The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร ปีที่ 14 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2020-11-14 01:35:05

วารสาร ปีที่ 14 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2563

วารสาร ปีที่ 14 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2563

Coสาnรบtญัens

สวดมนตท์ �ำ สมาธิ อทุ ศิ ถวายในหลวง ร.๙ ๓ มหาว�ทยาลัยราชภฏั สงขลา
อนบุ าล ร.ร.สาธติ ฯ เรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ ปลกู ขา้ วนาด�ำ ๕
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร สบื สานวฒั นธรรมขา้ ว ปที ่ี ๓ ๖ ๑๖๐ ถนนกาญจนวนชิ ตำบลเขารูปชาง อำเภอเมอื งสงขลา จังหวดั สงขลา ๙๐๐๐๐
ผนกึ สวทช. เสรมิ แกรง่ ชาวนาดว้ ย “วถิ วี ทิ ย”์ ๘ โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖
ตดิ ตามความคบื หนา้ โครงการพระบรมราโชบายฯ พน้ื ท่ี ต.ทงุ่ ลาน ๘ http://www.skru.ac.th/ Fm.105.75 MHz.
ลงนามขอ้ ตกลงแกป้ ญั หาและพฒั นาชายแดนใต ้ ๑๐ ID LINE : PR_SKRU
ผนกึ ธ.กรงุ ไทย ลงนามความรว่ มมอื สนิ เชอ่ื สวสั ดกิ ารส�ำ หรบั บคุ ลากร ๑๑
หลกั สตู รสาธารณสขุ ฯ เตรยี มความพรอ้ มท�ำ MOU ภาคเี ครอื ขา่ ย ๑๒ ๐๔
ออกภาคสนามพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน “ฅนบา้ นเกาะเคย่ี ม” ๑๒
จดั คา่ ย “ศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ แบง่ ปนั ชมุ ชน” ครง้ั ท่ี ๑ ๑๓ มรภ.สงขลา อนรุ กั ษว์ ถิ ปี ลกู ขา้ วนาด�ำ
ถา่ ยทอดสตู รสบจู่ ากตาลโตนด ผลงาน นศ. “ออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ ” ๑๔
พฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชนกลมุ่ แปรรปู จง้ิ หรดี ๑๕ ๐๙
คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ลงพน้ื ทก่ี ลมุ่ ผลติ ภณั ฑข์ นมพน้ื บา้ น ๑๕
“อ.ศวิ ะ อนิ ทะโคตร” ชนะเลศิ อนั ดบั ๒ แขง่ ขนั สนี �ำ้ ออนไลนน์ านาชาต ิ ๑๖ มแลลู ะนมธิลู พินลธิ เอิอากจาเปรรยมส์ มตบณิญุ สลูศารนยี นาทภ์ยั มอบทนุ การศกึ ษา
“อ.ศวิ ะ อนิ ทะโคตร” ควา้ รางวลั Special Award ๑๗
นศ.รฐั ประศาสนศาสตรฯ ชนะเลศิ อนั ดบั ๒ ระดบั ประเทศ ๑๘
นเิ ทศฯ ควา้ ๒๙ รางวลั ใน ๑ เดอื น ๑๘
“ผศ.บณั ฑติ า วรศร”ี แสดงผลงานนทิ รรศการนานาชาติ ออนไลน ์ ๑๙
อาจารย-์ นศ.ทศั นศลิ ป์ รว่ มแสดงผลงานนทิ รรศการ Nirantar ๒๐๒๐ ๑๙
รว่ มงานเปดิ โครงการจดั ตง้ั ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค ์ ๒๐
ส�ำ นกั ศลิ ปะฯ เตรยี มความพรอ้ มกฬี าเรอื ยาวประเพณ ี ๒๐
นศ.หลกั สตู รศลิ ปกรรมฯ บรรเลงดนตรไี ทยรบั เสดจ็ ๒๑
รว่ มประชมุ การตรวจเยย่ี มขององคมนตรี ณ มรภ.นครศรธี รรมราช ๒๑
มองผา่ นเลนส ์ ๒๒
เปดิ อบรมสรา้ งแกนน�ำ ราชภฏั วศิ วกรสงั คม ๒๓

๒๑

มรภ.สงขลา รว่ มพธิ เี ปดิ อาคารอ�ำ นวยการ
อทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคใต้

คณะผจู้ ดั ท�ำ ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปที ่ี ๑๔ ฉบบั ท่ี ๖ ประจ�ำ เดอื น กนั ยายน-ตลุ าคม ๒๕๖๓

ทีป่ รกึ ษา : ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชต,ิ ดร.นราวดี บวั ขวญั , นางสาวจริ ภา คงเขยี ว, นายพเิ ชษฐ์ จนั ทว,ี นายฉลอง อาคาสวุ รรณ, นางสาวปัณฑิตา โชติชว่ ง
บรรณาธกิ าร : ลดั ดา เอง้ เถย้ี ว กองบรรณาธกิ าร : ชวฤทธ์ิ ทองเพช็ รจันทร์, ธีรภทั ร์ มณเี กษร, ปริญภรณ์ ชมุ มณ,ี สุพฒั น์ สุวรรณโณ, ธวชั ชัย รุง่ สว่าง, อภญิ ญา สุธาประดษิ ฐ์

งานประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา : ๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลเขารูปช้าง อ�ำ เภอเมืองสงขลา จงั หวดั สงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ http://www.skru.ac.th/ E-mail : [email protected] FM.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU

อทุ ศิ มรถภ.สวงาขลยา สในวดหมนลตท์ วำ�สงมาธริ .๙

น้อมรำ�ลึกพระมหากรุณาธคิ ุณอนั หาทส่ี ดุ มิได้

มรภ.สงขลา จัดกิจกรรมสวดมนต์ภาวนาอทุ ิศถวายเป็น
พระราชกุศลแด่ในหลวง ร.๙ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต
“ธ สถติ อยใู่ นดวงใจนริ นั ดร”์ นอ้ มร�ำ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ
อันหาทสี่ ดุ มิได้

เมื่อวันท่ี 12 ตุลาคม ที่ผ่านมา ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ
รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
พร้อมด้วยคณะผู้บรหิ าร อาจารย์พเิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดีฝา่ ย
ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการบริหารและพัฒนาหน่วยงาน อาจารย์
จิรภา คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษา
และคุณลักษณะบัณฑิต ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธิการบดีฝ่าย
ยุทธศาสตร์วิจัยและบริการวิชาการ ตลอดจนคณาจารย์ บุคลากร
และ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ร่วมกิจกรรมสวดมนต์ภาวนาอุทิศ
ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ณ หอ้ งประชุมชน้ั 3
อาคารศูนย์รวมกิจการนักศึกษา มรภ.สงขลา เนื่องในวันคล้าย
วันสวรรคต 13 ตุลาคม 2563 “ธ สถิตอยู่ในดวงใจนิรันดร์”
เพือ่ นอ้ มร�ำ ลึกในพระมหากรุณาธิคณุ อนั หาทสี่ ดุ มิได้

3ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

อนรุ คกั ณษะเก์ ษวติถรปี มลรภูก.สขง้าขวลนา าด�ำ

สืบสานวัฒนธรรมข้าวภาคใต้

ก า ร เ ค า ร พ ใ น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ที่ แ ต ก ต่ า ง
การทำ�งานอย่างกระตือรือร้น นอกจากนั้น
ยังเป็นการสืบสานวิถีชีวิตชุมชนในการผลิต
บัณฑิตและพัฒนากำ�ลังคนเพื่อเสริมสร้าง
ศักยภาพตลอดช่วงชีวิต และเพื่อผลิตบัณฑิต
นักปฏิบัติและบัณฑิตท่ีมีศักยภาพสอดคล้อง
กับความต้องการของท้องถิ่นและการพัฒนา
ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร ประเทศ
มรภ.สงขลา จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะ จ า ก ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ด้าน ผศ.ดร.คริษฐ์สพล หนูพรหม
นอกห้องเรียน ชวนคนรุ่นใหม่อนุรักษ์ ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์
วัฒนธรรมข้าวภาคใต้ วิถปี ลูกขา้ วนาด�ำ คณะครศุ าสตร์ และ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและกิจการ
สานต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตร ในสาขาวชิ าตา่ งๆ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมน้ี พิเศษ ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า ข้าวคือ
ควบคู่สืบสานโครงการอันเนื่องมาจาก อาหารหลักและเป็นพืชที่เล้ียงชีวิตคนไทย
แนวพระราชด�ำ ริ ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะ มาแต่โบราณ อีกท้ังเป็นสินค้าเกษตรที่
เทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา กล่าวว่า สามารถส่งออกเป็นสินค้าหลักของประเทศ
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการ ทผ่ี า่ นมาทางคณะฯ ตอบโจทยก์ ารสรา้ งคนไทย ข้าวถือเป็นพืชด้ังเดิมที่คนไทยเพาะปลูกมา
แทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ โดยสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ เป็นระยะเวลานานหลายศตวรรษ ผูกพันกัน
(มรภ.สงขลา) กล่าวระหว่างเป็นประธานใน การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง และได้รับ มานานกบั วถิ ชี วี ติ ของคนไทย และมสี ว่ นส�ำ คญั
พธิ เี ปดิ โครงการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมขา้ วภาคใต้ การสนบั สนนุ ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ท เพอ่ื พฒั นา ในการก�ำ หนดพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ กอ่ เกดิ เปน็
วถิ กี ารปลกู ขา้ วนาด�ำ ณ สถานปี ฏบิ ตั กิ ารพชื ไร่ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ตามปรชั ญา วัฒนธรรมข้าวท่ีเป็นเสมือนภาพสะท้อน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา และเป้าหมายของสถานศึกษา และมีระบบ ท่ี แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ
เมอ่ื วนั ท่ี 2 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมาวา่ ตนรสู้ กึ ชน่ื ชม ความรับผิดชอบทางการศึกษา บนพ้ืนฐาน วฒั นธรรมของชาตไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี ประเทศไทย
และเห็นดีงามด้วยในการปลูกฝังและพัฒนา สมรรถนะหลักของผู้เรียน ผลักดันให้มีการ มีพิธีท่ีเก่ียวข้องกับข้าวและการเพาะปลูก
ทักษะนอกห้องเรียน โดยการพัฒนาคนใน นำ�วัฒนธรรมการทำ�งานท่ีพึงประสงค์ไปใช้ ต่อเทพเจ้าและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ เพ่ือขอให้
ทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมี ปฏิบัติจนเป็นคุณลักษณะท่สี ำ�คัญของคนไทย การเพาะปลูกข้าวในปีน้ันๆ ผ่านไปด้วยดี
คณุ ภาพ สรา้ งความอยดู่ มี สี ขุ ของครอบครวั ไทย อาทิ การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะเป็นคน ข้าว สัตว์ ต่างก็ประสบแต่
สร้างครอบครัวท่เี หมาะสมกับโลกในศตวรรษ ความมีระเบียบวินัย การทำ�งานเป็นทีม ความสวสั ดมี ชี ยั ปราศจากอนั ตรายตา่ งๆ เชน่

