ว่าเรามีหัวใจ
ทีม่ งุ่ มน่ั ดวงเดียวกันนัน่ เอง” น.ส.วศินี กลา่ ว
4 ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ขณะท่ี นายจักรกฤษ เลิศลับ นักศึกษาปี ๓ โปรแกรมวิชา พัฒนานักศึกษาคัดเลือกให้เดินทางไปเข้าร่วมโครงการสร้างฝายฯ ทำ�ให้
รฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ กลา่ ววา่ ความคดิ นึกถึงในหลวง ร.๙ ตอนที่พระองค์ท่านยังไม่ส้ินพระชนม์ และมี
แรกท่ีสมัครใจลงชื่อเข้าร่วมโครงการ เพราะอยากทำ�ส่ิงดีๆ ให้แก่สังคม พระพลานามัยแข็งแรงอยู่นั้น ทรงมีพระราชดำ�ริให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ในการชว่ ยรกั ษาธรรมชาตแิ ละชว่ ยเหลอื ใหก้ �ำ ลงั ใจผทู้ เ่ี ดอื ดรอ้ น โดยนอ้ มน�ำ ทำ�ฝายชะลอน�้ำ ไวม้ ากมาย เพ่อื ช่วยชาวบ้านใหม้ ีน�้ำ ใชใ้ นฤดแู ล้ง ซึง่ ตงั้ แต่
แนวพระราชดำ�ริท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จ�ำ ความไดพ้ ระองคท์ รงท�ำ เพอื่ ประชาชนในประเทศอยา่ งมากมายมหาศาล
ทรงพระราชทานไว้เกี่ยวกับการสร้างฝายในพื้นท่ีแห้งแล้งของประเทศไทย เคยคิดไวว้ า่ หากมโี อกาสท�ำ สิง่ ทดแทนพระองค์ท่านได้บ้าง ถึงจะเลก็ นอ้ ยก็
ใหม้ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ มนี �ำ้ กนิ น�้ำ ใชต้ ลอดปี ขอขอบคณุ มวล. ทจ่ี ดั โครงการ ไม่เกี่ยง ดงั น้ัน เมอื่ ไดร้ ับโอกาสจากกองพัฒนานักศึกษา จงึ รบี ควา้ ไว้ทนั ที
ดีๆ ข้ึนมา ทำ�ให้ตนได้เห็นคุณค่าการทำ�เพ่ือเพ่ือนมนุษย์ด้วยกัน และขอ ซึ่งการไปค่ายครั้งน้ีทำ�ให้ตนได้พบเพื่อนใหม่ต่างมหาวิทยาลัย ได้ทำ�
ชนื่ ชมชาวชุมชนบา้ นนาหมอบุญ ทม่ี ีความรักสามคั คี ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและ ความรจู้ กั และแลกเปลย่ี นความคดิ กนั ระหวา่ งท�ำ ฝายมชี าวบา้ นมารว่ มดว้ ย
กัน ร่วมสร้างฝายถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ท่านด้วยความมุ่งมั่น แถมยงั ซ้อื น�้ำ ขนมมาให้ สร้างความประทบั ใจอยา่ งย่ิง
อย่างท่ีสุด จนทำ�ให้งานสำ�เรจ็ ลุล่วงดว้ ยดี
ส่ิงสำ�คัญท่ีได้จากการสร้างฝาย คือประสบการณ์ชีวิตท่ีหา
ปดิ ทา้ ยด้วย น.ส.พัตราภรณ์ เรืองดำ� นักศึกษาปี ๒ โปรแกรม ไมไ่ ดจ้ ากหอ้ งเรยี น แมจ้ ะมาจากตา่ งท่ี ตา่ งสถาบนั แตท่ กุ คนมเี ปา้ หมาย
วชิ าการผลติ สตั ว์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร กล่าววา่ รู้สึกดใี จทส่ี ดุ ทกี่ อง เดียวกนั น่นั คือการได้เปน็ จิตอาสาทีส่ ามารถท�ำ ประโยชนใ์ หแ้ กส่ ังคม

ชมรมรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม ออกค่ายสร้างฝาย-ปลกู ป่า

ปน้ั นศ. ซมึ ซบั ศาสตรพ์ ระราชา อนุรกั ษ์แหล่งต้นนํา้

ฮซู ยั หนูหัน อ.กมลนาวิน อินทนจู ิตร

ชมรมรักษ์ส่ิงแวดล้อม มรภ.สงขลา ตามรอยศาสตร์ อ.กมลนาวิน กล่าวว่า ส่ิงสำ�คัญท่ีสุดของการอนุรักษ์ทรัพยากร
พระราชา นำ�นักศกึ ษากว่า 100 ชีวิตออกคา่ ยปลกู ป่า คดั พนั ธไุ์ ม้ ป่าไม้อันมีค่าของเรา คือ การปลูกจิตสำ�นึก สำ�นึกจะเกิดไม่ได้หากไม่มี
ชนดิ ดดู ซบั คารบ์ อนชว่ ยลดโลกรอ้ น พรอ้ มสรา้ งฝายตน้ น�้ำ อ.รตั ภมู ิ แบบอย่างที่ดี คนไทยและเยาวชนไทยโชคดีท่ีมีแบบอย่าง เช่น ในหลวง
รัชกาลท่ี 9 ทีพ่ ระราชทานมรดกอนั ยิ่งใหญ่ทสี่ ุดในแก่คนไทย คือ ศาสตร์
อ.กมลนาวิน อินทนูจิตร อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และ พระราชา ซึ่งเป็นของจริงทำ�แล้วดีจริง หวังว่าเยาวชนจะซึมซับศาสตร์
เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ท่ีปรึกษาชมรมรักษ์ พระราชาอย่างถูกต้องให้มากที่สุด เพื่อความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อมไทย
สงิ่ แวดลอ้ ม เปดิ เผยถงึ การน�ำ นกั ศกึ ศกึ ษาในชมรมฯ จ�ำ นวน ๑๐๓ คน ออกคา่ ย ในสว่ นของ มรภ.สงขลา จะด�ำ เนนิ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทดี่ อี ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
สรา้ งฝายต้นน�้ำ และปลกู ป่าเพือ่ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรป่าไมต้ ้นน้ำ� ณ ศูนย์เรียนรู้ ตามนโยบายมหาวทิ ยาลยั สีเขียว โดยจะเพ่มิ พนื้ ปลูกต้นไม้ประมาณ ๖๐%
เพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามแนวพระราชดำ�ริ ต.ฉลุง อ.หาดใหญ่ ทัว่ มหาวิทยาลยั
จ.สงขลา เมื่อวันท่ี ๒๘-๒๙ ตลุ าคม ทีผ่ า่ นมาว่า ในทกุ ปสี มาชกิ ชมรมรักษ์
สง่ิ แวดลอ้ มจะด�ำ เนนิ กจิ กรรมอนรุ กั ษป์ า่ ตน้ น�้ำ และสง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรมใน ด้าน นายฮูซัย หนหู นั ประธานชมรมรักษส์ ง่ิ แวดล้อม กล่าววา่
พนื้ ท่ี จ.สงขลา และใกล้เคยี ง โดยปีท่ีแล้วเปน็ พน้ื ทป่ี า่ ตน้ น�้ำ ผาด�ำ ส่วนปีนี้ จากกจิ กรรมดงั กลา่ วท�ำ ใหท้ กุ คนไดร้ ว่ มเรยี นรถู้ งึ กระบวนการสรา้ งฝาย เเละ
บรู ณาการรว่ มกบั สำ�นกั งานจัดการทรัพยากรปา่ ไม้ท่ี ๑๓ จ.สงขลา จัดค่าย ปลูกจิตสำ�นึกให้คนรุ่นใหม่ซึ่งจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญของชาติต่อไปในอนาคต
ปลกู ส�ำ นกึ รกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม รปู แบบกจิ กรรมประกอบดว้ ย เรยี นรกู้ ารอนรุ กั ษ์ ได้ช่วยกันดูแลโลกที่เราอยู่อาศัย เเละรักษาส่ิงเเวดล้อมให้อยู่ในสภาพท่ีดี
ทรัพยากรป่าไม้ตามแนวทางศาสตร์พระราชา เรียนรู้พันธุ์กล้าไม้ท่ีเหมาะสม ไปจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน ซึ่งแม้เราจะไม่สามารถปลูกต้นไม้ในหัวใจของ
ต่อการดูดซับคาร์บอนเพื่อลดสภาวะโลกร้อน การจัดการขยะ ณ แหล่งท่องเท่ียว ทกุ คนได้ เเตส่ ามารถท�ำ ใหท้ กุ คนเรยี นรกู้ ระบวนการปลกู ตน้ ไม้ และเหน็ ถงึ
ธรรมชาติ และการจดั ทำ�ฝายตน้ น�ำ้ บริเวณพน้ื ทเี่ ขาวงั อ.รตั ภูมิ จ.สงขลา ความส�ำ คญั ของส่ิงแวดลอ้ มทม่ี ีต่อทกุ ชวี ติ บนโลกได้

5ปารฉิ ตั ร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

สถานกงสุลใหญ่เมืองปีนัง เทียบเชิญ มรภ.สงขลา ซง่ึ ตลอดช่วงการเผยแพร่วัฒนธรรมของ มรภ.สงขลา พิธีกรบนเวทีได้
เผยแพร่วัฒนธรรมงาน Thai Festival 2017 เฉลิมฉลอง นำ�เสนอช่อื Rajabhat Songkhla. University ดว้ ยความชืน่ ชม ทัง้ ยงั
ครบรอบ ๖๐ ปี สถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู ไทย มาเลเซยี ไดร้ บั การตอบรบั อยา่ งอบอนุ่ จากชาวปนี งั ตดิ ตามขอถา่ ยรปู และรอชม
คณะศลิ ปกรรมฯ ส่งอาจารย์-นักศึกษานาฏยรงั สรรค์ จัดเตม็ การแสดงเตม็ หน้าเวทีตลอดทงั้ ๓ วนั
๕ ชุดการแสดง
ประการสำ�คัญ ภายในงานมีการจัดนิทรรศการพระบาทสมเด็จ
อ.รวสิ รา ศรชี ัย รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อคร้ังลงนามความสัมพันธ์
มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เมื่อวันที่ ๘-๑๐ ไทย-มาเลเซีย คณะนักแสดงจาก มรภ.สงขลา จึงถ่ายภาพไว้เป็น
กนั ยายน ทผี่ า่ นมา โปรแกรมวชิ านาฏยรงั สรรค์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ท่ีระลึกด้วยความส�ำ นึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ เป็นล้นพน้
มรภ.สงขลา ได้รับเชิญจากสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองปีนัง ประเทศ
มาเลเซยี ให้เดินทางไปเผยแพรว่ ัฒนธรรมไทยในงาน Thai Festival
2017 เพือ่ รว่ มเฉลิมฉลองครบรอบ ๖๐ ปีการสถาปนาความสัมพันธ์
ทางการทูตระหวา่ งประเทศไทยกับมาเลเซยี โดยการเดินทางไปแสดง
ครัง้ น้ี มี อ.รวิสรา ศรีชยั อ.ทศั นยี า คัญทะชา ประธานโปรแกรม
วิชานาฏศิลป์และการแสดง อ.รัชยา วีรการณ์ ผู้ช่วยคณบดี
คณะศิลปกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ผู้ควบคุม และมีนักศึกษาสาขา
นาฏยรังสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จ�ำ นวน ๖ คน เป็นตวั แทนไป
แสดงในงานนดี้ ้วย โดยไดร้ บั การตอ้ นรบั อย่างดยี ิง่ จาก น.ส.เอกจติ
กรัยวิเชียร กงสุลใหญ่ฯ และ เรือตรี ปิยพันธ์ุ อติแพทย์
กงสุลประจ�ำ สถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมอื งปีนงั
อ.รวสิ รา กลา่ ววา่ การแสดงทนี่ �ำ ไปเผยแพรส่ สู่ ายตาชาวมาเลเซยี
ในคร้ังนมี้ ที ัง้ หมด ๕ ชดุ ได้แก่ ระบ�ำ กฤดาภนิ ิหาร เซิง้ กะลากนั ตรมึ
เซ้ิงโปงลาง นาฏศิลป์ร่วมสมัยชุดกระต่ายเต้น และ Andaman sun

6 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

ว“ซพออวผดอิขกด่ึบู้ธดิังักรรเกิษา้ีะรโ.โีษปบปรอหิอารร็รนเมถ“ทพเารรเาถสมถบเพชบมว้รรรงรรบึ ทดื่อึงนดงะุญจภนิลภคอท็จิดตวเมีปงงทัฏณ.ส.แไัเนเสรสพหรรปพรโผทสาาทิทงะียท“ามร น่ กจลงอเขธบ่ีว ขะหทาตดขงโงทิิล๒้เามรชาศรทนิรลสยายร๕ภำ�ีคยห ่ี แารา์า กูมงแถาลา้ตกชเลตลิพกงยัสว่บงภนะัุ่ลลรรียาขลทิับฏาาคอุณยึ้งนพ�ำ คุชคปสดวอปปกหปนมาตัภลมรลุงาารรนิ่าลธอาารฏัะมขย�ำละงงั่ พิคกงเสลงสอแเเทสรพยัโรทดาสาณุ รง.ดาสู้าี่ผว”ข่ือนนชือกขน้ ยถยชก่ึอิาไถลง วอวนยพงัถสดาดวม้เาธอ่มงึุขมาหรร(ยหิกใ ขมายศ.ี.นนอกากอารอรวืองรารหรภผีาทิแแลฯฤเฤ.ลศลลสกผยัตยตวัยะ.ง่นาตทปทแลนด”งขลแอมลลรวั่ดนา้ นำ�ลรยั.รฐงดอแ้านิทพลิ ลแิา.ป.ายด่ดพรน๙)ชวมีัวตนกนว่ยนพริาวาร่ถงมเไแคุาดะนนกีัรตทเสา่ถสสตบนงอ้ศชิิชวุยยา่กิ มง่มาื้รอยกทยับอทรดอรทล�ำ .ณทว้้.สอส�ำ สม่ินยเมมงธหหพิวคงโวิาเภสภณาดดลดสมคิสสััคิย็งาจะ อ.สิทธิโชค กบิลพัตร ประธานโปรแกรมวิชาดนตรีสากล
ทรงพืน้ พลิก ผลางาม ตามประสงค์ กในล่าหวลวว่างรรัชู้สกึกาเปล็นทเี่ ก๙ียรตร่ิแวมละกดับีใหจมนา่วกยงทานี่ได้รค่วณมระ้อตง่าเงพๆลงเแทลิดะพซราะบเกซีย้ึงใรนติ
ก่อนเสดจ็ เสวยสวรรค ์ มัน่ ด�ำ รง กพนลอ้ร่าะมวมนดวหำ�่ารคา.กำ�จรสรู้รสอุณรึกนยปาขส์ธลอิมคางบุณรพปรทผละี่ลพอ้ืมบรงทะคญุ ่ีไอ์ไดปงร้เคอปป์ทงฏ็นผ่าิบสอู้ นัต่�ำวมใินนนีตวหช่ยอนวีกร่ึงิตาาขแรชอสลภง�ำะัฏกนคฯากัรรอศบทบลิ ันั่วคปปทระัวแรึกละเสเะทวียฒัศงในนตธวนรันรจนมะ้ี
สายพระเนตร เจตน์ประจง ประจกั ษ์จินต์ เหมือนอเ.ปทน็ ัศแนรีงยขาบั เลค็กัญๆททะ่ที ชำ�าเพ่ือปพร่อะใธนาวนาโรปะสรุดแทกา้รยมวิชานาฏศิลป์และ
ฝากแผ่นดิน ฝากความร ู้ ใหค้ รูสอน แกผาร่นแดสินดเงป็นกคลน่าขวอว่งาพรรู้สะรึกาปชลาาบวันปนลื้มี้ไดเป้ม็นีโอทก่ีสาุดสทม่ีมาีรโอ้อกงเาพสลไงดใ้เหป้พ็น่อขห้าขลอวงง
ลญั จกร ก่องเด่น อันเป็นปิน่ ซ่งึ ทา่ นอเ.ปอน็ ุรคารรตู ัต้นนแบ์ บปใาหน้เรราไอดด้ยึดคโปำ�สรอแนกมรามปวฏิชบิ าตั ภิในากษาารตท่าำ�งงาปนรตะอ่ เไทปศ
พระราชทาน มาประทับ ประดับดิน คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ กล่าวว่า รู้สึกยนิ ดีและอิ่มเอมใจที่มี
อถพจทสคทไอวงดุด่ึงวณ่รี่ีรเ้รพ๙นมว่ะหุลกัะมปรยศรนภศผะภทเ จผเใร่วเกึอืหพิกดัลจมา่ักมมศูลาษเกนลดียชปสหกพนิ.ลกาด่าันงขีทบืดลกาะั้นืทนเทพขอรพเกอา้า้งารรถเพ้าท่ีง.อาอ่งือรปนรนมแรคิ่นือ่บรนพกุณงม็นาลหิวณง แ ทา าชัตศาะอมหาสราเ-พธภา ีต.พพมจด สิครกสมูอ่าฒัู่ลคงอุ้ณหลรตพอพิงณมนย่าทอรขภสลแใ์ะาว์อก่ีปกอัจสทใลวงกแดนรกน่าภรฐถผะอ้พลละลุนักินอาลก้วงอฏัพะร่ายถนรใแงนโกัารัะกพวันเนฟชภน่ิสรว่ปศงบดวษงาธมชารดฐ้ากึักาช่ศาสวข์ม่ วนาถรงทษษไม์้ึนบมถน วถ์ ทสาร์ ค างึรถมะึงู้มยสคยวมมทวาึรเกอวรบาใดี่จโาาซภหยนปม็จะมลา.อมเพาสรรยัจทบา่ถภงแรดงดเิลซขบฝแจฟทระพกว้.พัยึ้ลสงปกัว่าพหยัง้าอ่ืรแแารบงพภนกรก่งติมแะขลดมโขสนักัรทารสมวรล่ะพอะงินมดใกัิดชจหใาปบขบนรแีตทษนนงาาลาลคะคลอรดรกณิห์นเาทบ้ืณุมราะปอมรนลิร้งันาากปณ็ุนหทันนวตทอ้ถีตงสากุาด้ีรสมึงรภธิๆถทีสรคมชัรคิูมา”์่ีไา�ำกวฝเณุบดิพกดลาาา่ ัน้นมมลกึล็ยลจี้ี โอกาสได้เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมถ่ายทำ�มิวสิควิดีโอเพลงข้าราชภัฏฯ
เพอ่ื ถวายอาลัยแดพ่ ่อหลวงของชาวไทยทุกคน