ท่ี 21 โดยสง่ เสรมิ ความรู้ในการวางแผนชวี ิต พิธแี รกไถนา พิธแี รกดำ�นา พธิ ีปกั ข้าวตาแฮก
ทเ่ี หมาะสมกบั คา่ นยิ มของคนรนุ่ ใหม่ และการจดั พธิ แี รกหวา่ นขา้ ว พธิ เี ชญิ แมโ่ พสพใสข่ า้ วปลกู
กิจกรรมที่เหมาะสมบนรากฐานความรู้ทาง พิธีบชู าแมธ่ รณี เปน็ ตน้
วิชาการ พัฒนาทักษะชีวิตและการเรียนรู้
การท�ำ งาน และการดำ�รงชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ
รวมถงึ การใหท้ กุ ภาคสว่ นในสงั คม เชน่ นกั ศกึ ษา

4 ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ดงั นน้ั ขา้ วจงึ เปน็ บอ่ เกดิ แหง่ วฒั นธรรมไทย รายได้จากพืชหลังนาอินทรีย์แก่เกษตรกรใน การเกษตรและสืบสานโครงการอันเน่ือง
ที่แม้แต่พระมหากษัตริย์ไทยทรงตระหนักถึง ต.เกาะแตว้ อ.เมอื ง จ.สงขลา เป็นต้น สำ�หรบั มาจากแนวพระราชดำ�ริ ซ่ึงวัฒนธรรมข้าว
ความสำ�คญั ของชาวนาไทยทม่ี อี าชพี หลกั คือ ในปี พ.ศ. 2563 ทางคณะฯ ไดจ้ ัดโครงการ เป็นวถิ ชี วี ติ และภมู ปิ ญั ญาของคนไทย
ปลกู ขา้ ว ดงั พระราชด�ำ รสั ของพระบาทสมเดจ็ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมขา้ วภาคใต้ : วถิ กี ารปลกู ขา้ ว ขณะที่ ตวั แทนนกั ศกึ ษาสาขาเทคโนโลยี
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช นาดำ� เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาและบคุ ลากรของคณะ การเกษตร กล่าวว่า รู้สกึ ตนื่ เต้นในการด�ำ นา
มหาราช บรมนาถบพิตร ในโอกาสเสด็จ เทคโนโลยีการเกษตร และหน่วยงานอ่ืนๆ ครงั้ นี้ เปน็ สง่ิ ท่ยี ังไม่เคยท�ำ มาก่อน เนื่องจาก
พระราชดำ�เนินทอดพระเนตรโครงการ ในมหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ ที่บ้านไม่ได้ทำ�นา ซ่ึงกิจกรรมท่ีทางคณะฯ
โคกกแู ว จ.นราธิวาส พ.ศ. 2536 ความว่า ของขา้ ว จัดขึ้นจะช่วยในการอนุรักษ์วัฒนธรรมการ
“…ข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปี ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน อาจารย์ ปลูกข้าวของภาคใตใ้ หค้ งอยู่ ทำ�ให้ตนไดร้ ถู้ งึ
ประชากรอาจจะ 80 ลา้ นคน ข้าวจะไมพ่ อ ถา้ ประจ�ำ หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต วทิ ยากร การดำ�นากว่าจะได้ข้าวมาในแต่ละปีของ
ลดการปลกู ขา้ วไปเรอื่ ยๆ ขา้ วจะไมพ่ อ เราตอ้ ง บรรยายเร่ือง “การปลูกข้าวแบบนาดำ�” ให้ ชาวนา
ซอื้ ข้าวจากตา่ งประเทศ เร่อื งอะไร ประชาชน แกน่ กั ศกึ ษา กลา่ ววา่ นอกจากคณะเทคโนโลยี นกั ศกึ ษาสาขาเกษตรศาสตรอ์ กี คนหนงึ่
คนไทยไม่ยอม คนไทยนี้ต้องมีข้าว แม้ข้าว การเกษตร มีพันธกิจเพื่อจัดการศึกษาเพื่อ กล่าวว่า ชอบและรู้สึกได้ถึงความสามัคคี
ที่ ป ลู ก ใ น เ มื อ ง ไ ท ย จ ะ สู้ ข้ า ว ท่ี ป ลู ก ใ น ผลติ บัณฑิตและบัณฑติ ศึกษาทางการเกษตร ในการปลูกข้าวร่วมกัน แม้ว่าแดดจะร้อนแต่
ต่างประเทศไมไ่ ด้ เราก็ตอ้ งปลูก...” ก็รู้สึกได้ถึงความพยายามของชาวนาในการ
ดร.ศภุ คั รชา อภริ ตกิ ร อาจารยป์ ระจ�ำ ลงแขกปลูกข้าว และการรักษาวัฒนธรรม
หลักสูตรเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า เพ่ือสนอง การปลูกข้าวแบบเดิมไว้ รู้สึกประทับใจและ
พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระบรม รอวนั ทจ่ี ะเกย่ี วขา้ วในอกี ประมาณ 90 วนั ขา้ งหนา้
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
จงึ มโี ครงการตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ สอ่ื กลางทจ่ี ะหลอ่ หลอม
ให้บุคลากรในหน่วยงาน นักศึกษา และ
ชาวนา ได้ทำ�กิจกรรมร่วมกันเพ่ือเป็นการ วจิ ยั และพฒั นาองคค์ วามรทู้ างการเกษตร และ
อนุรกั ษ์วถิ ีการปลกู ขา้ ว เชน่ โครงการสบื สาน บริการวิชาการเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินแล้ว
พระบรมราโชบาย อนุรักษ์พันธ์ุข้าวพื้นเมือง ทางคณะฯ ยงั มพี นั ธกจิ ดา้ นการอนรุ กั ษศ์ ลิ ป-
เฉพาะถิ่น และโครงการให้คำ�ปรึกษาเสริม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ินทาง

ใคเหรณยี้อะนเนกรบุษ้วูตาิถรลีชเปรวี ดิ .ติรส.ถปสาลานกูธีปฏติขิบา้ฯตัวกิ นาารดพืชำ�ไร่

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ. เป็นผู้ดูแล ในการนี้ ผศ.ดร.คริษฐ์สพล
สงขลา เปดิ สถานปี ฏบิ ตั กิ ารพชื ไรใ่ หน้ อ้ งๆ หนพู รหม รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษาและ
หนๆู โรงเรยี นอนบุ าลสาธติ ฯ ศกึ ษาวถิ ชี วี ติ กจิ การพเิ ศษ และ ผศ.ดร.อมรรตั น์ ชมุ ทอง
การท�ำ นาปลกู ขา้ วนาด�ำ เรยี นรโู้ ลกยคุ ดจิ ติ ลั รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
ควบควู่ ถิ ชี าวนาพน้ื บา้ น คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา
ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะ รว่ มใหก้ ารตอ้ นรบั และอธบิ ายเกย่ี วกบั วธิ กี าร
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปลูกข้าว พร้อมด้วยพ่ีๆ นักศึกษาคณะ
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วันที่ 9 เทคโนโลยีการเกษตร นำ�น้องๆ นักเรียน
ตุลาคม ที่ผ่านมา นักเรียนระดับชั้นอนุบาล อนุบาลโรงเรียนสาธิต มรภ.สงขลา ปลูกข้าว
3/2 โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ด�ำ นาอยา่ งสนกุ สนาน ถอื เปน็ การเรยี นรใู้ นโลก
จำ�นวน 35 คน เข้าศึกษาแหล่งเรียนรู้ ยคุ ดจิ ติ ลั ควบคไู่ ปกบั วถิ ชี าวนาพน้ื บา้ น
สถานีปฏิบัติการพืชไร่ คณะเทคโนโลยี
การเกษตร มรภ.สงขลา โดยไดศ้ กึ ษาวถิ ีชีวติ
การท�ำ นาปลกู ขา้ วนาด�ำ ในกจิ กรรมการเรยี น
การสอน เร่ือง การทำ�นาและการปลูกข้าว
โดยมี คุณครูณัฏฐณิชา สังข์ศิลป์เลิศ
คณุ ครดู าวรฎี ศริ พิ านชิ และ น.ส.วลยั ลกั ษณ์
บญุ ชวู งศ์ นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

5ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

คณะเกษตร สืบสานวฒั นธรรมขา้ ว ปีท่ี ๓
กิจกรรมปกั ดำ� ตามแนวพระบรมราโชบาย

ถวายในหลวงรชั กาลที่ ๑๐

และนวัตกรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ินด้าน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ. การเกษตรแบบมสี ว่ นรว่ ม ซง่ึ คณะเทคโนโลยี
สงขลา เดินหน้าสืบสานวัฒนธรรมข้าว การเกษตรได้ดำ�เนินโครงการบริการวิชาการ
ตามแนวพระบรมราโชบาย ถวายในหลวง อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตง้ั แต่ พ.ศ. 2560 เพอ่ื เพม่ิ ทกั ษะ
รัชกาลท่ี 10 ปีท่ี 3 กิจกรรมปักดำ� วชิ าชพี และพฒั นาอาชพี ของกลมุ่ เกษตรกรใหม้ ี
เพม่ิ ทกั ษะอาชพี กลมุ่ เกษตรกร ต.เกาะแตว้ ความมน่ั คงและยง่ั ยนื ใหแ้ กช่ มุ ชน ต.เกาะแตว้
ให้มีความม่ันคงและยั่งยืน ควบคฟู่ น้ื ฟู ภายใต้โครงการ “การอนุรักษ์และการ
การปลกู ขา้ วพน้ื เมอื งเฉพาะถน่ิ ใชป้ ระโยชนพ์ นั ธข์ุ า้ วพน้ื เมอื ง”
ดร.มงคล เทพรัตน์ คณบดีคณะ คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร
เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ กลา่ วอกี วา่ เนอ่ื งจากกลมุ่ เกษตรกรในพน้ื ทเ่ี ปา้
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมื่อวันที่ 7 หมายดงั กลา่ ว มกี ารปลกู ขา้ วพนั ธพ์ุ น้ื เมอื งทม่ี ี
ตุลาคม ที่ผ่านมา ตนพร้อมด้วยคณาจารย์ ความหลากหลายพันธ์ุ ได้แก่ เล็บนก
ทุกหลกั สตู รของทางคณะฯ อาทิ ดร.ภัทรพร หอมกระดงั งา หอมจนั ทร์ ดอกพะยอม รวงรี
ภักดีฉนวน อ.สุเพ็ญ ด้วงทอง ผศ.ดร. ลกู ปลาด�ำ เบา และจ�ำ ปา เปน็ ตน้ ซง่ึ พนั ธข์ุ า้ ว
คริษฐ์สพล หนูพรหม ผศ.ดร.ธิติมา พ้ืนเมืองเป็นพันธ์ุท่ีสามารถปรับตัวเข้ากับ
พานชิ ย์ ดร.อดศิ รา ตนั ตสทุ ธกิ ลุ อ.ทวศี กั ด์ิ สภาพแวดลอ้ มในท้องถ่นิ น้นั ๆ ไดด้ ี ทนทาน
ทองไฝ ผศ.สบาย ต้นไทย ผศ.นพรัตน์ ต่อการเข้าทำ�ลายของโรคและแมลงศัตรู
วงศห์ ริ ญั เดชา อ.ปิยนันท์ นวลหนูปล้อง จึงสามารถจัดการผลิตแบบอินทรีย์ได้ง่าย
อ.ขนษิ ฐา พนั ชกู ลาง ดร.วนดิ า เพช็ รล์ มลุ นอกจากน้นั ข้าวพันธ์พุ ้นื เมืองแต่ละสายพันธ์ุ
และ ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง แม่งานหลัก มีคุณค่าทางโภชนาการท่ีแตกต่างกันและมี
ร ว ม ถึ ง เจ้ า ห น้ า ที่ แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า คณุ สมบตั ทิ ด่ี เี กย่ี วกบั ความหอมนมุ่ และรสชาติ
เกษตรศาสตร์ สาขาเทคโนโลยกี ารผลติ พชื สาขา ด้าน ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง
เทคโนโลยกี ารผลติ สตั ว์ สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
เทคโนโลยีการอาหาร สาขาการผลิตและการ ผ้บู รรยายเร่อื งการจัดการดินเพ่อื การปลูกข้าว
จัดการผลิตภัณฑ์อาหาร ลงพ้นื ท่ี ต.เกาะแต้ว พ้ืนเมืองอินทรีย์ กล่าวว่า คณะเทคโนโลยี
อ.เมอื ง จ.สงขลา จดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การเกษตรเลง็ เหน็ ความส�ำ คญั ในการฟน้ื ฟกู าร
เรอื่ ง สบื สานวฒั นธรรมขา้ ว ตามแนวพระบรม ปลูกข้าวพ้นื เมืองเฉพาะถ่นิ และการอนุรักษ์
ราโชบาย ถวายในหลวงรัชกาลที่ 10 (ปีที่ 3) พนั ธพ์ุ ชื พน้ื เมอื งในแหลง่ ทป่ี ลกู เพอ่ื ชว่ ยไมใ่ ห้
กจิ กรรมปักดำ� พันธุกรรมข้าวสูญหายไปจากธรรมชาติ และ
ดร.มงคล กลา่ ววา่ มรภ.สงขลา เปน็ หนง่ึ เป็นแหล่งพันธุกรรมท่ีสามารถจะนำ�ไปใช้
ในมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ัวประเทศท่ีเข้าร่วม ประโยชน์ได้ในอนาคต จากการดำ�เนินงาน
ยทุ ธศาสตรใ์ หม่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอื่ การ โครงการบริการวิชาการใน 3 ปีท่ีผ่านมา
พัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ในชุมชนไม่ได้ให้
ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โดยหน่งึ ความส�ำ คญั กบั การคดั พนั ธข์ุ า้ ว และเกบ็ รกั ษา
ในพนั ธกิจทส่ี �ำ คัญ คือ ให้บรกิ ารทางวชิ าการ เมลด็ พนั ธอ์ุ ยา่ งถกู วธิ ี จงึ ท�ำ ใหพ้ นั ธข์ุ า้ วพน้ื เมอื ง
ถา่ ยทอดเทคโนโลยี น้อมนำ�แนวพระราชด�ำ ริ ท่ีเกษตรกรในชุมชนเกาะแต้วปลูกน้ันมีการ
และทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม ซ่ึงมี ปะปนพันธ์ุ ส่งผลให้ได้ผลผลิตตำ่�ลง ทำ�ให้
แนวทางท่ีจะพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรม เกษตรกรไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ต้องซ้ือ
ราโชบายได้ โดยการสร้างและถ่ายทอด เมล็ดพันธ์ุจากภายนอกเป็นการเพิ่มต้นทุน
องคค์ วามรทู้ างวชิ าการ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี การผลติ

6 ปาริฉตั ร วารสารเพ่ือการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

ดร.ศุภัครชา อภริ ตกิ ร กล่าวเสรมิ วา่ ลงแขกดำ�นา และตนจะรอมาเก่ียวข้าวกับ
โครงการน้ีเป็นโครงการท่ีเป็นแหล่งแปลงนา เกษตรกรด้วย ท้ังนี้ ตนรู้สึกสนุกและคิดว่า
ตัวอย่างในการเพาะปลูกพันธุ์ข้าวพื้นเมืองให้ โครงการนช้ี ว่ ยสรา้ งความผกู พนั ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ
แ ก่ นั ก ศึ ก ษ า ใ น ด้ า น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ความรกั และความสามคั คกี นั ของคนในชมุ ชน
นอกจากนน้ั เกษตรกรยงั มกี ารเกบ็ เกย่ี วขา้ ว และเป็นแหล่งรองรับการทำ�วิจัยในด้าน รวมถงึ ระหวา่ งตนเองและเพ่อื นๆ ด้วย
โดยใช้แกะ ซึ่งต้องใช้แรงงานคนในการ การตอบสนองพันธกิจของ มรภ.สงขลา
เก็บเกี่ยว ทางคณะฯ จึงเล็งเห็นความสำ�คัญ ในการพัฒนาท้องถ่ินตามศาสตร์พระราชา
ของประเพณีการลงแขกเกี่ยวข้าวท่ีกำ�ลังหาย อกี ทง้ั ยงั เปน็ การสรา้ งความรว่ มมอื กนั ระหวา่ ง
ไปจากสังคมเกษตรกรไทย ประเพณีลงแขก ชุมชน กลุ่มเกษตรกร และทางมหาวิทยาลัย
เก่ียวข้าวเป็นประเพณีไทยท่ีแสดงให้เห็น ในการพัฒนาสร้างความย่ังยืนให้แก่ชุมชน
ถงึ ความมนี �้ำ ใจทมี่ กี ารชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั สามารถพึ่งพาตนเองได้ รวมถึงการอนุรักษ์
อีกทั้งยังสามารถสร้างความสมัครสมาน ศิลป-วัฒนธรรมท้องถ่ินในการลงแขกปักดำ�
สามัคคีกันในหมู่บ้าน ชุมชนท่ีอาศัยอีกด้วย ต้นกล้าและการลงแขกเก่ียวข้าวในการ
โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 ผลิตข้าวพ้นื เมืองอินทรีย์อย่างถูกวิธีของกล่มุ
คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้จัดทำ�โครงการ เกษตรกร ต.เกาะแต้ว
อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง “สบื สานวฒั นธรรมขา้ ว
ตามแนวพระราโชบาย ถวายในหลวงรชั กาลท่ี10” ขณะที่ นางหวันสะเร๊าะ บินมุสา
ปีท่ี 1 และ 2 เพ่อื ให้ความร้เู ก่ยี วกับวิธีการ ตวั แทนเกษตรกร ต.เกาะแตว้ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ
คดั เลอื กและเกบ็ รกั ษาพนั ธข์ุ า้ วใหบ้ รสิ ทุ ธเ์ิ พอ่ื ให้ กลา่ ววา่ ตนไดเ้ ตรยี มตน้ กลา้ และการจดั การดนิ
ได้สายพันธุ์ข้าวพ้ืนเมืองของชุมชนเกาะแต้ว ตามท่ีได้รับคำ�แนะนำ�มาก่อน ทำ�ให้ตนมี
ที่มีความบริสุทธิ์ทางสายพันธุ์ และร่วมกัน ความรแู้ ละมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การปลกู และ
ฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีอันดีของการลงแขก อนรุ กั ษพ์ นั ธข์ุ า้ วพน้ื เมอื งเพมิ่ จากสงิ่ ทต่ี นรมู้ า
เกี่ยวข้าว ซึ่งได้รับความสนใจและให้ แตเ่ ดิม ที่ตกทอดกนั มาจากคนในชมุ ชน ทงั้ นี้
ความรว่ มมือเป็นอย่างดีจากเกษตรกร ตนและพวกสามารถนำ�ความรู้ท่ีได้ไปปรับใช้
เพื่อให้สามารถคัดพันธุ์ข้าว และนำ�มาใช้
ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน อาจารย์ ในการผลติ ขา้ วพนั ธพ์ุ น้ื เมอื งตอ่ ไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี
ประจ�ำ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ า ทสี่ �ำ คญั ตนยนิ ดที จี่ ะรว่ มพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถนิ่
เกษตรศาสตร์ ผู้บรรยายเร่ืองการเตรียม ใหด้ ขี น้ึ ตามพระบรมราโชบายอยา่ งยง่ั ยืน
ต้นกล้าข้าวเพื่อปักดำ�แล้ว กล่าวว่า ในปี
ทผ่ี า่ นมาจากการสอบถามเกษตรกร พบวา่ ยงั ปิดท้ายด้วย นักศึกษาสาขาเทคโนโลยี
ขาดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปลูกข้าว การเกษตร มรภ.สงขลา กล่าวว่า รู้สกึ ชอบท่ี
พน้ื เมอื งอนิ ทรยี แ์ บบปกั ด�ำ และการจดั การดนิ ได้ทำ�โครงการร่วมกับชุมชน ตนได้เรียนรู้
เพอ่ื เพม่ิ ผลผลติ ขา้ ว ซง่ึ จะตอ้ งด�ำ เนนิ การในชว่ ง การปลูกข้าวและได้ร่วมกันสืบสานประเพณี