อ.ญาณิกา สุวรรณวิจิตร โปรแกรมวิชานาฏศิลป์และการแสดง
กล่าวว่า ดีใจท่ีได้เป็นส่วนหน่ึงในการแสดงความจงรักภักดีแด่พระบาท
สมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ในฐานะคนของพระราชาและ
ลูกของพ่อ ถึงแม้จะไม่ใช่การทำ�หน้าท่ีที่ย่ิงใหญ่ แต่อย่างน้อยเราได้
ท�ำ ดว้ อยใ.รจวทสิเ่ี ตร็มาเปศย่ีรมชี ยั ภมูรอใิ จงทคณ่ีไดบ้เปดน็ฝี า่สย่ววนชิ หานกึ่งาใรนกกลจิ ่ากวรวรา่ มปคลร้ืม้ังนใจ้ี ท่ีไดเ้ ป็น
ส่วนหอน.่ึงศขศอิธงบรทวเศิพพลงนั เพธ่อื์ุ ปพร่อะธานโปรแกรมวชิ าศลิ ปกรรม กลา่ วว่า รู้สึก
เรป้อ็นงเเกพียลรงตเิแพล่ือะถยวินาดยีเปอ็นาลทัยี่สุใดนท่ีหมีโลอวกงารสัชไกดา้เปล็นทส่ี ่ว๙นหนน้อ่ึงใมนรกำ�าลรึกรใ่วนม
พระมอห.าวกิชรัยุณามธีศิคณุรี ตโรปารบแนกิจรนมิรวนัิชาดดรน์ ตรีสากล กล่าวว่า รู้สึกดีที่ได้เป็น
สแม่วจ้น�ำ หนนวนึ่งคขนอองากจิจไกมรม่ รามกดใว้นยคขรอ้ ั้งจน�ำ ก้ี ดั ไดดา้ ้เนหเ็วนลถาึงแคตวท่ ากุ มคตน้ังกใท็ จ�ำ ขดอว้ งยทใจุกแคลนะ
ไดผ้ ลงนา.นสท.ว่ีดันตี ว่อิสใจาขขอ์ งททอกุ คงสนง เจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป คณะศิลป-
กกไมรรร่วรม่ามพศนศาอ่ า.สจสสตะต.รไธรด์ ว์กร้ ักลลับลา่ยฟว่าาังววา่วร่าคบัรงสู้รรกึบู้ไ้สู ดภึกัว้หมูภใิรูมเจอืจิใท้ไาจเ่ีมหแป่ลน็นแะห้คาตนทไ่ ้นื ดง่ึ่ีบตกท้ รัน�ำ ำ�ิหลใกงัจาภ็ เมรลมู งาก็ ิใากๆจนทเป่ไีททดน็ไ่ี่ัวด้มทไร้ีสปสี่อ้่วดุงนเคแพรลณ่วล้วมงะเใศพนิลอ่ื กปพา-อ่ร
เแสดงนคว.าสม.จนงัรนกั ทภกัิกดาแี ละดระนลหกึ ถมงึ พารนะบาเทจส้ามหเดนจ็ ้าพทระี่บเจรา้ ิอหยาหู่ รวั งรชัากนาทลทั่ว่ี ไ๙ป
กคิจณกะรศริลมปทกด่ี รคี รรมงั้ นศา้ี แสลตะรจ์ ะกนลำ�่าควำ�ตสรั่งงสกอันนวข่าองรใู้สนึกหดลีใวจงทรัชี่ไดก้เาปล็นทสี่ ๙่วนไหปนใึ่ชงใ้ในห้
เกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อไป

เช่นเดียวกับ น.ส.มนทิรา เหมอารัญ นักวิเคราะห์นโยบาย
และแผน คณะศิลปกรรมศาสตร์ กลา่ ววา่ รูส้ กึ ปลาบปล้มื และประทบั ใจ
ท่คี รั้งหนงึ่ ในชีวติ ได้รว่ มรอ้ งเพลงเพอื่ ในหลวงรัชกาลที่ ๙

7ปารฉิ ตั ร วารสารเพือ่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

สระวา่ ยน�้ำ มรภ.สงขลา จับมอื โปรแกรมพลศึกษา อ.พลากร กลา่ วว่า จากสถิตขิ องกระทรวงสาธารณสขุ พบว่าใน
เปิดสอนฟรีหลักสูตรว่ายนำ้�เพื่อเอาชีวิตรอด หวังช่วยลดสถิติ ชว่ ง ๑๐ ปที ผ่ี า่ นมา ตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๐-๒๕๕๙ เฉพาะเดอื นตลุ าคมเดอื นเดยี ว
เดก็ อายุ ๙-๑๒ ปี จมน�ำ้ เสยี ชวี ติ ถวายเปน็ พระราชกศุ ลพระบาท มีเดก็ จมนำ้�เสยี ชวี ติ เฉลีย่ ปลี ะ ๑๐๑ คน โดยในปี ๒๕๕๙ เดก็ ไทยจมน้ำ�เสีย
สมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ชวี ิต ๖๙๙ คน เป็นเพศชายมากกวา่ เพศหญิงเกอื บ 3 เทา่ ตวั กล่มุ อายุที่
พบมากทส่ี ดุ คอื กลมุ่ เดก็ อายตุ �ำ่ กวา่ ๕ ปี รองลงมาคอื ๕-๙ ปี และ ๑๐-๑๔
อ.พลากร นคั ราบณั ฑติ ผจู้ ัดการสระว่ายน้ำ�มหาวิทยาลัย ปตี ามล�ำ ดบั ซึง่ ช่วงเดือนตลุ าคมเปน็ ช่วงทีม่ เี ด็กจมน�ำ้ เสยี ชวี ติ มากทสี่ ดุ ที่
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ สระวา่ ยน�้ำ รว่ มกบั โปรแกรมวชิ า สำ�คัญ การจมน�ำ้ ยังคงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอนั ดับ ๑ ของเดก็ ไทยอายตุ �ำ่
พลศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา เปดิ สอนวา่ ยน�ำ้ ในหลกั สตู รวา่ ยน�ำ้ กวา่ ๑๕ ปี
เพอ่ื เอาชวี ติ รอด ใหแ้ กเ่ ดก็ อายรุ ะหวา่ ง ๙-๑๒ ปี ที่ไม่เคยมปี ระสบการณ์
การว่ายน้ำ�มาก่อน ได้เรียนรู้ฟรีตลอดเดือนตุลาคม เพื่อถวายเป็น ผจู้ ดั การสระว่ายน�ำ้ มรภ.สงขลา กล่าวอีกวา่ จากตวั เลขดังกล่าว
พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช และ สะท้อนถึงความสำ�คัญของการมีทักษะในการว่ายนำ้� ดังน้ัน ตนจึงได้เปิด
เป็นโอกาสให้นักศึกษาโปรแกรมวิชาพลศึกษา ท่ีจะจบออกไปเป็นนัก หลักสูตรว่ายน�ำ้ เพ่ือเอาชวี ติ รอด ซง่ึ ขณะนีม้ เี ด็กทเี่ ป็นกลมุ่ เปา้ หมายสมัคร
วชิ าการสายปฏบิ ตั ิ ไดฝ้ กึ ทกั ษะการสอนวา่ ยน�ำ้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความช�ำ นาญ เข้ามากว่า ๓๐ คน และได้เร่ิมฝึกว่ายน้ำ�ไปบ้างแล้ว โดยเดอื นหนา้ จะเปดิ
จากการได้ออกปฏิบตั งิ านอย่างสมำ่�เสมอ สอนฟรใี หแ้ กน่ กั เรยี นโรงเรยี นเทศบาล ๕ จ.สงขลา

หากโรงเรียนใดมคี วามประสงค์ให้จดั สอนวา่ ยน�้ำ สามารถตดิ ตอ่ มาได้ ตนจะเปิดรอบสอนฟรใี ห้กบั โรงเรียนนัน้ ๆ
โดยติดตอ่ ไดท้ ี่ อ.พลากร นัคราบณั ฑติ โทร. ๐๘๑-๙๕๙๒๙๔๕

สำ � นั ก วิ ท ย บ ริ ก า ร ฯ “หนงั สอื เปน็ การสะสมความรแู้ ละทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทม่ี นษุ ย์
มรภ.สงขลา แจกฟรนี ำ�้ ดม่ื 999 ไดส้ รา้ งมาท�ำ มาคดิ มาแตโ่ บราณกาลจนทกุ วนั น้ี หนงั สอื จงึ เปน็ สง่ิ ท่ี
ขวด แก่ผู้มาใช้บริการห้องสมุด ส�ำ คญั เปน็ คลา้ ยๆ ธนาคารความรแู้ ละเปน็ ออมสนิ เปน็ สง่ิ ทจ่ี ะท�ำ ให้
ถวายเป็นพระราชกุศลในหลวง มนษุ ยก์ า้ วหนา้ ไดโ้ ดยแท”้
ร.๙ สนองพระบรมราโชวาท
หนงั สอื คอื ธนาคารความรู้ ผศ.ดร.อ�ำ นาจ กลา่ ววา่ คณะผบู้ รหิ าร เจา้ หนา้ ทส่ี �ำ นกั วทิ ย-
ผศ.ดร.อ�ำ นาจ ทองขาว ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยี บรกิ ารฯ ไดร้ ว่ มตง้ั ปณธิ านเดนิ ตามรอยพอ่ ทกุ คนรสู้ กึ ภมู ใิ จทไ่ี ดเ้ ปน็
สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ส�ำ นกั วทิ ย- สว่ นหนง่ึ ในการมอบโอกาสและสง่ิ ของ ซง่ึ เปน็ น�ำ้ ดม่ื ใหแ้ กน่ กั เรยี น
บรกิ ารฯ ใหบ้ รกิ ารน�ำ้ ดม่ื ฟรจี �ำ นวน ๙๙๙ ขวด แกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ณ นกั ศกึ ษา บคุ ลากรผรู้ กั การอา่ นทเ่ี ขา้ มาใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ซง่ึ ลว้ น
บรเิ วณหนา้ ลฟิ ตช์ น้ั ๑ อาคารบรรณราชนครนิ ทร์ เพอ่ื ถวายเปน็ พระราชกศุ ล ตระหนกั ถงึ คณุ ปู การทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทท่ี รงใหค้ วามส�ำ คญั ได้กระทำ�ไว้ตลอดช่วงรัชสมัย และยังคงเศร้าโศกเสียใจท่พี ระองค์
ตอ่ การอา่ น ดงั พระบรมราโชวาททว่ี า่ หนงั สอื คอื ธนาคารความรู้ เสดจ็ สสู่ วรรณคาลยั ดงั นน้ั เพอ่ื ใหท้ กุ คนทเ่ี ขา้ มาอา่ นหนงั สอื ในหอ้ ง
สมดุ ไดร้ �ำ ลกึ ถงึ พระองคท์ า่ น ส�ำ นกั วทิ ยการฯ จงึ ไดจ้ ดั เตรยี มหนงั สอื
ทน่ี �ำ เสนอเรอ่ื งราวพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กจิ ของพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ ว่ มซาบซง้ึ ไปพรอ้ มกนั

8 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จบั มอื มลู นธิ ริ ากแกว้ รว่ มขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงึ พลงั คนรนุ่ ใหม่ จกั รกฤษ เลศิ ลบั
สรา้ งกจิ กรรมพฒั นาทอ้ งถน่ิ สบื สานแนวพระราชด�ำ รใิ นหลวง ร.๙ เลง็ ตอ่ ยอดโครงการพฒั นา
แกป้ ญั หาชมุ ชนยง่ั ยนื วรวฒั น์ รอดพบิ ตั ิ
ธติ ิ ธนโสภณพทิ กั ษ์
อ.จริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นานกั ศกึ ษาและคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ กนั ยายน ทผ่ี า่ นมา ตนพรอ้ มดว้ ยตวั แทน นฐั นนท์ พรหมอนิ ทร์
นักศึกษา มรภ.สงขลา เข้าร่วมงานมหกรรมพลังนิสิตนักศึกษาขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จดั โดยมูลนิธิรากแก้ว ในเครือมูลนิธิปิดทองหลังพระ ในการสืบสานแนวพระราชดำ�ริพระบาทสมเด็จ 9ปาริฉตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
พระ ปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี ๙ ทรงพระราชทานใหแ้ กป่ ระชาชนชาวไทย โดยน�ำ ศาสตร์
พระราชาผสานกบั ความรทู้ างทฤษฎแี ละภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ไปประยกุ ตใ์ ชด้ �ำ เนนิ โครงการพฒั นา เพอ่ื ให้
เกดิ การตอ่ ยอดและสรา้ งประโยชนแ์ กช่ มุ ชน โดยเฉพาะนกั ศกึ ษาซง่ึ เปน็ คนรนุ่ ใหมท่ จ่ี ะชว่ ยขบั เคลอ่ื นงาน
ในสว่ นนไ้ี ด้ ทง้ั ยงั สนองนโยบายรฐั บาลตามแผนยทุ ธศาสตรบ์ รู ณาการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐) ส�ำ หรบั เปน็ แนวทางในการด�ำ รงชวี ติ ของประชาชนทกุ ระดบั
โดยสถาบนั การศกึ ษาเปน็ กลไกส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ ใหน้ �ำ ความรแู้ ละพลงั นกั ศกึ ษามารว่ มแกไ้ ขปญั หาตาม
ความต้องการอย่างแท้จริง ผ่านกระบวนการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ร่วมกันขับเคล่อื นท้ังในด้าน
องคค์ วามรู้ การพฒั นาพน้ื ทใ่ี นชมุ ชน โดยจะผลกั ดนั ใหน้ กั ศกึ ษาเรม่ิ ขบั เคลอ่ื นในพน้ื ทช่ี มุ ชนรอบมหาวทิ ยาลยั
กอ่ นเปน็ อบั ดบั แรก ซง่ึ ตรงกบั ปรชั ญาของ มรภ.สงขลา ทว่ี า่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ

ดา้ น นายจกั รกฤษ เลศิ ลบั นกั ศกึ ษาปี ๓ โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์
และสงั คมศาสตร์ กลา่ ววา่ จากการเขา้ รว่ มงานดงั กลา่ วท�ำ ใหต้ นเหน็ ถงึ พลงั ของนกั ศกึ ษา ทต่ี อ้ งการสบื สาน
แนวพระราชด�ำ ริ และสนบั สนนุ การเรยี นรู้ เสรมิ สรา้ งทกั ษะใหเ้ ยาวชนมคี วามเปน็ ผนู้ �ำ ทม่ี จี ติ อาสา เปน็
เยาวชนทม่ี คี ณุ ภาพ เขา้ ใจปญั หาของสงั คม และสามารถท�ำ งานรว่ มกบั ทกุ ฝา่ ย เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนและประเทศ
อยา่ งยง่ั ยนื แม้ มรภ.สงขลา จะเปน็ เครอื ขา่ ยเลก็ ๆ แตก่ ม็ สี ว่ นส�ำ คญั ในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ขอบคณุ กองพฒั นา
นกั ศกึ ษาทใ่ี หโ้ อกาสตนไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั มลู นธิ ริ ากแกว้ ท�ำ ใหไ้ ดร้ บั ฟงั การด�ำ เนนิ งานในระยะแรกทเ่ี กดิ
ผลส�ำ เรจ็ แลว้ โดยเฉพาะจากเพอ่ื นนกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมและมาบอกเลา่ ประสบการณ์ พรอ้ มตง้ั ค�ำ ถาม
ชวนคดิ วา่ ๔ ปขี องมหาวทิ ยาลยั คณุ ไดอ้ ะไรมากกวา่ ใบปรญิ ญา ท�ำ ใหต้ นและเพอ่ื นๆ ไดแ้ นวคดิ ถงึ กจิ กรรม
ทจ่ี ะท�ำ ในมหาวทิ ยาลยั ตอ่ หลงั จากน้ี