เดือนตุลาคม-พฤศจิกายนของทุกปี ดังน้ัน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 คณะเทคโนโลยี
การเกษตรจึงได้จัดทำ�โครงการอบรมเชิง
ปฏิบัติการ เร่ือง “สืบสานวัฒนธรรมข้าว
ตามแนวพระราโชบาย ถวายในหลวงรชั กาลท่ี10
ปีท่ี 3” เพ่อื ให้ความร้เู ก่ยี วกับการจัดการดิน
การเตรยี มตน้ กลา้ ขา้ วเพอ่ื ปกั ด�ำ ในการผลติ ขา้ ว
พน้ื เมอื งอนิ ทรยี ์ และยงั ชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ
ของเกษตรกรในชมุ ชนเกาะแตว้ ได้ นอกจากนน้ั
ผู้เข้าร่วมโครงการยังได้ร่วมกิจกรรมลงแขก
ปักดำ�ข้าวในพ้นื ท่นี าประมาณ 3 ไร่ ซ่งึ การ
ลงแขกเกย่ี วขา้ วถอื เปน็ การสง่ เสรมิ วฒั นธรรม
ประเพณีท่ีมีมาแต่เดิมของไทยและเป็นการ
พัฒนาท้องถ่ินตามพระบรมราโชบายอย่าง
ยั่งยืนต่อไป

7ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

สเสวรทมิ ชแ.กผรน่งกึชามวรนภาด.สว้ งยขล“าวิถีวิทย”์ เกษตรกรเครือข่ายชาวนาวิถีวิทย์ นิทรรศการ
แสดงเทคโนโลยขี อง สวทช. นทิ รรศการประกวด
สวทช. จบั มอื มรภ.สงขลา เสรมิ แกรง่ จังหวดั สงขลา โดยมี นายจารวุ ฒั น์ เกลย้ี งเกลา เมล็ดพันธ์ุขา้ วและการชิมข้าว
ชาวนาสงขลาด้วย “วิถีวิทย์” เปิดเวที ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ
แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ ทคโนโลยผี ลติ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว เพื่อสร้างความตระหนักและแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2562 สวทช. โดยสถาบัน
คณุ ภาพดี ชว่ ยเพม่ิ คณุ ภาพและปรมิ าณ พรอ้ ม เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวคุณภาพดี การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
พฒั นาศกั ยภาพเกษตรกรสกู่ ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ทช่ี ว่ ยเพม่ิ คณุ ภาพและปรมิ าณผลผลติ กระตนุ้ ให้ (สท.) ได้ต่อยอดการยกระดับการผลิตข้าวใน
เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่ม จ.สงขลา ผ่านการดำ�เนินโครงการ “การเพ่ิม
เมอ่ื วนั ท่ี 21 กนั ยายน ทผ่ี า่ นมา ดร.นราวดี เครอื ขา่ ยทม่ี คี วามเขม้ แขง็ และการพฒั นาศกั ยภาพ ศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตข้าวแบบครบวงจรด้วย
บัวขวัญ รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การวิจัย เกษตรกรอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทง้ั การสรา้ งเครอื ขา่ ย กระบวนการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นพ้ืนท่ี
และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การท�ำ งานรว่ มกนั มงุ่ สกู่ ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื จ.สงขลา” โดยรว่ มกบั ศนู ยป์ ระสานงานกระทรวง
(มรภ.สงขลา) พรอ้ มดว้ ย ดร.ภทั รพร ภกั ดฉี นวน การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม
ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมประกอบดว้ ย การถอดบทเรยี นภายใต้ ประจ�ำ ภมู ภิ าค ภาคใต้ (ศวภ.3) คลนิ กิ เทคโนโลยี
บัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยี โครงการ “การเพ่ิมศักยภาพกลมุ่ ผผู้ ลติ ข้าวแบบ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ มรภ.สงขลา
การเกษตร และ นายพิชยดนย์ ชายมะ ครบวงจรด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์และ ถา่ ยทอดความรเู้ ทคโนโลยกี ารผลติ เมลด็ พนั ธขุ์ า้ ว
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เข้าร่วมงาน เทคโนโลยีในพน้ื ท่ี จ.สงขลา การเสวนาวิชาการ คณุ ภาพดี การตรวจวเิ คราะหด์ นิ ความส�ำ คญั ของดนิ
“เสริมแกร่งชาวนาสงขลา” ด้วย “วิถีวิทย์” เรื่อง กว่าจะเป็นเมล็ดพันธ์ุข้าวคุณภาพดีของ และการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับกลุ่ม
ณ ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วน ชุมชน การแสดงนิทรรศการนำ�เสนอผลงาน เครือข่ายชาวนาวิถวี ทิ ย์ 12 กลุ่ม ใน 11 อำ�เภอ
ของ จ.สงขลา เพือ่ เพ่มิ ผลผลิตขา้ ว ลดตน้ ทุนการ
ผลิต ส่งเสริมการเพิ่มพูนและแลกเปล่ียนความรู้
ระหว่างเกษตรกร ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพ
การผลิตขา้ วคุณภาพตรงตามพนั ธุ์

นอกจากน้ัน ยังมีการบริหารจัดการแปลง
ท่ีดีนำ�ไปสู่การได้รับมาตรฐาน GAP (Good
Agricultural Practices) รวมท้ังการเพ่ิมรายได้
ด้วยการปลูกพืชหลังนา (การปลูกพืชใช้นำ้�น้อย
ช่วงฤดูแล้ง) เช่น การปลูกข้าวโพดและการเก็บ
เมล็ดพันธ์ุไว้ใช้เอง การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
จากวัสดุที่มีในท้องถิ่น การฟื้นฟู อนุรักษ์
และขยายเช้ือเห็ดตับเต่าในพน้ื ที่ป่าพรุ เป็นตน้

ตมโคร.ทรภง่งุ .สลกงาาขนรลพาอร.ลคะงบลพอรน้ืมงทหรตี่อาโยดิชโตบขาา่งยมฯควพาฒัมคนบื าหชนุม้าชนตน้ แบบ

มรภ.สงขลา ลงพน้ื ทต่ี ดิ ตามความคบื หนา้ ภายใต้การดำ�เนินงานอย่างต่อเน่ืองของ
การดำ�เนินงานภายใต้โครงการพระบรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ได้แก่
ราโชบายฯ ร่วมขับเคล่อื นการพัฒนาชุมชน ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชมุ ทอง ผศ.ดร.คริษฐส์ พล
ตน้ แบบกลมุ่ โคเนอ้ื บา้ นทงุ่ ลาน กลมุ่ ปลกู กาแฟ หนพู รหม ดร.ศภุ คั รชา อภริ ตกิ ร ผศ.นพรตั น์
กลมุ่ แปรรปู อาหารตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง วงศ์หิรัญเดชา ดร.กมลทิพย์ นิคมรัตน์
พน้ื ท่ี ต.ทงุ่ ลาน อ.คลองหอยโขง่ อาจารย์ปริยากร สุจิตพันธ์ ดร.อดิศรา
ตนั ตสทุ ธกิ ลุ อาจารยส์ เุ พญ็ ดว้ งทอง รว่ มกบั
เม่ือไม่นานมานี้ ดร.นราวดี บัวขวัญ ศูนย์เคร่ืองมือกลางนำ�ทีมโดย ผศ.ดร.ทวีสิน
รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัยและบริการ นาวารัตน์ และ นางสาวเกศสพุ ร มากสาขา
วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) รวมถึงทีมงานจากสถาบันวิจัยและพัฒนา
พรอ้ มดว้ ย อาจารยพ์ ฒุ ธิ ร ตกุ เตยี น ผอู้ �ำ นวยการ มรภ.สงขลา ทุกคนด้วย
สถาบันวจิ ยั และพัฒนา ผศ.ดร.สายฝน ไชยศรี
รองผู้อำ�นวยการฯ ตลอดจนคณะทำ�งานจาก
สถาบันวิจัยและพัฒนา คณาจารย์และนักศึกษา
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร ลงพน้ื ทแ่ี นะน�ำ ตดิ ตาม
ความคืบหน้าการดำ�เนินงานภายใต้โครงการ
พระบรมราโชบายฯ และรว่ มขบั เคลอื่ นการพฒั นา
ชุมชนต้นแบบ ของกลุ่มโคเน้ือบ้านทุ่งลาน
กลุ่มปลูกกาแฟ และกลุ่มแปรรูปอาหาร
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พ้ืนท่ี ต.ทุ่งลาน
อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา

8 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มูลนธิ พิ ลเอก เปรม ติณสลู านนท์ และมูลนิธอิ าจารยส์ มบญุ ศรียาภัย
มอบทนุ การศกึ ษาชว่ ยเหลอื ผมู้ คี วามประพฤตดิ ี
มีจติ สาธารณะ แต่ขาดแคลนทุนทรพั ย์ พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ อดีตประธาน
มลู นธิ พิ ลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ และ วางพานดอกไม้ไหว้ครู คารวะอาจารย์สมบุญ องคมนตรีและรัฐบุรุษ ได้มอบเงินสมทบมูลนิธิ
มูลนิธิอาจารย์สมบุญ ศรียาภัย มอบทุน ศรียาภัย อดีตอธิการวิทยาลัยครูสงขลา ท้ังน้ี มาเป็นประจำ�ทุกปี และกำ�ชับให้คณะกรรมการ
การศกึ ษาชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษาผมู้ คี วามประพฤตดิ ี นักศึกษาท่ีได้รับทุนการศึกษาจากท้ังสองมูลนิธิ มลู นธิ ชิ ว่ ยกนั ระดมทนุ เพอ่ื เพมิ่ จ�ำ นวนทนุ ส�ำ หรบั
มจี ติ สาธารณะ แตข่ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ จะตอ้ งท�ำ กจิ กรรมจติ อาสาตอบแทนบญุ คณุ แผน่ ดนิ จัดสรรแก่นักศึกษา แต่ด้วยสภาวะดอกเบี้ย
จ�ำ นวน 30 ชว่ั โมง ธนาคารลดลง เงินทุนท่ีจัดสรรจึงสามารถทำ�ได้
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการแทน ตามภาวะท่ีเป็นไปได้ในแต่ละปี การคัดเลือก
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ผศ.ดร.ไพโรจน์ ด้วงวิเศษ ประธาน นกั ศกึ ษาเพอ่ื รบั ทนุ มงุ่ เนน้ นกั ศกึ ษาทที่ �ำ คณุ งาม
เปิดเผยว่า เมื่อวันท่ี 9 กันยายน ที่ผ่านมา ในพิธี กล่าวว่า ขอใหน้ ักศกึ ษาจดจ�ำ ไว้วา่ ทนุ ที่ได้ ความดี ให้สอดคล้องกับปณิธานของพลเอก
กองพัฒนานกั ศึกษา มรภ.สงขลา จดั พิธีมอบทุน มานั้นเปน็ ของใคร และมีคุณค่าเช่นไร ในการจะ เปรม ตณิ สูลานนท์ อดตี ประธานองคมนตรีและ
การศึกษามูลนิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้รับทุนนั้นนักศึกษาจะต้องประพฤติปฏิบัติตน รฐั บรุ ษุ ทว่ี า่ เกดิ มาตอ้ งตอบแทนบญุ คณุ แผน่ ดนิ
และทุนมูลนิธิอาจารย์สมบุญ ศรียาภัย ณ เปน็ คนดี และตอ้ งตอบตวั เอง ครอบครวั และสงั คม โดยสถานภาพทางการเงินของมูลนิธิพลเอก
ได้ว่าทำ�ไมเราจึงได้รับทุน ซ่ึงทุนมูลนิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
เปรม ติณสูลานนท์ และทนุ มลู นิธิอาจารยส์ มบญุ มยี อดเงนิ ณ วนั ท่ี 1 กนั ยายน 2563 เปน็ จ�ำ นวน
ศรยี าภยั ลว้ นเปน็ ทนุ ทม่ี คี วามตดิ ตรงึ ในใจทม่ี ตี อ่ เงนิ ทง้ั สน้ิ 9,600,959.94 บาท ในปกี ารศกึ ษา
ผใู้ หญ่ใจดี คนดี ท่ีเปน็ แบบอย่างในการประพฤติ 2563 ไดจ้ ดั สรรทนุ การศกึ ษารวม 9 ทนุ ๆ ละ
ปฏิบัติท่ีออกมาจากข้างใน โดยเฉพาะความ 8,000 บาท มอบให้แก่นักศึกษาของทาง
เมตตา กตญั ญู เสียสละ ซ่ือสัตย์ สจุ ริต และความ มหาวทิ ยาลัย
จงรกั ภักดี
ในสว่ นของทนุ มลู นธิ อิ าจารยส์ มบญุ ศรยี าภยั
หอ้ งประชมุ ภมู พิ ฒั นา อาคารกองพฒั นานกั ศกึ ษา อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จัดต้ังขึ้นในปี
โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก ผศ.ดร.ไพโรจน์ ดว้ งวเิ ศษ ยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษาและคุณลักษณะ พ.ศ.2528 โดยคณาจารย์ ขา้ ราชการ บคุ ลากร
อดีตอธิการบดี มรภ.สงขลา ประธานกรรมการ บัณฑติ มรภ.สงขลา กล่าวว่า มลู นธิ พิ ลเอก เปรม นกั ศกึ ษา ตลอดจนคหบดเี มืองสงขลา ซึง่ มีความ
มลู นิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ มหาวทิ ยาลัย ตณิ สลู านนท์ ไดม้ อบทนุ แกน่ กั ศกึ ษาครง้ั แรกในปี เคารพรกั ศรทั ธา ในคณุ งามความดแี ละคณุ ปู การ
ราชภัฏสงขลา และประธานกรรมการมูลนิธิ 2527 จ�ำ นวน 5 ทนุ ๆ ละ 1,500 บาท โดย ของ อาจารยส์ มบญุ ศรยี าภยั ไดร้ ว่ มกนั ระดมเงนิ ทนุ
อาจารย์สมบุญ ศรียาภัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ พลเอก เปรม ตณิ สูลานนท์ ได้ให้เกยี รตมิ ามอบ จดทะเบียนก่อต้งั มูลนิธิอาจารย์สมบุญ ศรียาภัย
สงขลา เป็นประธานมอบทุนให้แก่นักศึกษารวม ทุนในคร้ังน้ันด้วยตนเอง ในปี พ.ศ. 2528 วิทยาลัยครูสงขลา อาจารย์สมบุญ ศรียาภัย
27 คน นอกจากนั้น ภายในงานยังมีการวาง กระทรวงมหาดไทยแจง้ วา่ ชอ่ื มลู นธิ ซิ �ำ้ กบั มลู นธิ อิ น่ื เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสตรีฝึกหัดครูสงขลา
ดอกไม้คารวะ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ดังน้ัน วิทยาลัยครูสงขลาจึงขอเพ่ิมช่ือ วิทยาลัย และเมื่อโรงเรียนสตรีฝึกหัดครูสงขลายุบรวมกับ
อดีตประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ และ ครสู งขลา ตอ่ จากชอื่ มลู นธิ เิ ดมิ และไดข้ ออนญุ าต วทิ ยาลยั ครสู งขลา เมอ่ื ปี 2510 ไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่
เปลยี่ นแปลงชอ่ื สถาบนั ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั จนบดั นใ้ี ช้ ผอู้ �ำ นวยการของวทิ ยาลยั ครสู งขลา และปรบั เปลย่ี น
ชื่อว่า มูลนิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นอธกิ ารวทิ ยาลัยครสู งขลา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา มฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คล
เมอื่ ลาออกจากต�ำ แหนง่ อธกิ ารในปี 2523
ท่านยังคงดำ�รงตำ�แหน่งอาจารย์ของวิทยาลัย
ครูสงขลา จนเกษียณอายุราชการในปี 2528
ซึ่งการคัดเลือกนักศึกษาเข้ารับทุน มุ่งเน้น
ผู้ ข า ด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย์ ที่ มี ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ดี
มีจิตสาธารณะ ตามคุณลักษณะของ อาจารย์
สมบญุ ศรยี าภยั ผมู้ จี รยิ าวตั รงดงามและมนั่ คงใน
คุณงามความดีเป็นท่ีประจักษ์ โดยสถานภาพ
ทางการเงินของมูลนิธิอาจารย์สมบุญ ศรียาภัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา มียอดเงนิ ณ วันท่ี 1
กนั ยายน2563 เปน็ จ�ำ นวนเงนิ 7,953,463.78
บาท ในปกี ารศกึ ษา 2563 ไดจ้ ดั มอบทนุ จ�ำ นวน
18 ทนุ ทุนละ 6,000 บาท แบ่งเป็นนักศึกษา
ทวั่ ไป 16 ทนุ และนกั ศกึ ษาท่พี กิ ารทางหู 2 ทุน

9ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มลรงภน.าสมงขขล้อาตผกนลกึ งแ๑ก๔ป้ ัญองหคาก์ แรละพัฒนาชายแดนใต้