นายวรวฒั น์ รอดพบิ ตั ิ นกั ศกึ ษาปี ๔ โปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป คณะครศุ าสตร์ กลา่ ว
บา้ งวา่ ในหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงมพี ระราชด�ำ รสั ตอนหนง่ึ วา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เสมอื นรากฐานของชวี ติ
รากฐานความมน่ั คงของแผน่ ดิน เปรยี บเสมอื นเสาเขม็ ท่ถี ูกตอกรองรับบ้านเรอื นตวั อาคารไว้น่นั เอง สง่ิ
กอ่ สรา้ งจะมน่ั คงไดก้ อ็ ยทู่ เ่ี สาเขม็ แตค่ นสว่ นมากมองไมเ่ หน็ เสาเขม็ และลมื เสาเขม็ เสยี ดว้ ยซ�ำ้ ไป” ดงั นน้ั เมอ่ื
ตนไดเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการด�ำ เนนิ รอยตามพระองคท์ า่ น จงึ รสู้ กึ ดใี จและภมู ใิ จมาก ซง่ึ ในการด�ำ เนนิ งานนน้ั
มหาวทิ ยาลยั ถอื เปน็ ตวั หลกั ในการพฒั นาพน้ื ท่ี ดว้ ยการน�ำ ศาสตรม์ าผนวกกบั ศลิ ป์ คดิ วางแผนพฒั นาดว้ ย
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื แกไ้ ขปญั หาชมุ ชนและช่วยใหป้ ระชาชนสามารถอยไู่ ด้อย่างย่งั ยืน โดยใช้
กระบวนการท�ำ งาน 4 ขน้ั ตอน คอื เตรยี มการ วางแผน ปฏบิ ตั งิ าน และ ตดิ ตามผล ภายใตค้ อนเซป็ ตร์ ะเบดิ
จากขา้ งใน มขี อบเขตพน้ื ทช่ี ดั เจน พฒั นาทกุ มติ ิ ซง่ึ จากการดงู านครง้ั นม้ี หี ลายมหาวทิ ยาลยั ทด่ี �ำ เนนิ โครงการ
ดงั กลา่ ว เลา่ วา่ เขาไปอยอู่ าศยั กบั ชาวบา้ นในการศกึ ษาขอ้ มลู โดยเรยี นรรู้ ว่ มกบั ชมุ ชน เพราะชมุ ชนเปรยี บ
เสมอื นครคู นหนง่ึ ทส่ี อนเขาในหลายๆ อยา่ ง ท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจปญั หามากขน้ึ และลกุ ขน้ึ สกู้ บั ปญั หาเพอ่ื ใหช้ าวบา้ น
มชี วี ติ ความเปน็ อยทู่ ข่ี น้ึ โดยยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ตวั ขบั เคลอ่ื น

ขณะท่ี นายธติ ิ ธนโสภณพทิ กั ษ์ นกั ศกึ ษาปี ๒ โปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร
อาหาร คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร กลา่ วเพม่ิ เตมิ วา่ จดุ ประสงคข์ องงานในครง้ั นค้ี อื สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ และสนบั สนนุ การเรยี นรู้ เสรมิ สรา้ งทกั ษะใหเ้ ยาวชนมคี วามเปน็ ผนู้ �ำ ทม่ี จี ติ ใจอาสา
พร้อมท้ังนำ�เสนอผลการดำ�เนินงานของ ๔ สถาบันการศึกษาท่ีนำ�ร่องโครงการไปก่อนหน้าน้ี ได้แก่
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ซง่ึ
ท�ำ งานรว่ มกบั ชาวบา้ น ไปนอน ไปกนิ และชว่ ยพฒั นาชมุ ชนใหม้ สี ภาพความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ ทง้ั ยงั น�ำ หลกั
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปถา่ ยทอดใหก้ บั ชาวบา้ น ท�ำ ใหพ้ วกตนทไ่ี ดเ้ ขา้ รว่ มประชมุ เหน็ ตรงกนั วา่ ในสว่ น
ของนกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา สมควรมกี จิ กรรมเพอ่ื สานตอ่ พระราชปณธิ านของพระองคท์ า่ น โดยด�ำ เนนิ การ
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทและสภาพปญั หาของทอ้ งถน่ิ

ปดิ ทา้ ยดว้ ย นายนฐั นนท์ พรหมอนิ ทร์ นกั ศกึ ษาปี ๓ โปรแกรมวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ คณะ
วทิ ยาการจัดการ กลา่ วว่า การเขา้ ร่วมงานนีท้ �ำ ใหต้ นได้รับแนวคดิ พ้ืนฐานในการดำ�เนินโครงการ โดย
บรู ณาการการพฒั นาตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบไปดว้ ย หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การ
พฒั นาเชงิ พน้ื ทต่ี ามแนวพระราชด�ำ ริ การพฒั นาตามล�ำ ดบั ขน้ั ตอน บรู ณาการจากหนว่ ยงานอน่ื ๆ การจดั การ
ความรเู้ ละพฒั นาคน ซง่ึ ตอ้ งขอขอบคณุ มลู นธิ ริ ากแกว้ ทจ่ี ดั งานนข้ี น้ึ มา ตนจะนำ�ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปเผยแพรใ่ น
มหาวทิ ยาลยั อาจจดั ขน้ึ ในรปู แบบของการอบรมใหค้ วามรแู้ กน่ กั ศกึ ษา เกย่ี วกบั การพฒั นาตนเอง โดยน�ำ
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ และน�ำ นกั ศกึ ษาลงพน้ื ทส่ี �ำ รวจพน้ื ทท่ี เ่ี ปน็ ปญั หา เกบ็ ขอ้ มลู
น�ำ มาวเิ คราะห์ เพอ่ื ด�ำ เนนิ การแกป้ ญั หาตอ่ ไป

หทยั ชนาถ เจริญวรรณ

“ความรใู้ นวชิ าการ เปน็ สง่ิ หนงึ่ ทจ่ี ะท�ำ ใหส้ ามารถฟนั ฝา่ อปุ สรรค ดังน้ัน ในการอบรมฯ คณะผู้จัดงานจึงพยายามให้คนในชุมชนได้
ได้ และท�ำ ใหเ้ ป็นคนที่มีเกยี รติ เป็นคนทีส่ ามารถ เปน็ คนทมี่ คี วามพอใจ ประโยชนม์ ากทสี่ ดุ ทงั้ ในแงค่ วามรจู้ ากการบรรยายของมอื อาชพี ดา้ นการเขยี นสอ่ื
ได้ในตวั วา่ ทำ�ประโยชนแ์ ก่ตนเองและแก่ส่วนรวม นอกจากวิชาความรู้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ อ.กีรกิต จิตสมบูรณ์ และฝึกเขียนงานโฆษณาสินค้า
กจ็ ะต้องฝกึ ฝนในส่งิ ที่ตัวตอ้ งปฏบิ ัตใิ หส้ อดคล้องกบั สังคม สอดคล้องกับ ตนเองด้วย นอกจากนั้น ยังเปิดโอกาสให้ชาวเกาะยอฝึกจัดรายการวิทยุกับ
สมยั และสอดคลอ้ งกบั ศลี ธรรมทด่ี งี าม ถา้ ไดท้ ง้ั วชิ าการ ทงั้ ความรรู้ อบตวั อ.ปยิ กุล บญุ ญาศรรี ัตน์ นักจดั รายการวทิ ยุมอื อาชีพของมหาวิทยาลยั ซึง่
และความรูใ้ นชีวิต ก็จะท�ำ ให้เป็นคนท่ีครบคน ทจ่ี ะภูมใิ จได”้ หลังการอบรมเสร็จสิ้นมีการคัดเลือกผู้เข้าร่วมอบรมจากแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์
มาประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผ่านรายการช่อเสลา ทางสถานีวิทยุเพ่ือ
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ที่ทรง การศกึ ษา มรภ.สงขลา 105.75 MHz.
พระราชทานไวแ้ กค่ นไทย เปน็ สงิ่ ควรคา่ แกก่ ารยดึ มนั่ ส�ำ หรบั บคุ คลทท่ี �ำ งานในวง
วิชาการ และเป็นแรงผลักให้โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ นอกจากบริการวิชาการแล้ว ส่ิงสำ�คัญอีกอย่างคือการทำ�วิจัยร่วมด้วย
สงั คมศาสตร์ (มรภ.สงขลา) ลงพน้ื ทชี่ มุ ชนเกาะยอ เพอื่ ชว่ ยเหลอื กระตนุ้ เศรษฐกจิ ดงั นนั้ ตนจะกลบั ไปท�ำ วจิ ยั สนบั สนนุ การทอ่ งเทย่ี วและพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน โดย
ใหช้ าวบา้ น ดว้ ยการนำ�ศาสตรภ์ าษาไทยไปสรา้ งองคค์ วามรู้ เพอื่ การพฒั นาทกั ษะ ขณะนที้ างโปรแกรมฯ ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การท�ำ วจิ ยั จ�ำ นวน 2 เรอ่ื งคอื การศกึ ษา
ด้านการประชาสัมพันธ์ ให้ตอบโจทย์ความต้องการของชาวบ้าน ในขณะที่ทาง สารสนเทศชุมชนเพื่อพัฒนากิจกรรมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ชุมชน
โปรแกรมฯไดแ้ สดงศกั ยภาพความรทู้ ตี่ นมไี ปชว่ ยเหลอื ชมุ ชนตามนโยบายของทาง เกาะยอ จ.สงขลา โดยมี ดร.มจุ ลนิ ทร์ ผลกลา้ เปน็ หวั หนา้ โครงการ และ การ
มหาวทิ ยาลัย ศกึ ษาแนวทางการพฒั นากจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วตลาดวฒั นธรรมวถิ ชี มุ ชนในพน้ื ท่ี
อ.ละงู จ.สตลู ท่มี ี อ.ณทรัตน์จุฑา ไชยสวสั ด์ิ เป็นหัวหนา้ โครงการ ซึง่ โครงการ
ดว้ ยเหตุวา่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา เปน็ สถาบนั อุดมศกึ ษาเพ่อื การ วจิ ยั ทง้ั 2 เรอ่ื งถอื เปน็ มติ ใิ หมข่ องคณาจารยโ์ ปรแกรมวชิ าภาษาไทยทจี่ ะไดข้ ยาย
พฒั นาทอ้ งถน่ิ ดงั นนั้ งานบรกิ ารวชิ าการชมุ ชนจงึ เปน็ ภารกจิ หลกั ทสี่ �ำ คญั แมก้ าร พนื้ ท่ีบรกิ ารวชิ าการและการวิจัยไปพร้อมๆ กัน
ลงพื้นท่ีเกาะยอในครั้งน้ีในตอนแรกอาจเป็นเพียงการสนองนโยบายของทาง
มหาวิทยาลัย แต่เมื่อได้สัมผัสคลุกคลีกับชาวบ้านในพ้ืนที่ ส่ิงท่ีได้รับกลับคืนมา ดา้ น อ.สรอ้ ยสดุ า ไชยเหลก็ อาจารย์โปรแกรมวชิ าภาษาไทย อกี คนหนึ่ง
กลับยิ่งใหญ่ ท้ังความรู้ มิตรภาพ ความจริงใจ เรียกว่ามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซ่งึ รว่ มลงพนื้ ทีใ่ นคร้ังนดี้ ว้ ย กลา่ ววา่ ชุมชนเกาะยอมคี วามอุดมสมบูรณ์ทงั้ ในแง่
ซ่ึงกันและกัน เกื้อกูลกันระหว่างความรู้ในเชิงวิชาการ กับภูมิปัญญาชาวบ้าน ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยไดร้ ว่ มกนั จดั ตงั้ กลมุ่ วสิ าหกจิ
เรามใี นสงิ่ ทีเ่ ขายงั ไม่มี และเขามีในสิ่งท่ีเราไมเ่ คยมี ชุมชนขึ้นมาหลายกลุ่ม นำ�สิ่งที่มีอยู่มาแปรรูปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีช่ือเสียง
โด่งดัง ด้วยชาวบ้านท่ีน่ันมีความเป็นปราชญ์ทางภูมิปัญญาอยู่แล้ว พวกเขามี
ดร.มจุ ลินทร์ ผลกลา้ อาจารย์ประจ�ำ โปรแกรมวิชาภาษาไทย เลา่ ถงึ ผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ของตนเอง เชน่ เดยี วกบั ที่ทางโปรแกรมฯ มอี าจารย์ท่ีมคี วามรแู้ ละ
โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “การพดู เพอื่ โฆษณาและประชาสมั พนั ธ”์ ซง่ึ เปน็ การ เชี่ยวชาญในศาสตร์ของการพูด การเขียนเพื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ซ่ึงตรง
การลงพื้นท่ีบริการวิชาการให้แก่ชาวชุมชนเกาะยอ อ.เมือง จ.สงขลา โดยก่อน กบั ความตอ้ งการของชาวบา้ นทต่ี อ้ งการใหส้ นิ คา้ ของตวั เองขายดเี ปน็ ทร่ี จู้ กั มากขนึ้
หน้าน้ีคณาจารย์ในโปรแกรมฯ ลงพนื้ ทเ่ี กาะยอรวม ๕ ครัง้ เพอื่ สำ�รวจพน้ื ที่และ
สอบถามความต้องการของชุมชน สำ�หรับนำ�มาเป็นข้อมูลในการบริการวิชาการ มรภ.สงขลา จะขอใชค้ วามรทู้ างวชิ าการสรา้ งสรรคป์ ระโยชนใ์ ห้
ท่ีตรงกบั ความต้องการของชาวเกาะยอให้มากทส่ี ดุ ซ่ึงวถิ ชี วี ติ ของคนท่ีน่ีสว่ นใหญ่ แก่ส่วนรวม มีส่วนรว่ มกับสงั คมและชมุ ชน เป็นก้าวเลก็ ๆ ของปณธิ าน
ประกอบอาชีพค้าขาย จากทรัพยากรบวกกับภูมิปัญญาท่ีมีอยู่เดิม ส่ิงที่พวกเขา “เดนิ ตามรอยเทา้ พ่อ” สบื ตอ่ ไป
ตอ้ งการคืออยากใหส้ ินคา้ ขายดแี ละมนี ักทอ่ งเทยี่ วมาเยือนมากย่งิ ขึ้น

10 ปาริฉตั ร วารสารเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

คณะมนษุ ยศาสตรฯ์ ท�ำ ดเี พอ่ื พอ่ รว่ มสรา้ งบา้ นปลาเปน็ เลข ๙

คณะมนุษยศาสตรฯ์ มรภ.สงขลา น�ำ นกั ศกึ ษาผนกึ หน่วยงาน โครงการ กลา่ ววา่ ส�ำ หรบั การท�ำ กจิ กรรมท�ำ ความดเี พอื่ พอ่ เมอ่ื วนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม
พนั ธมติ ร รว่ มท�ำ ดเี พอื่ พอ่ สรา้ งบา้ นปลาในทะเลสาบสงขลา หวงั สรา้ ง ที่ผ่านมา ถือเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์และสร้างจิตสำ�นึกของคนในสังคม
จิตอาสาหวงแหนธรรมชาติ อนรุ ักษ์สตั ว์น้ำ�คทู่ ะเลไทย ในเร่ืองการพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันได้เป็นอย่างดี เพราะการปล่อยสัตว์น้ำ�
การสร้างบ้านให้ปลา ถือเป็นการสร้างจิตสำ�นึกที่ดีต่อทะเล หากเราจับปลา
ผศ.นาถนเรศ อาคาสุวรรณ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และ ทำ�ลายธรรมชาติ สกั วนั หนึ่งทรพั ยากรเหลา่ นีก้ ต็ ้องหมดไป
สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยว่า ทางคณะฯ
รว่ มกับบรษิ ทั ปตท.สผ. คณะเศรษฐศาสตรแ์ ละบรหิ ารธุรกิจ ม.ทกั ษิณ สงขลา ประการสำ�คัญ กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมจิตอาสาเพื่อถวายเป็น
และกลมุ่ อนรุ กั ษช์ ายฝงั่ และฟารม์ ทะเลชมุ ชนบา้ นใหม่ จดั โครงการ “ท�ำ ดเี พอ่ื พอ่ ” พระราชกศุ ลแดร่ ัชกาลที่ ๙ นอกจากการเพ่มิ ประสิทธภิ าพของการศึกษาเพอ่ื
ด้วยการสร้างบ้านปลาเป็นสัญลักษ์เลข ๙ ไทย ในทะเลสาบสงขลา-พัทลุง นำ�สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ เป็นคนเก่งแล้ว ยังสร้างความเป็นคนดี
ณ บรเิ วณกลมุ่ อนรุ กั ษช์ ายฝง่ั และฟารม์ ทะเลฯ ต.สทงิ หมอ้ อ.สงิ หนคร จ.สงขลา เป็นท่ีพ่งึ ของคนในสังคมได้ โดยการสรา้ งจิตอาสาภายใต้จติ ส�ำ นึกของความ
เป็นคนไทยท่ีต้องเป็นอนาคตของชาติ เพ่ือน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ด้าน น.ส.ศริ วิ รรณ ชมุ นริ ตั น์ นกั ศึกษาช้นั ปที ี่ ๒ โปรแกรมวิชา รัชกาลที่ ๙
ภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา หนง่ึ ในผเู้ ขา้ รว่ ม

“ผศ.นติ ยา ธญั ญพาณิชย์” อดตี รองอธกิ ารฯ มรภ.สงขลา

รบั โล่ผูม้ ีจติ สาธารณะอุทิศตนเพือ่ งานกิจการนกั ศึกษา

เม่ือวนั ที่ ๖ กนั ยายน ทผ่ี า่ นมา ผศ.นิตยา ธญั ญพาณชิ ย์ ท่เี ชอ่ื ถือได้ ซ่งึ ทผ่ี า่ นมา ผศ.นิตยา ธญั ญพาณชิ ย์ ไดอ้ ุทศิ ตนเพ่ืองาน
อดีตรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ กิจการนิสิตนักศึกษาและงานสมาคมหรือมูลนิธิอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ
สงขลา (มรภ.สงขลา) อาจารยป์ ระจ�ำ โปรแกรมวชิ าหลกั สตู รและ เวลายาวนาน โดยเฉพาะการร่วมขับเคล่ือนหลักสูตรบ่มเพาะคนดี
การจัดการเรยี นรู้ คณะครุศาสตร์ เขา้ รบั มอบโลเ่ กยี รติยศ พรอ้ ม ตามปณิธานพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
เกยี รตบิ ตั ร ผมู้ จี ติ สาธารณะอทุ ศิ ตนเพอื่ งานกจิ การนกั ศกึ ษาและ ตงั้ แต่เร่มิ แรกจนถึงปจั จบุ ัน
งานสมาคมหรอื มลู นธิ ิ จดั โดยสมาคมครศุ าสตรส์ มั พนั ธ์ ซง่ึ รางวลั
ดังกล่าวกำ�หนดเกณฑ์ในการคัดเลือกไว้ว่า ต้องเป็นคณาจารย์ท่ี 11ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
ปฏิบัติงานด้านกิจการนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษามาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 3 ปี และอุทิศตนในงานด้านกิจการนักศึกษา จนมี
ผลงานเปน็ ทีย่ อมรบั

นอกจากน้ัน จะต้องเป็นผู้ท่ีมีจิตสาธารณะอุทิศตนเพื่องาน
สมาคมหรอื มลู นธิ ิ โดยเปน็ กรรมการปฏบิ ตั งิ านในสมาคมหรอื มลู นธิ ทิ มี่ ี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การศกึ ษามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปี มผี ลงานเปน็ ทยี่ อมรบั
หรอื ไดร้ บั รางวลั หรอื การประกาศเกยี รตคิ ณุ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ จากสถาบนั

มรภ.สงขลา เจา้ ภาพจดั ประชมุ อธกิ ารบดฯี ทว่ั ประเทศ ของ มรภ.สงขลา เมอ่ื ไมน่ านมานี้ ไดก้ ลา่ วไวว้ า่
ผนกึ ก�ำ ลงั 38 ราชภฏั ขบั เคลอ่ื นงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาทอ้ งถนิ่ “พวกเราโชคดีเหลือเกินท่ีมีในหลวงมาเปิดฟ้าให้ ท่ีผ่านมา
สนองพระบรมราโชบายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 เรามักได้ยินคำ�ปรามาสเกี่ยวกับความเป็นราชภัฏ ซ่ึงบางเรื่องไม่ใช่
ควบคู่เป็นตน้ ทางผลิตครคู ณุ ภาพ แต่บางเรื่องก็ต้องยอมรับ ประกอบกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา โลกเปล่ียน การศกึ ษากลายเปน็ ธรุ กิจอยา่ งหนึ่งที่ต้องมีการแยง่ ลกู ค้า
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงการเป็นเจ้าภาพจัดประชุมอธิการบดี ในหลวงรชั กาลที่ 10 จงึ พระราชทานแนวทางในการท�ำ งานของราชภฏั
มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ครั้งท่ี 6 ประจำ�ปี 2560 ณ ห้อง ด้วยการยกระดับ ซึ่งหมายถึงการพัฒนาตัวเอง ส่ิงท่ีพระองค์ท่าน
ประชมุ ช้ัน 7 สำ�นักงานอธิการบดี มรภ.สงขลา เมือ่ วันที่ 8 ตลุ าคม แนะนำ�ผ่านมายงั ผมคือการท�ำ งานให้เขา้ เปา้ ต้องวิเคราะห์ รบั ทราบ
ที่ผา่ นมาว่า นับเป็นครัง้ แรกที่ มรภ.สงขลา รับเป็นเจ้าภาพในการจัด ปญั หา และทราบความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ สงิ่ ทอี่ ยากเหน็ คอื งานวจิ ยั
ประชุมอธิการฯ เน่ืองจากตนต้องการเปิดเวทีให้บุคลากรได้เห็น ราชภัฏกับการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นหน้าท่ีหลักของราชภัฏ
กระบวนการในการจัดงานลักษณะน้ี และเกิดการเรียนรู้เพื่อนำ�มา สว่ นเร่ืองวฒั นธรรมท�ำ ไดด้ อี ยู่แล้ว แตม่ นั ยังไมพ่ อ ชาวบา้ นจะรูจ้ กั เรา
พัฒนาตนเองและองค์กร ตามนโยบายและตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ได้ด้วยการเข้าไปหาเขา อยากฝากให้ส่ือสารไปยังประชาชนในพ้ืนที่
โดยนำ�ประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับไปทำ�แผนปรับปรุงงานของ ของท่านวา่ การพฒั นาท้องถ่ินคอื พันธกจิ ของราชภฏั แต่เหนือสง่ิ อนื่
ตนเองอย่างต่อเน่ือง เพื่อภาพลักษณ์และผลงานท่ีดียิ่งข้ึนขององค์กร ใดท่ีทำ�ให้ตนลงมาในคร้ังนี้คือ ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ทรงห่วงใย
ขณะเดียวกัน ถือเป็นโอกาสอันดียิ่งท่ีอธิการบดีจากมหาวิทยาลัย ประชาชนไม่แพ้กษัตริย์พระองค์ใด ทรงมีความผูกพันกับคนราชภัฏ
ราชภัฏท่ัวประเทศ ได้มาเยือน มรภ.สงขลา เพ่ือสัมผัสกับวิถีชีวิต มานาน พระองคจ์ งึ จริงจังถึงขนาดส่งองคมนตรีมาดแู ลอย่างใกล้ชิด”
ความเป็นอยู่ อาหารการกิน ทสี่ ำ�คญั มหาวิทยาลัยมโี อกาสได้แสดง อธิการบดี มรภ.สงขลา กล่าวว่า ท่ีประชุมอธิการบดีฯ
ศกั ยภาพ โดยเฉพาะดา้ นดนตรี ศลิ ปวฒั นธรรม ทมี่ คี วามโดดเดน่ และ ไดห้ ารือกนั ถึงประเดน็ การขบั เคลอื่ นงานยทุ ธศาสตร์ของทอ้ งถิ่น โดย
สร้างชื่อเสยี งระดบั ประเทศ อาจมกี ารท�ำ ปฏิญญาร่วมกนั ระหว่างมหาวิทยาลยั ราชภฏั ทง้ั 38 แหง่
ผศ.ดร.นิวัต กล่าวว่า การประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัย นอกจากน้นั ยงั มกี ารหารอื ในประเดน็ การผลติ ครู ซงึ่ เป็นอกี เรอ่ื งหน่งึ
ราชภฏั ทวั่ ประเทศในคร้ังน้ี มหี ลายประเดน็ ที่นา่ สนใจ อาทิ การเลือก ท่ี พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ให้ความสำ�คัญ
ประธานทปี่ ระชมุ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั (ทปอ.) แทน รศ.ดร. โดยได้กล่าวไวเ้ มื่อครง้ั มาเยือน มรภ.สงขลา ว่า สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั
สมบัติ คชสิทธ์ิ ท่ีหมดวาระในวันท่ี 18 ตุลาคม 2560 โดย รัชกาลท่ี 10 รับสั่งให้ไปดูการพัฒนาครูให้มีคุณภาพ ซ่ึงราชภัฏคือ
ท่ีประชมุ ไดม้ ีมตเิ ลอื ก ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หลา้ อธิการบดี มรภ. ตน้ ทางในการผลติ ครู ค�ำ วา่ คณุ ภาพจะวดั ทจี่ �ำ นวนสอบบรรจอุ ยา่ งเดยี ว
อุตรดิตถ์ เป็นประธาน ทปอ. คนใหม่ ในการร่วมกันขับเคลื่อนการ คงไมไ่ ด้ เพราะตวั ชว้ี ดั ทสี่ �ำ คญั คือ การเรยี นรู้ของผ้เู รียน ซ่ึงครูใหม่ๆ
ดำ�เนินงานพัฒนาท้องถ่ินตามพระบรมราโชบายของสมเด็จ อาจยงั ท�ำ ไดไ้ มด่ นี กั จงึ อยากใหท้ างคณะครศุ าสตรช์ ว่ ยดทู ตี่ วั หลกั สตู ร
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ซ่ึงเม่ือครั้งที่พลเอกดาว์พงษ์ ว่าได้ให้ความรู้แก่นักศึกษามากพอหรือยัง รวมถึงเทคนิคการสอน
รตั นสวุ รรณ องคมนตรแี ละคณะ เดินทางมาตดิ ตามการด�ำ เนินงาน ต่างๆ ด้วย

12 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ร.ร.สาธติ มรภ.สงขลา

รับตราพระราชทานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย

ร.ร.สาธิต มรภ.สงขลา เข้ารับ 2555 ดำ�เนินกิจกรรมอบรมพัฒนาครูปฐมวัยให้มีความรู้ทางด้านการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ตราพระราชทานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย สำ�หรับเด็กปฐมวัย ในรูปแบบโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยฯ ตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพ
ประเทศไทย ผดุ โครงงาน ผลไม้ดดู สี-นำ้� รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมลู นธิ สิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา อย่างต่อเน่อื ง และผ่านการ
เพอื่ ชวี ติ ชว่ ยนอ้ งอนบุ าลสนกุ กบั การเรยี นรู้ ประเมินได้รับตราพระราชทานครั้งท่ี 1 เมื่อปี พ.ศ.2556 ภายใต้การให้คำ�ปรึกษาจาก อ.ชนกพร
มีเจตคติท่ีดีต่อวิทย์ ควบคู่พัฒนาครูให้ ประทมุ ทอง อาจารยป์ ระจ�ำ โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา ในฐานะผดู้ แู ล
เช่ียวชาญด้านจัดกิจกรรมสำ�หรับเด็ก สมาชกิ โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อยฯ
ปฐมวยั สนองพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทั้งนี้ อ.ชนกพร เป็นผู้ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
การทดลองเรอื่ ง น�้ำ อากาศ และ การจดั ท�ำ โครงงานทางวทิ ยาศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ซง่ึ โรงเรยี นสาธติ ฯ
ดร.พิพัฒน์ ลิมปนะพิทยาธร ไดจ้ ัดท�ำ โครงงาน “ผลไมด้ ดู ส”ี และโครงงาน “น�ำ้ เพือ่ ชีวติ ” ของนักเรียนชนั้ อนุบาล 3 ภายใต้การดแู ล
รองอธิการบดี รักษาราชการผู้อำ�นวยการ ของคุณครูนัยนา สายสะโร คุณครูร่มหล่ะ บินอะหลี และคณะครูผู้สอนระดับชั้นอนุบาล 1-3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ทกุ คน ในการรว่ มกนั ด�ำ เนนิ โครงการในปกี ารศกึ ษา 2559 ทผ่ี า่ นมา กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ากโครงการ
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมือ่ เรว็ ๆ น้ี โรงเรยี น บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ช่วยสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนรู้
สาธิตฯ ระดับปฐมวัย เข้ารับตราพระราชทาน และ ส่งเสริมทักษะการคิดผา่ นกิจกรรมการทดลองวทิ ยาศาสตร์ทเ่ี ปน็ เรือ่ งใกล้ตัว และสามารถนำ�ไป
“บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” ปรับใชใ้ นชีวติ ประจำ�วนั ไดเ้ ป็นอย่างดี
สำ�หรับโรงเรียนที่ผ่านการประเมินรอบท่ี 2
โดยมี อ.รัศมิ์ดาว สุขมาตย์ เป็นตัวแทน
เข้ารว่ มพธิ ีรบั ตรา ณ อมิ แพค อารีน่า เมอื งทอง
ธานี ซึ่งโรงเรียนสาธติ ฯ เข้าร่วมโครงการบา้ น
นกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย เมอ่ื ปี พ.ศ.

ร.ร.สาธติ มรภ.สงขลา คว้ารางวัลส่งเสริมสขุ ภาพระดบั เพชร

โชว์ผลงาน “นํา้ ยาอเนกประสงค์ สตู รน้าํ หมกั ชีวภาพ” จากขยะ

ร.ร.สาธิต มรภ.สงขลา รับรางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดดเดน่ ทงั้ ดา้ นสุขภาพและสง่ิ แวดล้อม และเป็นปจั จยั หลกั ทที่ �ำ ใหไ้ ด้รบั รางวลั
ระดับเพชร โชว์ผลงานเด่น นำ้�ยาอเนกประสงค์ สูตรนำ้�หมักชีวภาพ ในคร้ังนี้ โดยเหตุผลที่ทางโรงเรียนเลือกทำ�น้ำ�ยาอเนกประสงค์ฯ เนื่องจาก
เปลี่ยนเศษผักผลไม้เป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือส่ิงแวดล้อม เตรียมขยายผล ที่ผ่านมานักเรียนบางส่วนมีอาการแพ้ ระคายเคืองจากการใช้นำ้�ยาตาม
ถ่ายทอดความรใู้ หเ้ ครอื ข่าย ท้องตลาด ประกอบกับโรงเรียนมีเศษผัก เปลือกผลไม้ท่ีต้องท้ิงในแต่ละวัน
เปน็ จ�ำ นวนมาก จงึ เชญิ วทิ ยากรมาใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การท�ำ น�้ำ ยาอเนกประสงคฯ์
ดร.พิพัฒน์ ลิมปนะพิทยาธร รองอธิการบดี รักษาราชการ แล้วให้นักเรียนร่วมกันดำ�เนินการทดลองตามข้ันตอน และนำ�ไปใช้จริงกับ
ผอู้ ำ�นวยการโรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ท้ังโรงเรียน พร้อมท้ังเก็บข้อมูลจากการทำ�แบบสอบถามก่อน-หลังการใช้งาน
เมือ่ เรว็ ๆ น้ี ตนเป็นตัวแทนโรงเรียนสาธติ ฯ เขา้ รบั ประกาศเกยี รติคุณโรงเรยี น ผลปรากฏวา่ นกั เรยี นไมม่ อี าการแพจ้ ากการใชน้ �้ำ ยาอเนกประสงค์ (สตู รน�ำ้ หมกั
สง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชร ปี พ.ศ.2560 ณ โรงแรมเอเชยี แอรพ์ อรท์ จ.ปทมุ ธานี ชีวภาพ) ท้ังยังสามารถผลิตขึ้นใช้เองภายในครัวเรือน ช่วยลดปริมาณขยะได้
โดยมีสถาบันการศกึ ษา 85 แหง่ ทว่ั ประเทศ ผ่านเกณฑ์การคดั เลอื กใหไ้ ด้รบั เปน็ อยา่ งดี
รางวลั ดงั กลา่ ว ซงึ่ ต้องยกความดใี หก้ ับทีมผูบ้ ริหารของโรงเรียนฯ ท่ีมวี ิสยั ทศั น์
ในการน�ำ พาองคก์ รไปส่รู างวัลระดบั เพชร ตลอดจนทมี งานทช่ี ว่ ยกันขับเคลอ่ื น รักษาราชการผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิต มรภ.สงขลา กล่าวอีกว่า
และทลี่ มื ไมไ่ ดค้ อื เดก็ นกั เรยี นทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นรว่ มอยา่ งเขม้ แขง็ รางวลั ทไ่ี ดม้ าถอื ส�ำ หรบั แรงบนั ดาลใจในการพฒั นาสโู่ รงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชร มาจาก
เปน็ ผลตอบแทนจากการท�ำ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งของทกุ ฝา่ ย หลงั จากนจี้ ะตง้ั คณะ ความพรอ้ มของโรงเรยี นทไี่ ดร้ บั การพฒั นาจากโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั ทอง
ท�ำ งานเพอื่ ใหเ้ กดิ ความตอ่ เนอื่ ง ภายใตแ้ นวคดิ ควบคมุ พฒั นา ขยายผล พรอ้ ม ความท้าทายของตัวชี้วัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ท่ีสามารถส่งเสริม
ท้ังน�ำ ส่งิ ท่ที างโรงเรยี นได้เรียนรแู้ ละปฏิบัตจิ นเป็นผลสำ�เรจ็ ไปถา่ ยทอดใหก้ บั การพัฒนาโรงเรียนให้มีความเป็นเลิศในหลายๆ ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ
โรงเรียนเครอื ข่ายในพ้นื ท่ี เพ่ือเป็นต้นแบบในการพฒั นาให้ยง่ั ยนื นกั เรยี น ดา้ นสขุ าภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ มและอาหารในโรงเรยี น เปน็ ตน้ รวมถงึ ความ
ตอ้ งการใหท้ กุ คนในโรงเรยี นมสี ขุ ภาพทด่ี แี ละมคี วามสขุ เพราะสขุ ภาพใจทด่ี ยี อ่ ม
ดร.พิพัฒน์ กล่าวว่า ในส่วนของโรงเรียนสาธิตฯ มีการดำ�เนิน ส่งผลให้การเรยี นและการท�ำ งานดตี ามไปดว้ ย
โครงงานเรอ่ื ง น�้ำ ยาอเนกประสงค์ (สตู รน�ำ้ หมกั ชวี ภาพ) ซงึ่ เปน็ ผลงานทม่ี คี วาม