มรภ.สงขลา จบั มือ 14 องคก์ ร ลงนาม การศกึ ษาเอกชน 11. โรงเรยี นเสนาธกิ ารทหารบก ยุทธศาสตร์เพ่ือสานพลังวิชาการท้ังในและต่าง
บันทึกข้อตกลงเครือข่ายความร่วมมือทาง 12. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ ประเทศ 2. ร่วมสร้างชุดความรู้และนวัตกรรม
วิชาการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด วิจัยและนวัตกรรม 13. กองอำ�นวยการ ท่ีสำ�คัญสู่การขับเคลื่อนงานอย่างเป็นรูปธรรม
ชายแดนภาคใต้ ขบั เคลอื่ นการจดั การศกึ ษา รักษาความม่ันคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า 3. รว่ มพฒั นาฐานขอ้ มลู ส�ำ คญั ในการแกไ้ ขปญั หา
พัฒนางานวจิ ัย นวตั กรรม ควบคูท่ ำ�นุบ�ำ รงุ 14. ศนู ยอ์ �ำ นวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 4. รว่ มพฒั นา
ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ
วัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน และ ศักยภาพคนของกลุ่มเครือข่ายเพื่อสร้างพลัง
ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ รกั ษาราชการแทน ประสานความร่วมมือในการดำ�เนินการตาม ในการขับเคล่ือนงานทางวิชาการ ร่วมสร้าง
อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ง ข ล า นโยบายรฐั บาลและแนวทางการด�ำ เนนิ การตา่ งๆ ตัวแบบการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนท่ี เช่น
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เม่อื วนั ท่ี 15 กนั ยายน เพอื่ แกป้ ญั หาและพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีพหุวัฒนธรรมที่เป็นพ้ืนที่สันติสุขภาวะ
ท่ีผา่ นมา มรภ.สงขลา ได้ลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลง ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561- ร่วมเผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบ
ของเครือขา่ ยความรว่ มมือทางวิชาการ เพ่ือแกไ้ ข 2580) และแผนรองรับในระดับต่างๆ รวมทั้ง ที่เหมาะสม เพื่อสร้างพลังร่วมของทุกภาคส่วน
ปั ญ ห า แ ล ะ พั ฒ น า จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต้ นโยบายของรฐั บาล เพอ่ื รว่ มขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ งาน ในการขับเคลอื่ นงานไปสูก่ ารปฏิบัติ
Memorandum of Agreement (MOA) of วชิ าการ การจดั การศกึ ษา การพฒั นางานวจิ ยั และ
Academic Cooperation Networking for นวัตกรรม งานบริการวิชาการ ตลอดจนการ
Problem Solving and Development in ส่งเสริม ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม สนับสนุน
Southern Border Provinces ร่วมกับอีก 14 การแก้ปญั หาและพฒั นาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
องค์กร ณ ห้องประชุม Conference Hall
ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ สำ�หรับกรอบหลักการของเครือข่ายความ
60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ อ.หาดใหญ่ ร่วมมือ เป็นการดำ�เนินการเพื่อเสริมสร้างความ
จ.สงขลา โดยมี พลเอก ปราการ ชลยุทธ ร่วมมือในรูปแบบต่างๆ ในการศึกษาและวิจัยท่ี
ผู้แทนพิเศษของรัฐบาล เป็นประธานในพิธี มงุ่ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ความรทู้ เ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การ
ในการนี้ ดร.บรรจง ทองสรา้ ง รองผอู้ �ำ นวยการ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้
สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม ผศ.วสิน ทับวงษ์ โดยมีความร่วมมือในรูปแบบที่สำ�คัญ อาทิ
อาจารย์ประจำ�คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ร่วมพัฒนาและปรับปรุงกลไกความร่วมมือของ
(ผ้รู ่วมนำ�เสนอ) และ นายพิชยดนย์ ชายมะ เครือข่ายตั้งแต่ในระดับพื้นท่ีไปจนถึงในระดับ
เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารงานทว่ั ไป มรภ.สงขลา เขา้ รว่ มพธิ ี
ลงนามฯ ในครง้ั นด้ี ว้ ย

การลงนามบันทึกข้อตกลงที่จัดทำ�ข้ึนใน
ครงั้ นี้ เปน็ การท�ำ งานรว่ มกนั ระหวา่ ง มรภ.สงขลา
กบั องค์กรต่างๆ ไดแ้ ก่ 1. มหาวทิ ยาลยั สงขลา
นครนิ ทร์ 2. มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ 3. มหาวทิ ยาลยั
นราธิวาสราชนครินทร์ 4. มรภ.ยะลา
5. มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ ประจ�ำ วทิ ยาเขต
ยะลา 6. มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ 7. มหาวทิ ยาลยั
ฟาฏอนี 8. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน 9. สำ�นักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา 10. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ

10 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา ผนึก ธ.กรงุ ไทย ลงนามความร่วมมือ

“สนิ เชอื่ สวสั ดิการส�ำ หรบั บคุ ลากร”

มรภ.สงขลา ลงนามความร่วมมือ นายวศนิ วรรละออ ผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยผบู้ รหิ าร ดา้ น นายวศนิ วรรละออ ผอู้ �ำ นวยการฝา่ ย
ธนาคารกรุงไทย โครงการสินเช่ือ สำ�นักงานเขต สำ�นักงานเขตสงขลา 1 และ ผบู้ รหิ ารส�ำ นกั งานเขต ส�ำ นกั งานเขตสงขลา 1
สวัสดิการสำ�หรับบุคลากร ให้อัตรา นายพภิ พ วรรณกลู ผจู้ ดั การสาขาอาวโุ สสาขา กล่าวว่า ธนาคารได้นำ�เสนออัตราดอกเบี้ย
ดอกเบย้ี พรอ้ มเงอ่ื นไขพเิ ศษ ส�ำ หรบั สนิ เชอ่ื สงขลา ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และเง่ือนไขพิเศษตามรายการ ส่งเสริม
เพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่ออเนกประสงค์ ณ หอ้ งประชมุ ชน้ั 8 อาคารอ�ำ นวยการ การขายฯ เพื่อมอบเป็นทางเลือกให้กับ
และสนิ เช่อื กรุงไทยธนวฏั ผศ.ดร.ทศั นา กลา่ ววา่ การลงนามความ บุคลากรของทางมหาวิทยาลัย ได้มีโอกาส
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการ รว่ มมอื ระหวา่ ง มรภ.สงขลา กบั บมจ.ธนาคาร เสริมสภาพคล่องทางการเงิน สำ�หรับเป็น
แทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กรุงไทย ในครั้งน้ี เป็นการลงนามภายใต้ ค่าใช้จ่ายตามความจำ�เป็นและความต้องการ
(มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอื่ วนั ที่ 2 กนั ยายน โครงการสินเชื่อสวัสดิการสำ�หรับบุคลากรใน อาทิ ซ้ือบ้านพร้อมที่ดิน ซ้ือรถยนต์ ซอ้ื เครอ่ื ง
ที่ผ่านมา ตนพร้อมด้วยคณะผู้บริหารของ สงั กัดของ มรภ.สงขลา อาทิ สินเชอื่ เพอ่ื ท่ีอยู่ คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ หรอื สนบั สนนุ ใหม้ แี หลง่
มรภ.สงขลา อาทิ อาจารย์พิเชษฐ์ จันทวี อาศยั สนิ เชอ่ื อเนกประสงค์ และ สนิ เชอ่ื กรงุ ไทย เงินทุนเพื่อการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น
รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์พัฒนาระบบ ธนวัฏ เพ่อื เป็นสวสั ดกิ ารส�ำ หรับบุคลากรของ โดยบุคลากรของ มรภ.สงขลา สามารถ
การบริหารและพัฒนาหน่วยงาน อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ยกระดบั ความรู้ ความสามารถ ใช้บริการกับทางธนาคารกรุงไทยได้ทุกสาขา
จริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตร์ อนั จะสง่ ผลใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็ ในอาชพี การงาน ใน จ.สงขลา
การพัฒนานักศึกษาและคุณลักษณะบัณฑิต ตลอดจนมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดีข้นึ
ร่วมกับ บมจ.ธนาคารกรุงไทย นำ�โดย

11ปาริฉัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

หลกั สตู รสาธารณสขุ ฯ ภาคีเครือข่าย

MOUเตรียมความพรอ้ มท�ำ
หลักสูตรสาธารณสุขฯ มรภ.สงขลา ในการน้ี ดร.วรพล หนนู นุ่ ไดก้ ลา่ วรายงาน
จดั ประชมุ เตรยี มความพร้อมทำ� MOU ร่วม ความเปน็ มาในการจดั ประชมุ ฯ และน�ำ เสนอกรอบ
กับองค์กรวิชาชีพท่ีเป็นภาคีเครือข่าย เดิน ความต้องการความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย
หน้าสร้างความเข้าใจและยกระดับความ ของหลกั สตู รฯ ทง้ั ในฐานะฝา่ ยผใู้ หแ้ ละฝา่ ยขอรบั
ร่วมมือในอนาคต พร้อมท้ังนำ�เสนอตัวอย่างความก้าวหน้าของ
ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายบางหน่วยงานท่ไี ด้
ดร.วรพล หนูนุ่น ประธานหลักสูตร เจรจามากอ่ นหนา้ นบ้ี า้ งแลว้ และไดเ้ ปดิ เวทเี สวนา
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์และ และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ในกรอบความตอ้ งการความ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายแต่ละแห่ง และตรวจ
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พิจารณา (ร่าง/แนวทาง) การจัดทำ�กรอบความ
ที่ผ่านมา ทางหลักสูตรฯ จัดประชุมเตรียม ร่วมมือของหน่วยงานแต่ละแห่งท่ียกร่างไว้
ความพร้อมในการทำ� MOU ร่วมกับองค์กร นอกจากนน้ั ยงั ไดน้ ดั หมายการประชมุ หรอื พบกนั
วิชาชีพ หน่วยงานด้านสาธารณสุข ในสังกัด ในครง้ั ตอ่ ไป เพอ่ื สานตอ่ และตดิ ตามความกา้ วหนา้
องค์กรที่เป็นราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน
และองค์กรภาคประชาชน ที่เป็นภาคีเครือข่าย
ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา
ณ ห้องประชุม 10-103 อาคาร 10 โดย
ไดร้ บั เกยี รตจิ าก ผศ.ดร.อนมุ ตั ิ เดชนะ คณบดี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรภ.สงขลา
กล่าวเปิดการประชุม เพ่ือเตรียมความพร้อม
รอบแรกส�ำ หรบั การสรา้ งความเขา้ ใจและยกระดบั
ความรว่ มมอื ใหเ้ ปน็ ทางการ และน�ำ ไปสกู่ ารจดั ท�ำ
บนั ทกึ ความเขา้ ใจรว่ มกนั ตอ่ ไป