13ปาริฉตั ร วารสารเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

เมอ่ื วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ทผ่ี า่ นมา พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ลงพน้ื ท่ี จ.สตลู
สง่ มอบเนต็ ประชารฐั ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) วทิ ยาเขตสตลู โดยมี ศ.ดร.จรสั สวุ รรณมาลา
นายกสภาฯ ผศ.ดร.นวิ ัต กลน่ิ งาม อธิการบดี มรภ.สงขลา พร้อมดว้ ยคณะผบู้ รหิ ารจากภาคสว่ นต่างๆ
คณาจารย์ นักเรียน นกั ศึกษา และประชาชนชาว จ.สตลู นบั พนั คนรว่ มใหก้ ารตอ้ นรับ

ในโอกาสน้ี คณะผบู้ รหิ าร มรภ.สงขลา ไดน้ �ำ เสนอแผนด�ำ เนนิ งานวทิ ยาเขตสตลู ตอ่ นายกรฐั มนตรี
ตลอดจนนำ�เยี่ยมชมนิทรรศการอุทยานธรณีสตูล ที่เพิ่งได้รับรางวัลกินรี คร้ังท่ี 11 ประจำ�ปี 2560
Thailand Tourism Awards 2017 รางวัลอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วไทย ประเภทแหลง่ ท่องเที่ยวธรรมชาติ
ถำ้�เล สเตโกดอน (ตามหาหัวใจท่ปี ลายอโุ มงค)์ จัดโดย ททท. ซง่ึ เกิดจากการท�ำ งานรว่ มกนั ทุกภาคส่วน
ไดแ้ ก่ ภาคราชการ ภาคท้องถน่ิ และ ภาคประชาชน

14 ปารฉิ ัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา ศูนยบ์ ่มเพาะธรุ กิจ มรภ.สงขลา จดั อบรม 2 หลักสตู ร ทำ�โรตี-ซาลาเปา
ปั้นผู้ประกอบการรายใหม่ด้านอาหาร ชวนคนในชุมชนเรียนรู้กระบวนการทำ�จาก
ร้านดงั ดงึ งานวจิ ัยทางเกษตร คหกรรม ตอ่ ยอดสรา้ งความเติบโตทางธรุ กิจ

น.ส.อมราวดี วงศ์เทพ ผู้จัดการศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถงึ การอบรมหลกั สูตรธรุ กจิ ผลิตและจำ�หนา่ ยซาลาเปาและหลักสตู รโรตี
เมื่อเร็วๆ นี้ว่า มีท่ีมาจากศูนย์บ่มเพาะธุรกิจมีนโยบายส่งเสริมผลักดัน และสนับสนุนให้เกิด
การน�ำ งานวิจยั ท่คี ณาจารย์ของ มรภ.สงขลา จดั ท�ำ ไว้ออกสเู่ ชิงพาณชิ ย์ เพอื่ เปน็ ช่องทางใหเ้ กิด
การประกอบธรุ กจิ ใหม่ โดยใชค้ วามรใู้ นสถาบนั อดุ มศกึ ษาเปน็ ฐาน การจดั อบรมทงั้ 2 หลกั สตู ร
เป็นการตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน ท่ีต้องการมีอาชีพหรือรายได้เสริมจากการ
จ�ำ หน่ายซาลาเปาไส้ไหลและไส้อ่ืนๆ และผลิตภณั ฑ์โรตีกรอบ โรตีสตู รแป้งนุ่ม โรตมี ะตะบะห์
โรตีสลดั โดยมุ่งสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมหลักสูตรละ 40 คน ไดร้ บั ความร้ทู ัง้ ภาคทฤษฎแี ละภาค
ปฏิบัติ สำ�หรับนำ�ไปพัฒนาผลติ ภัณฑ์ สรา้ งผปู้ ระกอบการรายใหมท่ ่ีสามารถตอ่ ยอดเป็นธุรกจิ
ตามวตั ถุประสงคข์ องศนู ยบ์ ่มเพาะฯ

น.ส.อมราวดี กล่าวว่า การจัดอบรมดังกล่าวได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก
ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) ซ่งึ เพียง 2 วันที่ประชาสัมพนั ธข์ า่ วออกไปมีผู้
ใหค้ วามสนใจสมคั รเขา้ อบรมเปน็ จ�ำ นวนมาก ยอดผสู้ มคั รเกนิ กวา่ เปา้ ทต่ี งั้ ไว้ รวมแลว้ หลกั สตู ร
ละกวา่ 60 คน ซงึ่ ศนู ยบ์ ม่ เพาะธรุ กจิ รบั ไวท้ ง้ั หมด เนอ่ื งจากตอ้ งการใหค้ นในชมุ ชนมอี าชพี และ
รายไดเ้ ลยี้ งครอบครวั โดยใชเ้ งนิ ลงทนุ ไมม่ าก อปุ กรณท์ ใ่ี ชส้ ว่ นใหญห่ าไดจ้ ากครวั นอกจากนน้ั
ยงั มองไปถงึ การพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี วามนา่ สนใจ และสามารถเตบิ โตตอ่ ไปไดใ้ นอนาคต ซง่ึ
นบั เป็นโชคดีท่ี มรภ.สงขลา มผี ู้เชยี่ วชาญด้านอาหารจากคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร กบั คณะ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (คหกรรมศาสตร)์ จงึ สามารถใชอ้ งคค์ วามรแู้ ละงานวจิ ยั ของคณาจารย์
ทง้ั 2 คณะ ในการรว่ มสรา้ งผปู้ ระกอบการไดอ้ ยา่ งดยี ง่ิ

“ท้ัง 2 หลักสูตรมาจากการสำ�รวจความคดิ เห็นของคนในชมุ ชน ถึงสิง่ ทีอ่ ยากใหจ้ ดั
อบรม โดยผู้เข้าอบรมมีโอกาสได้เรียนรู้ทุกขั้นตอนจนสามารถทำ�เองได้ และนำ�ความรู้น้ันไป
ตอ่ ยอดจนถงึ ขนั้ ท�ำ เปน็ ธรุ กจิ อยา่ งหลกั สตู รซาลาเปาทางเราไดเ้ ชญิ เจา้ ของรา้ นซาลาเปาเกยี ดฟง่ั
ร้านดังประจ�ำ จ.สงขลา มาถ่ายทอดเทคนคิ ความอรอ่ ย ส่วนหลกั สูตรโรตีมีเจ้าของรา้ นโรตีบงั
ชรฟี มาสาธติ ขนั้ ตอนการทำ�อยา่ งละเอยี ด แตท่ ศ่ี นู ยบ์ ม่ เพาะฯ ตอ้ งการจะตอ่ ยอดคอื ตวั แปง้ โดย
อาจทำ�เปน็ แปง้ ไขมนั ต�ำ่ และเพมิ่ คุณค่าทางโภชนาการเขา้ ไป เพอื่ เป็นทางเลอื กคนรกั สุขภาพ
ท่ีชอบรบั ประทานโรตรี สชาติไม่หวานจนเกินไปนกั ” ผ้จู ดั การศนู ย์บม่ เพาะธรุ กิจ มรภ.สงขลา
กล่าว

มรภ.สงขลา เปิดบ้านต้อนรับกรมวิทยาศาสตร์บริการ เยี่ยมชมห้อง
ทดสอบผลิตภัณฑ์อาหาร เตรียมบูรณาการความร่วมมือเป็นเครือข่ายเพ่ิม
ศักยภาพผู้ประกอบการวสิ าหกจิ ชมุ ชน

นายพเิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาระบบการบรหิ ารและ
พัฒนาหน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ ๑๐
ตลุ าคม ที่ผ่านมา กรมวิทยาศาสตร์บริการ นำ�โดย นางแน่งน้อย เวทยพงษ์
รองอธิบดีฯ พร้อมคณะ เดินทางมาเย่ียมชมห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ประเภท
อาหารและน�้ำ ของศูนยว์ ิทยาศาสตร์ มรภ.สงขลา ในการนผ้ี ้บู ริหารของทั้งสองหน่วยงาน
ได้หารือในประเด็นการบูรณาการความร่วมมือเป็นเครือข่ายดำ�เนินโครงการส่งเสริม
เทคโนโลยีและเพมิ่ ศกั ยภาพผูป้ ระกอบการวิสาหกิจชมุ ชน ซ่งึ กรมวทิ ยาศาสตรฯ์ ดำ�เนนิ
การมาต้ังแต่ปีงบประมาณ 2556 จนถึงปัจจุบัน วัตถุประสงค์เพื่อนำ�ความรู้ด้าน
วทิ ยาศาสตรจ์ ากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารไปแกไ้ ขปญั หาและพฒั นากระบวนการผลติ สนิ คา้ โอทอป
ใหม้ คี ณุ ภาพและปลอดภยั ตามมาตรฐาน โดยถา่ ยทอดเทคโนโลยใี นการพฒั นาสนิ คา้ ให้
แกผ่ ้ปู ระกอบการทัง้ 5 ประเภท ได้แก่ อาหาร เคร่ืองด่มื ผ้าและเครือ่ งแตง่ กาย ของ
ประดบั ตกแตง่ และของทร่ี ะลกึ และ สมนุ ไพรทไี่ มใ่ ชอ่ าหาร โดยบรู ณาการรว่ มกบั สถาบนั
การศกึ ษาและหนว่ ยงานในพน้ื ท่ี

สำ�หรับห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์อาหาร มรภ.สงขลา เปิดดำ�เนินการ
เม่ือเดือนตุลาคม 2559 มุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพสินค้าเข้าสู่ตลาด
ประชาคมอาเซียน และเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการให้สามารถขยายตลาดจาก
ท้องถิ่นสู่ตลาดสากล เพิ่มโอกาสทางธุรกิจของผู้ผลิตที่จะขายสินค้าได้ท้ังในและนอก
ประเทศ ซึ่งประชาชนในพื้นที่ จ.สงขลา และใกล้เคียง ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรและ
ประมง นำ�ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลค่า แต่ยังไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้
และไม่เปน็ ที่ยอมรบั ของผ้บู รโิ ภค เน่ืองจากการผลติ ไมถ่ กู สุขลกั ษณะ ส่งผลให้ผลติ ภณั ฑ์
ประเภทอาหารเน่าเสียได้ง่ายในระหว่างกระบวนการผลิตและขนส่ง ดังน้ัน ศูนย์
วทิ ยาศาสตร์ มรภ.สงขลา จึงได้จดั ต้ังหอ้ งปฏิบตั ิการทดสอบผลิตภัณฑ์อาหารขึ้นมา เพ่ือ
ชว่ ยทดสอบผลิตภัณฑใ์ หไ้ ด้มาตรฐานตามทอ่ี งคก์ ารอาหารและยากำ�หนด

คณะวิทยาศาสตร์ฯ มรภ.สงขลา ศึกษาดูงาน
ม.เทคโนโลยี มารา ประเทศมาเลเซยี พรอ้ มเจรจาความร่วมมือ
แลกเปลี่ยนอาจารย์-นักศึกษา ร่วมทำ�วิจัย สหกิจ สร้างความ
เขม้ แขง็ ทางวชิ าการ

เมื่อเร็วๆ น้ี คณาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นำ�โดย อ.วาสนา มู่สา ดร.ภวิกา
มหาสวัสดิ์ ดร.ปวีณา ดิกิจ และ น.ส.อาซือนะ บูเก๊ะเจ๊ะลี นำ�
นักศึกษาช้ันปีท่ี 3, 4 และ 5 สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตร
ชีววิทยาประยุกต์ โปรแกรมวิชาชีววิทยาและชีววิทยาประยุกต์ จำ�นวน
16 คน เดินทางไปศึกษาดูงานด้านวิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี มารา กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ( Faculty of
Health Sciences, Universiti Teknologi MARA) ซง่ึ การไปศกึ ษาดงู าน
ครั้งนี้นักศึกษาได้รับประสบการณ์และความรู้จากหน่วยงานใน
มหาวิทยาลัยประเทศเพื่อนบ้าน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้ง
แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ส่งผลให้นักศกึ ษามที ศั นคตทิ ่ดี ใี นการเรียน

นอกจากนน้ั ในการศกึ ษาดงู านดงั กลา่ ว ยงั เกดิ การเจรจาความ
รว่ มมอื (MOU) ในขน้ั ตน้ เกย่ี วกบั การแลกเปลย่ี นอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา
ระหว่างสองประเทศ ทั้งในดา้ นการวจิ ัย สหกจิ ศึกษา และการศกึ ษาใน
หอ้ งเรยี นในสาขาวชิ าเทคโนโลยชี วี ภาพ ซงึ่ ในอนาคตอนั ใกลค้ ณาจารย์
จากประเทศมาเลเซยี จะเดนิ ทางมาแลกเปลย่ี นทางวชิ าการรว่ มกบั คณะ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มรภ.สงขลา

15ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

“อยา่ ตั้งคำ�ถามว่า มหาวิทยาลยั ให้อะไรแกเ่ ราบ้าง แตจ่ งยอ้ นถาม
ตัวเองว่าเราตา่ งหากได้ใหอ้ ะไรบ้างกบั มหาวิทยาลัย”

น.ส.นิภาวรรณ ทองจินดา หรือ “มิวสิค” นักศึกษาชน้ั ปที ่ี ๔ โปรแกรม
วชิ าภาษาองั กฤษ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เจา้ ของ
รางวลั เยาวชนดเี ด่นแหง่ ชาติ สภาสังคมสงเคราะห์ฯ กล่าวถงึ วิธคี ดิ ในแบบของเธอ
และเลา่ ถงึ ทมี่ าในการไดร้ บั รางวลั ในครงั้ นว้ี า่ เรมิ่ แรกไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ ตวั แทน
ของมหาวิทยาลัย เพื่อส่งรายช่ือไปเข้ารับการคัดเลือกต่อในส่วนของ จ.สงขลา ผล
ปรากฏวา่ ผา่ นการสมั ภาษณ์ จงึ ไดเ้ ปน็ ตวั แทนจงั หวดั ในการเขา้ รบั คดั เลอื กจากสภา
สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสุดท้ายผ่านการ
คัดเลอื กเปน็ เยาวชนดเี ดน่ แหง่ ชาติ รวม 24 คนทว่ั ประเทศ สง่ิ ทไ่ี ดร้ บั คอื ทนุ การศกึ ษา
5,000 บาท โล่เกยี รติคณุ เกียรติบตั รส�ำ หรบั ตนและมหาวิทยาลัย พร้อมเขม็ เชิดชู
เกียรติ

นอกเหนือจากรางวัลเยาวชนดเี ดน่ แหง่ ชาติ สภาสังคมสงเคราะหฯ์ ที่เพง่ิ
ได้มาสดๆ รอ้ นๆ แล้ว ทีผ่ า่ นมา นิภาวรรณ ยังได้รบั รางวลั ต่างๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง
ไดแ้ ก่ รางวัลนักศึกษาผู้มคี วามประพฤตดิ ี จากพุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระ
ราชปู ถมั ภ์ เยาวชนดเี ดน่ จากสภาพฒั นาการเมอื ง รางวลั นกั ศกึ ษาผมู้ คี วามประพฤตดิ ี
จากสภาคณบดคี รุศาสตร์/ศกึ ษาศาสตร์แหง่ ประเทศไทย รางวลั นกั ศึกษาผูบ้ ำ�เพ็ญ
ประโยชนใ์ ห้แกค่ ณะครุศาสตร์ รางวัลนกั ศึกษาพระราชทาน ปี 2559 และ นกั ศึกษาทนุ มูลนธิ ิ
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ซ่ึงเธอรู้สึกภาคภูมิใจกับทุกรางวัล และดีใจท่ีได้สร้างเกียรติประวัติให้กับ
ครอบครัวและมหาวทิ ยาลยั ถือเป็นบนั ไดอีกขัน้ หนึง่ ในการกา้ วไปขา้ งหนา้ อยา่ งม่นั คง นอกจากน้นั เธอ
ยังเช่อื ในคณุ งามความดที ัง้ หลายที่ไดท้ ำ� ความดีไมม่ วี ันตาย จะวนั นห้ี รอื วันไหนย่อมสง่ ผลถึงแน่นอน
นภิ าวรรณ กล่าวถงึ เหตุผลที่เลอื กเรยี นครูว่า เพราะมใี จรกั ในความเป็นครมู าตั้งแต่ตน้ อยากใช้
ความสามารถทม่ี ถี า่ ยทอด แบง่ ปนั และพฒั นาชวี ิตผูอ้ นื่ ซ่งึ ถือเป็นการให้ท่ีย่งิ ใหญ่ สำ�หรับเธอแลว้ ชวี ติ
ในรวั้ มหาวทิ ยาลยั เรอ่ื งเรยี นและท�ำ กจิ กรรมมคี วามส�ำ คญั พอๆ กนั แตจ่ ะย�้ำ กบั ตนเองเสมอวา่ หนา้ ทหี่ ลกั
คืออะไร ในเม่อื ท�ำ กจิ กรรมได้เกรดกต็ ้องไม่ตกดว้ ย การทำ�กจิ กรรมระหว่างเรยี นมปี ระโยชน์หลายอย่าง โดยเฉพาะในเรื่องของทกั ษะ
ชวี ติ ประสบการณจ์ ริงท่ไี ด้รบั บวกการฝกึ ฝนจะท�ำ ใหม้ ภี มู ติ ้านทานชีวิต เช่นเดียวกับที่เธอเจอมาเกือบทุกสถานการณ์ จนตอนน้ีมอง
ปัญหาต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ กลายเปน็ เร่อื งธรรมดาไปแล้ว
“อยากฝากถงึ เยาวชนใหห้ นั มองรอบตวั ใหม้ ากขน้ึ ยงั มอี กี หลายอยา่ งทนี่ า่ เรยี นรู้ บางอยา่ งอยใู่ กลต้ วั เราแทๆ้ แตเ่ รากลบั มอง
ขา้ ม เรามักพยายามมองหาสง่ิ ท่ขี าด จนพลาดสงิ่ ทเ่ี รามอี ยู่ ยง่ิ เปน็ เยาวชนรนุ่ ใหมย่ งิ่ ตอ้ งใส่ใจใหม้ าก ไมว่ า่ จะเปน็ เร่ืองของวฒั นธรรม
ประเพณี และทส่ี �ำ คญั ยงิ่ คอื คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เพราะถา้ เราไมท่ ำ�กไ็ มร่ จู้ ะเอาอะไรไปใหเ้ ดก็ รนุ่ หลงั ไดด้ เู ปน็ แบบอยา่ ง” เจา้ ของรางวลั
เยาวชนดเี ดน่ แหง่ ชาติ มรภ.สงขลา กล่าว
16 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

นิเทศศาสตร์ มรภ.สงขลา สุดเจ๋ง ควา้ 9 รางวัลผลิตสื่อ สำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดย
วทิ ยโุ ทรทศั น์ จาก 4 เวทปี ระกวดระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ประเทศ ประเภทภาพยนตรโ์ ฆษณาระดบั อดุ มศกึ ษา มผี สู้ ง่ ผลงานเขา้ ประกวดกวา่
ปัน้ นกั ศกึ ษาปฏิบัติจรงิ ปูทางสู่มืออาชพี ด้านส่ือสารมวลชน 51 ทีม ซง่ึ ทีม 3 หนมุ่ 3 มุม จากนเิ ทศศาสตร์ ราชภฏั สงขลา สามารถ
ควา้ รางวลั รองชนะเลศิ จากเร่ือง “คณุ จะเลือกเปน็ คนแบบไหน?” และ
ผศ.เฉลิมศรี อรรจนกลุ ประธานโปรแกรมวิชานเิ ทศศาสตร์ ทมี Flashlight คว้ารางวัลชมเชย จากเรอ่ื ง “ความเคยชิน” รบั เงินรางวัล
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภสงขลา) เปิดเผย 20,000 บาท พรอ้ มโลเ่ กียรตยิ ศ
ว่า โปรแกรมวิชานเิ ทศศาสตรส์ ง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษาชน้ั ปีท่ี 3 และ ปที ่ี 4
เข้ารว่ มแสดงความสามารถทางวชิ าชพี ในเวทตี า่ งๆ ทัง้ ในระดับประเทศ นอกจากน้ัน นกั ศกึ ษานิเทศศาสตร์ยังสามารถคว้ารางวัลการ
และระดับภูมภิ าคอยา่ งต่อเนื่องมาโดยตลอด เพ่อื เป็นการพัฒนาความรู้ ประกวดระดับภูมิภาคอีก 2 รายการ โดยคว้า 4 รางวัลรวดจากการ
ความสามารถ และทักษะทางวิชาชีพนิเทศศาสตร์จากภาคทฤษฎีสู่การ ประกวดคลิปวิดโี อส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี วเกาะยอ ในโครงการ “ไปรษณีย์
ปฏิบัติจริง และก้าวไปสู่ความเป็นมืออาชีพด้านส่ือสารมวลชนต่อไปใน เพ่มิ สขุ ยกยอ ทอป่ัน เกาะยอ” จดั โดยสำ�นักงานไปรษณยี ์เขต 9 บริษทั
อนาคต โดยลา่ สดุ นกั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ รว่ มประกวดเวทรี ะดบั ประเทศและระดบั ไปรษณยี ไ์ ทย จ�ำ กัด ไดแ้ ก่ รางวลั เกียรติยศ จากเรอ่ื ง “ไปรษณยี ์ สง่ รัก
ภูมิภาค 4 รายการ และคว้ามาได้ถึง 9 รางวัล ประกอบด้วย สง่ ความคดิ ถึง” โดยทมี NSY รางวลั ผลโหวตยอดเยยี่ มจากยอดววิ ยูทูป
รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 ประกวดภาพยนตรส์ น้ั โครงการสอื่ ศลิ ปป์ ี 5 รางวลั 3 รางวลั ไดแ้ ก่ รางวัลชนะเลิศ จากเร่ือง “สุขใจเมือ่ ไปเกาะยอ” โดยทมี
รองชนะเลศิ และชมเชยจากโครงการประกวดสอื่ ปอ้ งกนั การทจุ รติ รางวลั ผู้หญิงหลังกล้อง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่เร่ือง “เที่ยวผ่าน
เกยี รตยิ ศ และรางวลั ผลโหวตยอดเย่ียมจากยอดวิวยทู ูป 3 รางวลั ได้แก่ ไปรษณยี ”์ โดยทีม One Capture รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั 2 จากเรอ่ื ง
รางวลั ชนะเลศิ รองชนะเลิศอนั ดับ 1 และ รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 จากการ “เงาะป่ากับไปรษณีย์” จากทีมกล้องตัวเดียว ได้รับเงินรางวัลรวม
ประกวดคลปิ วดิ ีโอส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วเกาะยอ รางวลั ชนะเลศิ และรอง 20,000 บาทพรอ้ มเกยี รตบิ ตั ร และรางวลั ระดบั ภมู ภิ าคลา่ สดุ คอื รางวลั
ชนะเลศิ อันดับ 2 จากการประกวดคลิปวิดีโอ “เรอื่ งดๆี ...ที่บา้ นฉนั ” ชนะเลศิ และรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 จากการประกวดคลปิ วดิ โี อ “เรอ่ื ง
ดี ๆ...ที่บ้านฉัน” ในพื้นท่ี 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จัดโดยจังหวัด
ดา้ น ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ อาจารยป์ ระจำ�โปรแกรม นราธิวาส ซงึ่ รางวัลชนะเลศิ ไดแ้ กเ่ รือ่ ง “เสน่ห์เมอื งเก่าสงขลา” จากทมี
วชิ านเิ ทศศาสตร์ ในฐานะอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหลกั ของนกั ศกึ ษาทสี่ ง่ ผลงาน Next Step และรางวัลรองชนะเลิศอันดบั 2 ได้แกเ่ ร่ือง “ปัตตานี ของดี
เข้าประกวด กล่าวว่า การผลิตผลงานในเวทีต่างๆ จะช่วยส่งเสริมให้ ท่บี า้ นฉนั ” จากทีมวนิ วิน รบั รางวัลรวม 30,000 บาท พร้อมโลร่ างวลั
นักศึกษาได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการของรายวิชาน้ันๆ รวมท้ังกระตุ้นให้
นักศึกษาลงมือปฏิบัติในสถานการณ์จริง และรู้จักแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน 17ปารฉิ ัตร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
โดยมีคณาจารย์โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ให้คำ�ปรึกษาอย่างใกล้ชิด
ส�ำ หรบั ผลงานทไี่ ดร้ บั รางวลั ลา่ สดุ นนั้ เปน็ รางวลั ระดบั ชาติ ไดแ้ ก่ รางวลั
จากโครงการสอื่ ศลิ ปป์ ี 5 “Human Rights : แลตะ๊ แลใต”้ จดั โดยองคก์ าร
กระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (สสท.) ร่วมกับ
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ และแอมเนสต้ี อนิ เตอร์
เนชั่นแนล (ประเทศไทย) มผี สู้ ง่ งานเข้าประกวด 25 ทีม จากกวา่ 10
มหาวทิ ยาลัย โดยมี 2 ทมี จากโปรแกรมวิชานเิ ทศศาสตร์เข้ารอบ 5 ทีม
สดุ ทา้ ย ไดร้ ับเงนิ รางวลั สนบั สนุนการผลิตภาพยนตร์ส้ันทมี ละ 20,000
บาท ได้แก่ ทีม Victory จากภาพยนตรส์ ้ันเรอ่ื ง “เกาะเนรมิต” และทมี
สามสาวทหารเสือ จากเรื่อง “คำ�ถามทไี่ มม่ คี �ำ ตอบ” และในรอบตัดสิน
เรือ่ ง “คำ�ถามท่ีไม่มีคำ�ตอบ” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ควา้ เงิน
รางวลั 30,000 บาท พร้อมโล่รางวัล

ดร.ศภุ ฤกษ์ กล่าววา่ สำ�หรับรางวลั ระดบั ชาตอิ ีกหน่ึงรายการ
ทน่ี กั ศกึ ษาโปรแกรมวชิ านเิ ทศศาสตรส์ รา้ งชอื่ เสยี งใหแ้ ก่ มรภ.สงขลา คอื
รางวลั จากโครงการประกวดส่อื ปอ้ งกนั การทุจรติ ประจ�ำ ปี 2560 ของ

ทีมท่ีปรึกษาจาก มรภ.สงขลา ร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่ม แลว้ ตอ้ งการขยายตลาดดว้ ยผลติ ภณั ฑท์ แี่ ปรรปู จากมะพรา้ ว จงึ เปน็ ทมี่ าของ
คลัสเตอรม์ ะพรา้ ว จ.สตูล สร้างแบรนด์เจลอาบน้ำ� “บลูโคโค”่ เพ่มิ บลูโคโค่ ชาวเวอเจล พร้อมเม็นทอลให้ความเย็นสดช่ืน กล่ินโปโลสปอร์ต
มูลค่าผลิตผลท้องถ่ิน คว้ารองอันดับ 1 ประกวดแบรนด์และ หอมสไตลย์ โุ รป ผสมน�้ำ มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ เพอื่ เพมิ่ ความนมุ่ ของผวิ ภายใต้
ผลิตภณั ฑจ์ ากมะพร้าวไทย สโลแกนผลิตภัณฑ์คุณภาพจากมะพร้าวพันธุ์พ้ืนถ่ิน กล่ินหอม-เย็นสดช่ืน
ใกล้ชิดกลิ่นไอชายทะเล ทุกคร้ังที่ได้ลูบไล้ พร้อมต้อนรับทุกท่านมาสัมผัส
น.ส.อมรรัตน์ บุญสว่าง อาจารย์ประจำ�สาขาการออกแบบ ธรรมชาติอันงดงาม ขอขอบคุณ สสว. สถาบันอาหาร พระจอมเกล้า
โปรแกรมวชิ าศลิ ปกรรม คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา พระนครเหนือ คลัสเตอร์มะพร้าว จ.สตูล คณะเภสัชกรรม มหาวิทยาลัย
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ ตามท่สี ำ�นักงานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและ สงขลานครนิ ทร์ ทมี่ สี ว่ นชว่ ยใหเ้ ราประสบความส�ำ เรจ็ ” น.ส.อมรรตั น์ กลา่ ว
ขนาดย่อม (สสว.) ได้บูรณาการความร่วมมือกับสถาบันอาหาร กระทรวง และว่า
อตุ สาหกรรม ด�ำ เนินโครงการสนบั สนนุ เครอื ข่าย SME ปี 2560 เพื่อสร้าง
เครอื ขา่ ยและยกระดบั SME ในอตุ สาหกรรมมะพรา้ ว รวมถงึ หว่ งโซก่ ารผลติ อย่างไรก็ตาม ในมุมของนักออกแบบเเละท่ีปรึกษาโครงการที่มี
เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดในเชงิ พาณชิ ย์ พรอ้ มรองรบั การขยายตวั ส่วนร่วมในการดูเเลผลิตภัณฑ์ตั้งเเต่ต้น ตนมองว่าผลงานจะประสบความ
ของตลาดโลกที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการฯ จำ�นวน สำ�เร็จอย่างแท้จริงก็ต่อเมื่อเกษตรกรสามารถผลิตงานได้ตามคำ�ส่ังซ้ือ
3,300 ราย จากพ้ืนท่ีเป้าหมาย 18 จังหวัด ได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ ตลอดจนจดั การเรื่องกระบวนการบรรจุ การจดั ส่ง เเละสง่ เสรมิ การขายอ่นื ๆ
สรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร พงั งา สตลู ปตั ตานี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบรุ ี ไดด้ ้วยตนเอง ดงั น้นั จงึ จำ�เป็นต้องมีการติดตามผลเเละชว่ ยเหลือเกษตรกร
ฉะเชงิ เทรา นครนายก นครสวรรค์ เลย ขอนแกน่ หนองคาย นครราชสีมา อีกสกั ระยะหน่งึ คาดวา่ อยา่ งนอ้ ยประมาณ 1 ปี เเต่โครงการของ สสว. เเละ
รว่ มกบั สระบรุ ี และ รอ้ ยเอด็ สถาบนั อาหารนนั้ ปดิ งบประมาณสนิ้ สดุ เดอื นกนั ยายนน้ี งานทเ่ี หลอื คอื ความ
ช่วยเหลือที่ทางสาขาการออกแบบเเละ มรภ.สงขลา จะต้องดูเเลบริการ
ในการนี้ อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการออกแบบ โปรแกรมวชิ าศลิ ปกรรม วชิ าการในพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบของมหาวทิ ยาลยั โดยกอ่ นปดิ งบฯ สถาบนั อาหาร
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ และอาจารยจ์ ากวิทยาลัยนวตั กรรม มรภ.สงขลา ได้ จะมอบเงนิ สนับสนนุ การด�ำ เนนิ งานใหค้ ลสั เตอร์ละ 100,000 บาท
รบั เชญิ เปน็ ทปี่ รกึ ษาพฒั นากลมุ่ คลสั เตอรม์ ะพรา้ ว โดย อ.อมรรตั น์ บญุ สวา่ ง
ดเู เล จ.สตลู (บลโู คโค)่ อ.วงศ์วรฒุ อนิ ตะนยั ดูเเล จ.ปัตตานี (มะพรา้ ว ท้งั น้ี ตนและทมี งานไดป้ ระชมุ กับเกษตรกรถึงส่ิงท่เี ขาต้องการเพม่ิ
คั่ว) และ ดร.นวิทย์ เอมเอก ดูเเล จ.พังงา (นำ้�มันสกัดเย็น) ร่วมกับ ไดเ้ เก่ การทำ�นำ�้ มนั มะพรา้ วสกัดเยน็ ซึง่ เปน็ ส่วนผสมหลกั ของบลูโคโค่ ให้
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื จนไดผ้ ลติ ภณั ฑต์ น้ แบบ ได้มาตรฐานรับรองคุณภาพ โดยตรวจผ่านศูนย์วิจัยของคณะเภสัชกรรม
สง่ เขา้ โครงการประกวดและประชาสมั พนั ธแ์ บรนดม์ ะพรา้ วไทยและผลติ ภณั ฑ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งยังต้องการสูตรทำ�วุ้นมะพร้าวนำ้�หอม
จากมะพร้าวไทย เม่ือวันที่ 26 กันยายน ๒๕60 ผลปรากฏว่าผลิตภัณฑ์ ท�ำ กะทกิ ลอ่ ง ซงึ่ จ�ำ เปน็ ตอ้ งบรู ณาการองคค์ วามรรู้ ว่ มกบั อาจารยใ์ นสาขาอน่ื ๆ
เจลอาบน�้ำ บลูโคโค่ (BLUE COCO) จากคลสั เตอร์มะพร้าว จ.สตูล ได้รบั กับมหาวิทยาลัยด้วย โดยทผ่ี า่ นมามีการทำ�งานร่วมกับทางคหกรรมศาสตร์
รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 1 คณะเทคโนโลยเี กษตรเกษตร คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ในโครงการอนื่ ๆ
รวมถึงนักศึกษาช้ันปีท่ี 3 หลักสูตรการออกแบบ ท่ีมีส่วนร่วมในการจัด
“จ.สตลู อดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ มสี วนผลไมป้ ลกู แซม กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ กษตรกร ชว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู และ
ตลอดทาง โดยมะพร้าวกำ�ลังออกผลผลิตพร้อมรอจำ�หน่ายหลายไร่ และ ช่วยงานออกแบบในคร้งั น้ดี ้วย
สามารถใหผ้ ลผลติ ไดอ้ กี หลายปี นอกจากการจ�ำ หนา่ ยมะพรา้ วกะทใิ นชมุ ชน