หลกั สูตรสาธารณสขุ ฯ นำ� นศ. เรียนรู้ประสบการณว์ ิชาชพี นอกห้องเรยี น
ออกภาคสนามพัฒนาสุขภาพชุมชน “ฅนบ้านเกาะเค่ียม” จ.ตรัง

หลักสูตรสาธารณสุขฯ มรภ.สงขลา กฬี าพน้ื บา้ นรว่ มกบั ชมุ ชน การรบั ประทานอาหาร นำ�เสนอข้อมูลจากการสำ�รวจสภาวะชุมชนแบบ
น�ำ นกั ศกึ ษาออกปฏบิ ตั กิ ารภาคสนาม ครง้ั ท่ี 17 ร่วมกัน การประมวล วเิ คราะห์สรปุ ผลการศึกษา เรง่ ดว่ น จดั โครงการบริการสขุ ภาพแกป่ ระชาชน
“พัฒนาสุขภาพชุมชน ฅนบ้านเกาะเค่ียม” ประเด็นรูปแบบการจัดการท่องเท่ียวชุมชนท่ีคง จัดนิทรรศการ “การจัดการท่องเท่ียวชุมชนที่คง
ต.กันตังใต้ จ.ตรัง เรียนรู้ประสบการณ์ สขุ ภาวะชมุ ชนไวไ้ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื : กรณศี กึ ษาชมุ ชน สขุ ภาวะชมุ ชนไวไ้ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื : กรณศี กึ ษาชมุ ชน
ทางวชิ าชพี นอกหอ้ งเรยี น บา้ นเกาะเคย่ี ม การจดั เกบ็ ขอ้ มลู วจิ ยั “การพฒั นา บ้านเกาะเค่ียม” และ นิทรรศการ “มหกรรม
รูปแบบการประยุกต์การละเล่นและกีฬาพื้นบ้าน พฒั นาสุขภาพชมุ ชนฅนบา้ นเกาะเคย่ี ม”
ดร.วรพล หนูนุ่น ประธานหลักสูตร ตามวัฒนธรรมด้ังเดิมของชุมชนเพื่อใช้ในการ
สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละ พัฒนาสขุ ภาพชมุ ชน” “ปฏิบัติการภาคสนามฯ ให้อะไรบ้าง
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นอกจากวชิ าทต่ี อ้ งเรยี นในหอ้ งเรยี น บางคนไมเ่ คย
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมอ่ื วันท่ี 2-4 ตลุ าคม นอกจากนนั้ ยงั มกี ารออกใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ ท�ำ กบั ขา้ ว ไมเ่ คยเขา้ ครวั กไ็ ดท้ �ำ หลายคนไดร้ ู้ว่า
ท่ีผ่านมา คณาจารย์และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในชุมชน การพัฒนามาตรฐานร้านขายของชำ� อาหารที่ร้านสะดวกซื้อไม่จำ�เป็นเลย เพราะไม่มี
หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ ออกปฏบิ ตั กิ าร รา้ นขายชา กาแฟ ในหมบู่ ้านเขตรบั ผิดชอบของ ให้ซื้อ การทำ�งานกลางฝนบ้างกลางแดดบ้าง
ภาคสนามครั้งที่ 17 “พัฒนาสุขภาพชุมชน รพ.สต.บา้ นเกาะเคีย่ ม พร้อมกัน และบริการงาน ก็ทำ�ได้สำ�เร็จลุล่วงด้วยดี บางคนไม่เคยนอนกับ
ฅนบ้านเกาะเค่ยี ม” ต.กนั ตงั ใต้ อ.กันตงั จ.ตรัง สุขาภิบาลอาหารและงานคุ้มครองผู้บริโภค พ้ืนท่ีแข็งกระด้างก็ได้นอน เม่ือเราเหนื่อยมากๆ
กิจกรรมประกอบด้วย การสำ�รวจสภาวะชุมชน จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ให้โลกในชุมชน ตามที่ การนั่งก็ทำ�ให้เราหลับสนิทได้ บางคนเป็นลูก
แบบเรง่ ดว่ นพรอ้ มทงั้ ท�ำ แผนทเี่ ดนิ ดนิ การละเลน่ แกนนำ�ชุมชนช้ีจุดปลูก จัดห้องสมุด/ศูนย์การ คนเดยี วหรอื ลกู คนสดุ ทอ้ ง แตใ่ นภาคสนามพนี่ อ้ ง
เรียนรู้เพื่อการรู้เท่าทันทางสุขภาพในโรงเรียน เต็มไปหมด นิสัยก็แตกต่างกันที่เราต้องเข้าใจ
บางคนเพ่ิงได้รู้ว่าข้าวมื้อที่อร่อยที่สุดคือม้ือท่ีเรา
หิวและม้ือที่ต้องกินเท่าที่มี และได้แบ่งปันกัน
ไดเ้ รยี นรวู้ า่ ชมุ ชนเขาใหใ้ จเราดว้ ยสง่ิ ทเ่ี ราใหเ้ ขาไป
รวมถึงส่ิงต่างๆ อีกมากมายท่ีครูสอนเธอไม่ได้
ท้ัง 4 ปี แต่ในภาคสนามจะสอนเธอได้
ด้วยตัวเธอเอง” ดร.วรพล กล่าว

12 ปารฉิ ัตร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

สมรรา้ภง.สจงติ ขสล�ำ านกึผรนกั กึ บเคา้ นรอืเกขดิ า่ ยวสิ าหกจิ ฯ

จดั คา่ ย “ศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ แบง่ ปนั ชมุ ชน”
บม่ เพาะเมลด็ พนั ธแ์ุ หง่ ความดี

มรภ.สงขลา จบั มอื เครอื ขา่ ยวสิ าหกจิ เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากรในฐานกิจกรรม “ในเรื่องความแท้ ความสมบูรณ์
ชมุ ชน จดั คา่ ย “ศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ แบง่ ปนั กว่า 10 คน รูปแบบค่ายเป็นกิจกรรม เราสามารถใช้วิชาชีพเข้าไปปรับปรุง บูรณะ
ชมุ ชน” ครง้ั ท่ี1 บม่ เพาะเยาวชนเมลด็ พนั ธ์ุ ในลกั ษณะ Walk Rally ประกอบดว้ ย ฐานท่ี 1 สิง่ กอ่ สร้าง โบราณสถานได้ แต่ความต่อเนอ่ื ง
แหง่ ความดี สรา้ งจติ ส�ำ นกึ รกั บา้ นเกดิ เหน็ กิจกรรมแต้มสุข สนุกกับสี ฐานท่ี 2 กจิ กรรม นนั้ หมายถงึ การมสี ว่ นรว่ มในการใชป้ ระโยชน์
คณุ คา่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ปั้นดินหัวเขา ฐานท่ี 3 กิจกรรมสร้างสรรค์ พื้นท่ีท่ีสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันและอนาคต
งานศลิ ปจ์ ากครามสงขลา ฐานที่ 4 กิจกรรม เพราะฉะน้ันส่ิงต่างๆ ท่ีสืบทอดมาจาก
อาจารย์โอภาส อิสโม ผู้อำ�นวยการ ร้องเล่น เป็น เพลง และ ฐานที่ 5 ฐาน บรรพบุรุษเราไม่ว่าจะเป็นศิลปะ วัฒนธรรม
สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย กิจกรรมสุนทรียะวิถีนาฏยท้องถ่ิน ปิดท้าย การแสดง หรือโบราณสถานก็ดี ไม่ใช่มรดก
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ด้ ว ย ก า ร ร่ ว ม ทำ � อ า ห า ร กั บ ชุ ม ช น แ ล ะ เพียงแค่คนรุ่นเรา แต่คือมรดกของคนในรุ่น
สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับเครือข่าย รบั ประทานรว่ มกนั พรอ้ มกจิ กรรมรอบกองไฟ ต่อไปที่เราหยิบยืมมาใช้แล้วเราต้องปลูกฝัง
วสิ าหกิจชุมชน ประกอบดว้ ย วิสาหกิจชมุ ชน โดยมีนักเรยี นโรงเรยี นวัดบอ่ ทรพั ย์ เยาวชน ทัศนคติแก่เยาวชนด้านสืบสาน รักษา และ
Ecotourism Songkhla Thailand ธุรกจิ เพ่อื ในชุมชน ต.หัวเขา และชาวบ้าน เข้าร่วม ต่อยอด สนองพระบรมราโชบายของพระบาท
ชุมชน Singora Comes Alive หอศิลป์ กจิ กรรม ราว 100 คน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 น้อมนำ�
Art mill สงขลา ทีมแต้มสุขสนุกกับสี ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน”
จากโรงเรยี นมหาวชริ าวธุ ศลิ ปนิ รบั เชญิ ศลิ ปนิ ด้าน อาจารยก์ มลนาวิน อนิ ทนูจิตร อาจารย์กมลนาวนิ กลา่ วและวา่
จากหวั เขาจากนทิ รรศการ Singora Comes รองผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยยทุ ธศาสตรศ์ กึ ษาคน้ ควา้
Alive PTTEP บรษิ ทั หาดทพิ ย์ จ�ำ กดั Songkhla วิจัยข้อมูลองค์ความรู้และอนุรักษ์ศิลปะ ศิ ล ป ะ คื อ ผ ล แ ห่ ง พ ลั ง ท า ง ค ว า ม คิ ด
Station สถานีความสุข สถานีสร้างสรรค์ และวัฒนธรรม สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม สร้างสรรค์ทีแ่ สดงออกในรปู ลกั ษณ์ตา่ งๆ กัน
และ กระทรวงอตุ สาหกรรม จ.สงขลา จดั คา่ ย มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ กลา่ วว่า ตนใน ไม่ว่าจะเป็นสุนทรียภาพ ความรื่นรมย์
ศิลป์สร้างสรรค์ แบ่งปันชุมชน ครั้งที่ 1 ฐานะเลขานุการหน่วยอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี จารตี ประเพณี หรอื
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ที่ผ่านมา ณ บ้านใน ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถ่ิน จ.สงขลา ความเช่ือในลัทธิศาสนา นอกจากรูปแบบ
กำ�แพงแหลมสน ต.หัวเขา อ.สิงหนคร
จ.สงขลา จุดประสงค์เพื่อใช้ศิลปะสร้างสรรค์ ไ ด้ มี โ อ ก า ส สำ � ร ว จ เ พ่ื อ จั ด ทำ � ฐ า น ข้ อ มู ล
ในการสรา้ งการเรยี นรู้ ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ และ สงิ่ แวดลอ้ มศลิ ปกรรมในพนื้ ทเี่ มอื งเกา่ สงขลา
ความส�ำ คญั ของทอ้ งถน่ิ ใหก้ บั เดก็ และเยาวชน ฝงั่ หวั เขาและแหลมสนบอ่ ยครง้ั พบวา่ เมอื งเกา่
สงขลาในพื้นท่ีดังกล่าวมีต้นทุนวัฒนธรรม
อาจารย์โอภาส กล่าวว่า มรภ.สงขลา ในระดับสูง ท้ังสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์คณะศิลป- ส่งิ แวดล้อมศลิ ปกรรม เน่อื งจากเปน็ เมอื งเกา่
กรรมศาสตร์ ทำ�หน้าที่วิทยากรประจำ�ฐาน ของสงขลาก่อนจะย้ายมาฝั่งบ่อยาง จนเป็น
เรียนรู้ ได้แก่ ผศ.ดร.จรรย์สมร ผลบุญ เมืองสงขลาในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง
วิทยากรประจำ�ฐานสุนทรียะวิถีนาฏยท้องถ่ิน ศักยภาพการประกาศเป็นพื้นท่ีมรดกจังหวัด
อาจารย์ชัยวัฒนภัทร เลาสัตย์ วิทยากร ซึ่ ง อ า ศั ย ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ต้ น ทุ น
ประจ�ำ ฐานปน้ั ดนิ หัวเขา และ อาจารยภ์ ูษติ วัฒนธรรม ประกอบด้วย ความแท้
สุวรรณมณี วิทยากรประจำ�ฐานกิจกรรม ความสมบรู ณ์ และ ความตอ่ เน่อื ง
ร้อง เล่น เป็น เพลง พร้อมทั้งส่งนักศึกษา
13ปาริฉตั ร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