18 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา วางกรอบพัฒนา นศ. ๔.๐

ชกู จิ กรรมสร้างประสบการณ์เรยี นร-ู้ มภี มู ิคุม้ กนั ชีวิต

มรภ.สงขลา วางแนวทาง เตรียมตัวเป็นพลเมืองโลก จากแนวคิดภาพอนาคตในตลาดงานสำ�หรับ
พัฒนานักศกึ ษายุค 4.0 ปรบั บทบาท บัณฑติ ทีม่ แี นวโนม้ น้อยลง ทวา่ กลบั มีการแข่งขันกันสงู ข้ึน ท�ำ ใหร้ ูส้ กึ ตนื่ ตวั
จากเน้นสอนเพือ่ ความรู้ เปลยี่ นเปน็ มากข้ึนในฐานะอาจารย์ท่ีต้องการให้บัณฑิตจบออกไปอย่างมีคุณลักษณะ
ใชก้ จิ กรรมสรา้ งประสบการณ์ เพมิ่ ท่ีพึงประสงค์ ไม่ว่าจะเปน็ ความรคู้ วามสามารถ บคุ ลิกภาพ การอยูร่ ่วมกนั
ภูมิคุ้มกันชีวิต หวังปั้นบัณฑิตเก่ง ในสงั คม หรอื ทกั ษะทางดา้ นตา่ งๆ เชน่ ภาษาในการสอ่ื สาร การใชเ้ ทคโนโลยี
ดี มีคุณค่าต่อสังคม ป้อนตลาด ความคิดสร้างสรรค์ ตนในฐานะอาจารย์ผู้สอนที่มีผลต่อการพัฒนา
แรงงาน คุณลักษณะบัณฑิต ก็ควรปรับบทบาทหรือแนวทางพัฒนานักศึกษาให้ทัน
ตอ่ กระแสการเปลย่ี นแปลง ซ่งึ ถอื เป็นเร่อื งทที่ ้าทาย
อ.จิรภา คงเขียว รอง
อธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษาและคุณลักษณะบัณฑิต ขณะที่ นายแวอซั มัน แวมูซอ นักวิชาการศึกษา รบั ผดิ ชอบงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงการโครงการอบรม ด้านพฒั นานักศึกษา ประจ�ำ คณะวทิ ยาการจัดการ มรภ.สงขลา ผูเ้ ขา้ อบรม
พัฒนานักศึกษา 4.0 เมื่อเร็วๆ นี้ว่า มีจุดมุ่งหมายในการผลิตบัณฑิตให้ อกี คนหนงึ่ กลา่ ววา่ จากการเขา้ ประชมุ อบรมในครงั้ นท้ี �ำ ใหต้ นไดแ้ นวคดิ ใน
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการพฒั นาก�ำ ลงั คนภายใตโ้ มเดล Thailand 4.0 เพอ่ื การพัฒนานกั ศึกษา โดยจำ�แนกออกตามช้ันปตี า่ งๆ ต้งั แต่ปี 1-ปี 4 โดย
พฒั นาประเทศใหก้ า้ วสคู่ วามมนั่ คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยนื โดยปรบั เปลย่ี นบทบาท ตนจะนำ�เสนอแนวคิดนี้ให้ทางคณะฯ พิจารณา เพื่อพัฒนานักศึกษา
จากการสอนเพื่อให้ความรู้ ไปเป็นการพัฒนานักศึกษาให้เกิดการ ให้สามารถปรับตัวได้ตามสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป นำ�ความรู้ท่ีได้จากการ
เปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน ผ่านทางกิจกรรมที่สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาเลา่ เรียนและท�ำ กจิ กรรมตอ่ ยอด เอาตัวรอดในตลาดแรงงานได้
ควบคู่ไปกับจัดการศึกษาท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติและสร้างคุณค่าจากสิ่งท่ีเรียนรู้
ซึ่งจะช่วยพัฒนาสังคมและการดำ�เนินชีวิตมากกว่าแค่การเรียนรู้ในศาสตร์
เทา่ นน้ั โดยไดร้ บั เกยี รตจิ ากวทิ ยากร ดร.จริ วฒั น์ วรี งั กร จากมหาวทิ ยาลยั
เกษตรศาสตร์ แนะเทคนคิ จดุ เนน้ การพฒั นานกั ศกึ ษาใหท้ นั ยคุ 4.0 พรอ้ มทงั้
แนะน�ำ การจดั ทำ�แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการพฒั นานักศกึ ษาแกผ่ ู้เข้าอบรม

ดา้ นผเู้ ขา้ อบรมอยา่ ง ผศ.วรี ชยั มฏั ฐารกั ษ์ รองคณบดฝี า่ ยพฒั นา
นกั ศึกษาและกจิ การพเิ ศษ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา กล่าววา่
ขอขอบคุณวิทยากรที่ช้ีให้เห็นถึงความท้าทายของการพัฒนานักศึกษาเพื่อ

มรภ.สงขลา ตวิ เทคนิคอาจารย์ที่ปรึกษา

มรภ.สงขลา เทยี บเชญิ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นจติ วทิ ยา แนะเทคนคิ สภาพแวดลอ้ มใหม่ ตลอดจนมปี ญั หาดา้ นสงั คม สง่ ผลกระทบตอ่ สภาพจติ ใจ
การให้คำ�ปรึกษาแก่อาจารย์ หวังต่อยอดความรู้ช่วยผู้เรียนปรับตัว และการเรียน ดังน้ัน อาจารย์ท่ีปรึกษาจึงเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญในการให้
เขา้ กับส่ิงแวดล้อมใหม่ ใชช้ วี ติ ในรั้วมหาวิทยาลยั ดว้ ยความสุข ค�ำ แนะน�ำ และสนบั สนนุ นกั ศกึ ษาทกุ ดา้ น ทง้ั ทางด้านการเรยี น บุคลิกภาพ
การเข้าร่วมกิจกรรม สวัสดิการและการบริการ การวางแผนชีวิตและการ
อ.จิรภา คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนา ประกอบอาชีพ ตลอดจนการอยู่ร่วมกับสังคม ซึ่งนอกจากทีมวิทยากรจะ
นักศึกษาและคุณลกั ษณะบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ถ่ายทอดเทคนคิ การใหค้ ำ�ปรึกษาดา้ นตา่ งๆ แก่ผูเ้ ข้าอบรมแลว้ ยังใหแ้ สดง
เปดิ เผยถงึ การอบรมเรอื่ ง กระบวนการและเทคนคิ การใหค้ �ำ ปรกึ ษา เมอ่ื เรว็ ๆ บทบาทสมมุติสลับกันเป็นนักศึกษากับอาจารย์ท่ีปรึกษา เพื่อแลกเปลี่ยน
นว้ี า่ เนอื่ งจากอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาเปน็ ผทู้ มี่ บี ทบาทส�ำ คญั ในการดแู ลนกั ศกึ ษา เรียนรซู้ ึ่งกันและกนั ทำ�ใหเ้ หน็ ภาพได้ชัดเจนขนึ้ เปน็ ประโยชนใ์ นการนำ�ไป
ทง้ั ในเชงิ วชิ าการและเชงิ จติ วทิ ยาแนะแนว ท�ำ หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ใหส้ ามารถคดิ ต่อยอดปรบั ใชก้ บั นกั ศกึ ษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
และตัดสินใจแก้ไขปัญหาของตนเองได้ กองพัฒนานักศึกษาจึงได้เชิญ
ผเู้ ชย่ี วชาญในศาสตรแ์ ขนงนี้ ไดแ้ ก่ ผศ.ดร.สกล วรเจรญิ ศรี อาจารยป์ ระจ�ำ อ.กมลนาวนิ อนิ ทนจู ติ ร อาจารยค์ ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ภาควชิ าการแนะแนวและจติ วทิ ยาการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ผูเ้ ขา้ อบรม กล่าวว่า ทีมวทิ ยากรสามารถบรรยายไดเ้ ข้าถงึ ท้ังทางทฤษฎีและ
ดร.สาธร ใจตรง อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาจิตวิทยา มรภ.จันทรเกษม การนำ�ไปใช้ปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระดับของจิต บุคลิกภาพจาก
รศ.ดร.คมเพชร ฉัตรศุภกุล รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ และ วิวัฒนาการของช่ัวอายุ ปมด้อยปมเด่น การให้ความเชื่อถือและมอบความ
ดร.ภรู เิ ดช พาหยุ ทุ ธิ์ อาจารยพ์ เิ ศษคณะจติ วทิ ยามหาวทิ ยาลยั เกษมบณั ฑติ รบั ผดิ ชอบ การเชอ่ื วา่ มนษุ ยม์ คี ณุ คา่ มศี กั ดศิ์ รี มศี กั ยภาพในการแกไ้ ขปญั หา
มาถ่ายทอดเทคนิคการให้คำ�ปรึกษาแก่อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้สนใจ เพ่ือ และสามารถตัดสนิ ใจได้ การรว่ มวางแผนแก้ไขอยา่ งเปน็ ขั้นตอน ภาพรวม
เพิ่มพนู ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ดา้ นต่างๆ ทจี่ �ำ เปน็ ต่อการทำ�งาน ของปัญหา สิ่งเหล่าน้ีจะช่วยให้สามารถเข้าใจนักศึกษาแต่ละคนได้มากขึ้น
อาจารย์ท่ีปรกึ ษา ซึ่งผู้เป็นที่ปรึกษาจะต้องมีลักษณะที่เป็นจริง และมีท่าทางพฤติกรรมที่รับรู้
ความรู้สึกของผู้รับคำ�ปรึกษาได้อย่างถูกต้อง เช่น สีหน้า ประสานสายตา
ดา้ น นางไปยดา สตุ ระ นกั แนะแนวการศกึ ษาและอาชพี ประจ�ำ กิรยิ า ท่าทาง น้ำ�เสียง การสัมผัส ระยะห่าง ต้องขอขอบคุณหน่วยแนะแนว
กองพฒั นานกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา ผเู้ สนอโครงการ กลา่ ววา่ การดแู ลนกั ศกึ ษา การศกึ ษาและอาชพี กองพฒั นานกั ศกึ ษา ทจ่ี ดั โครงการดๆี เชน่ นข้ี น้ึ มา ตน
ในระดบั อดุ มศกึ ษามคี วามแตกตา่ งจากการดแู ลผเู้ รยี นในระดบั อนื่ เนอื่ งจาก จะน�ำ ความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปใชใ้ หป้ ระโยชนส์ งู สดุ ทง้ั ตอ่ นกั ศกึ ษาและบคุ ลากรผรู้ บั
ต้องอยู่ห่างไกลพ่อแม่ มีความเป็นอิสระในการดำ�เนินชีวิตมากขึ้น ซึ่ง ค�ำ ปรกึ ษา
ส่วนหน่ึงไม่สามารถปรับตัวเข้ากับระบบการศึกษาแบบใหม่ เพ่ือนใหม่
19ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

ผศ.ณศิ า มาชู

กรมทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ออกอนุสิทธบิ ตั ร ๒ งานวิจยั เปรียบเทียบกบั ลกู ปลาดุกล�ำ พนั และลกู ปลาดกุ เทศ เปน็ ระยะเวลา
ทางเทคโนโลยีเกษตร มรภ.สงขลา จากผลงานเพาะปลาดุก 8 สปั ดาห์ พบวา่ ปลาดกุ ลกู ผสมมนี �ำ้ หนกั และความยาวเฉลยี่ มากกวา่
ลกู ผสม “บก๊ิ ลำ�พัน” ชูจดุ เด่นเลี้ยงง่าย โตไว ทดแทนปลาดุกใน ปลาดกุ ล�ำ พนั แต่น้อยกว่าปลาดกุ เทศ โดยทีป่ ลาท้ัง 3 ชนิด มีอตั รา
ธรรมชาติท่ีเส่ียงสูญพันธ์ุ และผลงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงหมัก การรอดตายไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยปลาดุกลูกผสมมีลักษณะ
เนอ้ื นมุ่ รสกระเทยี มพรกิ ไทยจากเปลอื กมะละกอ ชว่ ยลดปรมิ าณ เดน่ คอื มลี �ำ ตวั ยาว มลี ายสขี าวบนล�ำ ตวั ในแนวขวางเหมอื นแม่ (ปลา
ขยะ เพม่ิ มลู คา่ วัสดุเศษเหลือ ดกุ ล�ำ พนั ) ท�ำ ใหม้ คี วามสวยงามและนา่ สนใจ ในขณะเดยี วกนั กม็ กี าร
เจริญเติบโตท่ีดีคล้ายพ่อ (ปลาดุกเทศ) อีกท้ังยังสามารถกินอาหาร
ผศ.ณิศา มาชู อาจารย์โปรแกรมวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้� สำ�เร็จรปู ไดด้ ี
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา)
เปดิ เผยวา่ เมอ่ื เรว็ ๆ นกี้ รมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาไดอ้ อกอนสุ ทิ ธบิ ตั รใหก้ บั อาจารยโ์ ปรแกรมวชิ าการเพาะเลยี้ งสตั วน์ �ำ้ กลา่ วเพมิ่ เตมิ
ผลงานวจิ ยั ของตน ในชอื่ “การประดษิ ฐก์ รรมวธิ เี พาะพนั ธป์ุ ลาดกุ ลกู ผสม วา่ อยา่ งไรก็ตาม ควรมีการศึกษาข้อมลู การเลยี้ งและการยอมรบั ของ
ระหว่างปลาดุกลำ�พันและปลาดุกเทศ” ซ่ึงเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ ผู้บริโภคต่อปลาดุกลูกผสมชนิดนี้ให้ชัดเจน เพื่อจะได้ผลตอบแทนที่
ระหว่างแม่ปลาดุกลำ�พันกับพ่อปลาดุกเทศ จนออกมาเป็นปลาดุก คมุ้ คา่ มโี อกาสพฒั นาเลย้ี งเปน็ ปลาเศรษฐกจิ ไดใ้ นอนาคต ซงึ่ จะชว่ ย
ชนิดใหม่ท่ตี นให้ชอ่ื ว่า ปลาดุกบ๊กิ ลำ�พัน เน่ืองจากปจั จบุ ันปลาดุกล�ำ พัน รักษาพันธุ์ของปลาดุกลำ�พันไว้ในทางอ้อม เนื่องจากต้องมีผู้สนใจ
ในธรรมชาตทิ มี่ แี หลง่ อาศยั ในพนื้ ทป่ี า่ พรุ มจี �ำ นวนลดนอ้ ยลงมาก จงึ จดั เพาะเล้ียงเพื่อป้อนฟาร์มผลิตปลาดุกลูกผสม ระหว่างปลาดุกลำ�พัน
เป็นปลาหายากและเส่ียงต่อการสูญพันธุ์ ซึ่งปลาดุกลำ�พันเป็นปลาท่ีมี กบั ปลาดุกเทศด้วยเช่นกนั
ความอดทนสงู สามารถเลยี้ งในน�้ำ ทม่ี คี ณุ ภาพต�ำ่ ได้ ตนจงึ น�ำ พอ่ แมพ่ นั ธ์ุ
ปลาดกุ ล�ำ พนั มาเลยี้ งในสภาพน�้ำ จดื ทวั่ ไป ทโ่ี ปรแกรมวชิ าการเพาะเลย้ี ง ในโอกาสเดยี วกนั น้ี กรมทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญายงั ไดอ้ อกอนุ
สตั วน์ �้ำ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา และน�ำ มาเพาะขยายพนั ธ์ุ สิทธิบตั รใหก้ บั ผลงานวิจยั เรอื่ ง การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ผงหมักเนอ้ื นมุ่
ใหอ้ ตั ราการผสมตดิ และฟกั เป็นตัว ประมาณ 40-50% รสกระเทยี มพรกิ ไทยจากเปลอื กมะละกอ จดั ท�ำ โดย ดร.ธติ มิ า พานชิ ย์
ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ
ผศ.ณศิ า กลา่ ววา่ ลกู ปลาดกุ ล�ำ พนั ทไี่ ดม้ อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โต คณะ ซง่ึ เปน็ การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลืออย่างเปลือกมะละกอ
คอ่ นขา้ งชา้ และเปน็ ปลาทมี่ ผี วิ หนงั บางถลอกไดง้ า่ ย ตนจงึ ปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ ชว่ ยลดปริมาณขยะและเพิม่ มูลค่าให้กบั วสั ดเุ ศษเหลอื อกี ทงั้ ขอ้ มูลที่
ดว้ ยการน�ำ มาผสมขา้ มพันธ์กุ บั ปลาดุกเทศ ซึง่ เป็นปลาทเ่ี จรญิ เตบิ โตเร็ว ไดจ้ ากการศึกษายังสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการนำ�เปลอื กมะละกอ
โดยนำ�ปลาดกุ ล�ำ พนั เพศเมยี มาผสมพันธกุ์ บั ปลาดกุ เทศเพศผู้ ใช้วิธีการ มาใชจ้ ดั ท�ำ ผลติ ภณั ฑผ์ งหมกั เนอื้ นมุ่ ในระดบั อตุ สาหกรรม และน�ำ ไป
ฉีดฮอร์โมนผสมเทียม พบว่าแม่ปลาดุกลำ�พันสามารถผสมข้ามพันธ์ุกับ ประยกุ ต์ใชใ้ นการผลิตผงหมักเนื้อน่มุ รสชาติอนื่ ๆ ไดต้ ่อไป
พ่อปลาดุกเทศได้ มีอัตราการผสมติดและอัตราการฟักเป็นตัวประมาณ
30-40% เม่ือนำ�ปลาดุกลูกผสมท่ีได้ (ดุกลำ�พัน×ดุกเทศ) มาอนุบาล

20 ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

อ.วัชรนิ ทร์ สายน�ำ้ ใส

นักวิจัย มรภ.สงขลา นำ�ยางธรรมชาติผสมกับยาง ยางรถบรรทกุ ยางลอ้ เครอื่ งบนิ หรอื ใชผ้ สมกบั ยางสงั เคราะหใ์ นการผลติ
สงั เคราะห์ ชว่ ยเพม่ิ ความยดื หยนุ่ ทนทาน ใชใ้ นผลติ ภณั ฑย์ างลอ้ รถ ยางรถยนต์ นอกจากน้ัน ยังมีความต้านทานต่อการฉีกขาดสูง ทั้งที่
คว้ารางวัลบทความดีเด่น กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ อุณหภูมิต่ำ�และอณุ หภมู ิสูง
งานประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 9 พฒั นางานวจิ ยั สรา้ งสรรค์
อุดมศึกษาไทย กา้ วไกลสู่ Thailand 4.0 อย่างไรก็ตาม แม้ยางธรรมชาติจะมีสมบัติที่ดี เหมาะสำ�หรับ
ทำ�ผลิตภัณฑ์ยาง แต่ยางธรรมชาติมีข้อเสียหลักคือ การเสื่อมสภาพเร็ว
อ.วชั รนิ ทร์ สายน�้ำ ใส อาจารยป์ ระจ�ำ โปรแกรมวชิ าเทคโนโลยี ภายใต้แสงแดด ออกซิเจน โอโซน และความร้อน เนื่องจากโมเลกุลของ
ยางและพอลิเมอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั ยางธรรมชาติมีพนั ธะคู่ (double bond) อย่มู าก ท�ำ ให้ยางไวต่อการทำ�
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยว่า เม่ือวันที่ ๒๘-๒๙ กนั ยายน ทผ่ี ่านมา ปฏกิ ริ ยิ ากบั ออกซเิ จนและโอโซน โดยมแี สงแดดและความรอ้ นเปน็ ตวั เรง่
ตนพรอ้ มด้วยนักศกึ ษาในโปรแกรมฯ 4 คน คือ นายอดิศักดิ์ เหมอื นจันทร์ ปฏิกิริยา ดังน้ัน ในการแก้ไขข้อด้อยเหล่านี้สามารถทำ�ได้โดยการเลือก
น.ส.ชาวดี ปะตาแระ น.ส.อสั มา ศกิ ะคาร และ น.ส.อาตฟี ๊ะ บตุ รา เอาสมบัติท่ีดีจากยางสังเคราะห์ชนิดอื่นมาทดแทน โดยการผสมยาง
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 9 “พัฒนางานวิจัย สร้างสรรค์ ธรรมชาติกับยางสังเคราะห์เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ยางท่ีมีสมบัติเหมาะ
อดุ มศกึ ษาไทย กา้ วไกลสู่ Thailand 4.0” ณ มรภ.นครปฐม โดยมผี ลงาน สมในการใชง้ าน เชน่ สมบตั ิด้านความทนทานต่อการขดั ถขู องยางบอี าร์
วิจัยท่ผี ่านการพิจารณาให้เขา้ ร่วมน�ำ เสนอทั้งส้นิ 329 ผลงาน จากสถาน (บวิ ทาไดอนี , BR) สมบตั คิ วามทนทานตอ่ น�้ำ มนั ของยางไนไตรล์ (NBR)
ศึกษาตา่ งๆ 65 หนว่ ยงาน ซึ่งตนและทีมงานน�ำ เสนอผลงานวิจัยในกลุ่ม สมบัติความทนทานต่อความร้อนและโอโซนของยางเอทธิลีนโพรพิลีน
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ จำ�นวน 2 เร่ือง คือ 1.การใช้ฟูมซิลิกาใน ไดอีน (EPDM) สมบัตดิ ้านความทนทานต่อการเสียดสขี องยางเอสบอี าร์
ผลติ ภณั ฑโ์ ฟมยางทีผ่ ลติ จากน�้ำ ยางธรรมชาติ จดั ทำ�โดย อัสมา ศกิ ะคาร (สไตรีนบวิ ทาไดอนี , SBR) เป็นตน้
อาตีฟะ๊ บตุ รา เอกฤกษ์ พ่มุ นก และ รัฐพงษ์ หนหู มาด 2.การออ่ นตัว
ของความเคน้ และพลงั งานสญู เสยี ของยางธรรมชาตผิ สมยางบอี าร์ และยาง “วัสดุยางเม่ือถูกกระทำ�อย่างต่อเน่ืองจะมีการอ่อนตัวของ
ธรรมชาติผสมยางเอสบีอาร์ จัดทำ�โดย ชาวดี ปะตาแระ อดิศักดิ์ ความเค้น หรือเกดิ การแตกหกั เสียหายได้ ปรากฏการณก์ ารออ่ นตวั ของ
เหมอื นจนั ทร์ และ วชั รินทร์ สายน้ำ�ใส ซึ่งงานวิจัยเรื่องนีไ้ ด้รับรางวลั ความเค้นน้รี ู้จักกนั ทว่ั ไปในชอ่ื ผลของมลู ลนิ ส์ (Mullins effect) นอกจากนี้
บทความดเี ดน่ (Best Paper Award) กลุ่มสาขาวิทยาศาสตรก์ ายภาพ ยางซ่ึงเป็นวัสดุประเภทหยุ่นหนืดจะเกิดการสูญเสียพลังงานจากแรง
กระทำ�อย่างต่อเน่ือง กล่าวคือ แรงที่ใช้ในการผิดรูปจะมากกว่าแรงที่ใช้
อ.วัชรินทร์ กล่าวถึงท่ีมาของการทำ�วิจัยเรื่องดังกล่าวว่า ยาง ในการคืนตัวกลับ โดยพลังงานท่ีสูญเสียไปนี้จะอยู่ในรูปของพลังงาน
ธรรมชาติเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำ�คัญของประเทศไทย ปัจจุบันมีการนำ�ไป ความร้อนสะสม งานวิจัยน้จี ึงสนใจศึกษาผลของสัดส่วนการผสมของยาง
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์หลายชนิด สมบัติเด่นของยางธรรมชาติคือมีความ ธรรมชาติกับยางบอี าร์และยางธรรมชาติกับยางเอสบอี าร์ ต่อสมบตั กิ าร
ต้านทานต่อแรงดึงสูง แม้ไม่ได้เติมสารเสริมแรง เน่ืองจากมีโครงสร้าง อ่อนตัวของความเค้นและพลังงานสูญเสีย เนื่องจากยางบีอาร์และยาง
โมเลกุลท่ีสม�่ำ เสมอ ท�ำ ให้ตกผลึกได้เมอ่ื ดึงและสามารถยดื ได้ถึงประมาณ เอสบีอาร์เป็นยางท่ีนิยมใช้ผสมกับยางธรรมชาติในการผลิตยางล้อรถ
1000% หรือมากกว่านั้น สมบัติในการยืดได้สูงน้ีทำ�ให้ยางธรรมชาติ โดยเฉพาะในสว่ นของดอกยางล้อ เพอ่ื จะไดน้ �ำ ผลการวจิ ัยไปประยุกตใ์ ช้
สามารถท�ำ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี คี วามยดื หยนุ่ สงู ความรอ้ นสะสมภายในทเ่ี กดิ ในอตุ สาหกรรมยางต่อไป” อาจารยป์ ระจ�ำ โปรแกรมวชิ าเทคโนโลยียาง
ขณะใช้งานตำ�่ และมีสมบัติการเหนยี วตดิ กนั ทีด่ ี จงึ เหมาะส�ำ หรับการผลิต และพอลิเมอร์ มรภ.สงขลา กล่าว

21ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา จับมือศูนย์ยุทธศาสตร์ภาษาและพัฒนา ผศ.ดร.นิวัต กล่าวว่า รายละเอียดความร่วมมือในการส่งครู/
ด้านต่างประเทศ อินโดนีเซีย หารือแนวทางความร่วมมือ อาจารย์มาช่วยสอนที่ มรภ.สงขลา จากการพูดคุยคาดว่าจะสามารถ
แลกเปลี่ยนอาจารย์ นักศึกศึกษา ศิลปวัฒนธรรม พร้อมให้ทุน ดำ�เนินการได้เร็วท่ีสุดในช่วงเปิดเทอมต้นเดือน มิถุนายน ๒๕61 โดย
เรยี นตอ่ ป.โท-เอก ศูนย์ยุทธศาสตร์ภาษาฯ จะส่งครู/อาจารยใ์ นระดับปริญญาตรี ปรญิ ญา
โท และปรญิ ญาเอก มาชว่ ยสอนในรายวชิ าบาฮาซา-อนิ โดนเี ซยี เปน็ ชว่ ง
ผศ.ดร.นวิ ตั กลนิ่ งาม อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ระยะเวลา 3 เดือนหรือ 6 เดอื น ขนึ้ อยูก่ ับมหาวิทยาลัยวา่ จะท�ำ เรื่องขอ
(มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วันท่ี ๑๗ ตุลาคม ทผี่ า่ นมา สถานกงสุล ไปยังหน่วยงานต้นสังกัดอย่างไร ส่วนเรื่องทุนการศึกษาจากประเทศ
อินโดนีเซีย ประจ�ำ จ.สงขลา พรอ้ มดว้ ยสถานทูตอนิ โดนีเซีย กรงุ เทพฯ อินโดนีเซียจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื 1. ทนุ เรยี นภาษาอินโดนีเซยี
น�ำ คณะบคุ คลจากศนู ยย์ ทุ ธศาสตรภ์ าษาและการพฒั นาดา้ นตา่ งประเทศ ระยะส้ัน 6 เดือน หรอื 1 ปี โดยลงทะเบยี นผ่านเวบ็ ไซต์และสอบคดั เลอื ก
(Center for Language Strategy and Diplomacy Development) ท่ีสถานกงสุลอนิ โดนเี ซยี จ.สงขลา 2. ทุนส�ำ หรบั นักศกึ ษาทจ่ี ะศกึ ษาตอ่
ประเทศอินโดนีเซีย เข้าพบคณะผู้บริหารและคณาจารย์แต่ละคณะของ ในระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก 3. ทนุ ด้านศิลปะและวฒั นธรรม
มรภ.สงขลา เพ่ือร่วมพูดคุยและหารือเก่ียวกับแนวทางการสร้างความ
รว่ มมอื ระหวา่ งสององคก์ รใน 3 ประเดน็ หลกั ไดแ้ ก่ 1. การสง่ คร/ู อาจารย์ อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา กลา่ วอกี วา่ ในสว่ นของการท�ำ บันทึก
จากประเทศอินโดนีเซียมาช่วยสอนในรายวิชาบาฮาซา-อินโดนีเซีย ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื นนั้ ทง้ั สององคก์ รเหน็ ชอบรว่ มกนั วา่ อยากใหม้ กี าร
2. ทุนการศึกษาประเภทต่างๆ และ 3. การทำ�บันทึกข้อตกลงความ ทำ�บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกัน โดยอาจจะมีการแลกเปลี่ยน
ร่วมมือ (MOU) ระหว่างกัน อาจารย์ นกั ศกึ ษา แลกเปล่ียนด้านศิลปะและวฒั นธรรม ซง่ึ จะตอ้ งมีการ
พูดคยุ ในรายละเอยี ดต่อไป

มองผ่านเลนส์

๑. บ�ำ เพญ็ กุศลถวายเป็นพระราชกศุ ล ๒. วางพวงมาลาวนั ปิยมหาราช

ผ ศ . ด ร . นิ วั ต ก ล่ิ น ง า ม ผศ.ดร.นวิ ตั กลิน่ งาม
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร อดีตคณาจารย์ สงขลา พร้อมด้วยบุคลากรและ
คณาจารยป์ จั จบุ นั บคุ ลากร และนกั ศกึ ษา นักศึกษา ร่วมพิธีวางพวงมาลา
รว่ มพิธีบ�ำ เพ็ญกุศลเพ่ือถวายเป็นพระราช ถวายสักการะพระบาทสมเด็จ
กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เนอ่ื ง
ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สวรรคตครบ ๑ ปี เมื่อวันท่ี ๑๓ ในวันปิยมหาราช ๒๓ ตุลาคม ณ ลานพระรูปรัชกาลที่ ๕
ตลุ าคม ที่ผา่ นมา ณ หอประชุมเฉลมิ พระเกยี รตฯิ สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่

๓. ใหโ้ อวาทนักกฬี า ๔. คอนเสิรต์ เปิดอัลบั้ม The Voice Project

เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดี สกนาาักยรศอดึกาูแษชลาพี ครหังวลสบังรคจรุมบคขก์ผอาลรงงศานอึกษเ.พสาลหงภขัอสงตอัวักเอษงผนเจดมPรนัดนหักลrเถื้อพoคศตาึงงรjื่ออกึรวeา้อพนิสีทษcซนงาเัฒแtยึ่างสเกเลมาพนริคอAละลีแต์ กาณลทlัยคนเbศขปำ�งะรณuบัักวนิดลาศคmยระิอชอิขลศอ้ิภดงภัลสปงิลาทข#บัฏิปพทนึ้กี่จโ1ั้มสกปสรใะธงหรู่ผเTรริ์คขสขรแมมลhออ้นลมกeั่กศนาศงภทรดาVเามาาันสสoแสยงว๑iิรตใใตตใชิcน๘์หตตeรา่รง้์้์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา นำ�คณะผ้บู ริหาร ให้โอวาทและขวัญกำ�ลงั ใจแก่
ทัพนักกีฬาและผู้ฝึกซ้อม ท่ีกำ�ลังจะเข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย
ครัง้ ที่ ๔๕ (รอบคัดเลือก เขตการแขง่ ขันภาคใต้)

22 ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

23ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มหาวท� ยาลยั ราชภฏั สงขลา

๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ตำบลเขารูปชา ง อำเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖
http://www.skru.ac.th/ Fm.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU


Click to View FlipBook Version