กิจกรรมที่สอดคล้องกับนิยามคำ�ว่าศิลปะ อาจารย์ชัยวัฒนภัทร เลาสัตย์ ปักษ์ใต้บ้านเรา เน้นความสนุกและการมี
สถานท่ีในการจัดกิจกรรม บ้านในกำ�แพง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จำ � ห ลั ก สู ต ร ก า ร อ อ ก แ บ บ ส่วนร่วม ถ่ายทอดเป็นเนื้อเพลงและ
แหลมสนซ่ึงเป็นบ้านคหบดีสำ�คัญ บริเวณ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา วทิ ยากร เครอ่ื งดนตรอี ย่างงา่ ย
ทา่ เรอื ตง้ั แตเ่ มอื งเกา่ สงขลาฝง่ั แหลมสน สถานท่ี ประจำ�ฐานปั้นดินหัวเขา กล่าวว่า ต.หัวเขา
ส�ำ คญั ในอดตี ไดน้ �ำ มาจดั เปน็ พน้ื ทแ่ี หลง่ เรยี นรู้ เ ป็ น ที่ ต้ั ง ข อ ง เ มื อ ง เ ก่ า ส ง ข ล า ท่ี มี ม ร ด ก ปดิ ทา้ ยดว้ ย น.ส.ปารชิ าด สอนสภุ าพ
ทำ�ให้เกิดความรู้สึกซาบซ้ึงต่อความงาม วัฒนธรรมทรงคุณค่ามากมาย ค่ายศิลป์ ประธานวสิ าหกจิ ชมุ ชน Ecotourism Songkhla
กอ่ เกิดจรยิ ธรรมในจิตใจของคน และในทส่ี ุด สร้างสรรค์ แบ่งปันชุมชน ท่ีจัดข้ึนในคร้ังนี้ Thailand และ น.ส.พชิ ชาณี เตชะพมิ านวงศ์
กส็ ง่ ผลไปสสู่ งั คมทส่ี งบและสนั ติ หากจะบอกวา่ ช่วยให้น้องๆ เยาวชนในพ้ืนที่ได้เรียนรู้และ ผกู้ อ่ ตง้ั Singora Comes Alive ผปู้ ระสานและ
ศิลปะคือความดีก็คงจะไม่ผิดหรือแปลก ตระหนักถึงคุณค่าของท้องถ่ินท่ีตนอาศัย ด�ำ เนนิ โครงการ กลา่ วถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการ
แต่อย่างใด เพราะโครงการน้ีได้เร่ิมบ่มเพาะ ผา่ นกจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ ตนรสู้ กึ ดใี จและ จัดงานว่า เพื่อเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของ
เยาวชน เมลด็ พนั ธแ์ุ หง่ ความดไี วใ้ นชมุ ชนแลว้ มคี วามสขุ มากๆ ทไ่ี ดเ้ หน็ นอ้ งๆ เยาวชนเรยี นรู้ พ่ีน้องสองฝ่ังทะเลสาบสงขลา สร้างรอยย้ิม
อยา่ งมคี วามสขุ และหวงั วา่ ในอนาคตเยาวชน และความสุข ได้แลกเปล่ียนแนวความคิด
ขณะท่ี ผศ.ดร.จรรย์สมร ผลบุญ เหล่านี้จะเติบโตขึ้นเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการ วิถีชีวิตซ่ึงกันและกัน ท่ีสำ�คัญ เพ่ือสร้าง
รองผู้อำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม พฒั นาท้องถน่ิ จิตสำ�นึกรักบ้านเกิด ให้กับเด็กในชุมชน
มรภ.สงขลา วิทยากรประจำ�ฐานสุนทรียะวิถี ให้พวกเขาได้เห็นคุณค่าความสามารถใน
นาฏยท้องถ่ิน กล่าวถึงความประทับใจว่า อาจารย์ภูษิต สุวรรณมณี คณะ ตัวเองผา่ นงานศิลป์สรา้ งสรรค์
กจิ กรรมนส้ี อนใหเ้ ดก็ ๆ ดงึ วถิ ชี วี ติ ในชมุ ชนมา ศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา กล่าวว่า
เล่าเร่ืองร้อยเรียงผ่านนาฏศิลป์ โดยการใช้ กจิ กรรมในฐานเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ๆ รว่ มกนั คดิ
นาฏยศัพท์และภาษาท่าอย่างง่าย ถ่ายทอด เน้ือเพลงจากวิถีชีวิตของเขาท่ีอยู่ในชุมชน
จากวถิ ชี มุ ชนของแตล่ ะครอบครวั อาทิ การท�ำ รว่ มกบั พวกพๆ่ี ราชภฏั และการเรยี นรจู้ งั หวะ
ประมง การท�ำ สวน เปน็ ต้น ดนตรีจากวัสดุธรรมชาติ โดยใช้ทำ�นองเพลง

สมงรขภล. า ถา่ ยทอดสตู รสบจู่ ากตาลโตนด ผลงาน นศ.

“ออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ ” สชู่ มุ ชนโหนด นา เล อ.สทงิ พระ

เมอ่ื วนั ที่ 10 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา เจา้ หนา้ ที่ ผศ.ดร.ทวีสิน นาวารัตน์ ผศ.เชาวนีพร
งานศูนย์เคร่ืองมือกลาง สถาบันวิจัยและ ชีพประสพ และ ดร.ธีรยุทธ์ ศรียาเทพ
พั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ง ข ล า ลงพ้ืนท่ี ณ กลุ่มโหนด นา เล อ.สทิงพระ
(มรภ.สงขลา) พร้อมด้วยนักศึกษาจากคณะ จ.สงขลา เพื่อถ่ายทอดสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมี สบู่จากตาลโตนด โดยนักศึกษาและ
มรภ.สงขลา ซึ่งได้เข้าร่วมโครงการออมสิน คณะอาจารยข์ องทางมหาวิทยาลยั ไดร้ ว่ มกัน
ยุวพฒั น์รักษถ์ น่ิ ประจำ�ปี 2563 โดยได้รับ พั ฒ น า สู ต ร ดั ง ก ล่ า ว ใ น ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร
งบประมาณสนับสนุนจากธนาคารออมสิน นอกจากน้ัน กลุ่มนักศึกษายังได้สอนการ
พรอ้ มดว้ ยคณะอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ประกอบดว้ ย ทำ�บัญชีรายรับรายจ่ายให้แก่สมาชิกกลุ่ม
โหนด นา เล อกี ดว้ ย

14 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สพงฒั ขลนาาวสิ าหกจิ ชมุ ชนกลมุ่ แปรรปู จง้ิ หรดี ต.เขาแดง อ.สะบา้ ยอ้ ย
ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ใหม้ คี วามหลากหลาย เพม่ิ รายไดผ้ ปู้ ระกอบการใหม่

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จับมือ และ นายภคพล กำ�ภู นักศึกษาหลักสูตร อน่ึง การลงพ้ืนท่ีในครั้งนี้วัตถุประสงค์
ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ มรภ.สงขลา ลงพ้นื ท่ี เทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิชาเอกเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพและเพ่ิมผลผลิตการ
ต.เขาแดง อ.สะบา้ ยอ้ ย พฒั นาประสทิ ธภิ าพ การจดั การอตุ สาหกรรม รว่ มกบั ศนู ยบ์ ม่ เพาะ เลี้ยงจ้ิงหรีด รวมถึงส่งเสริมสนับสนุนพัฒนา
ควบคู่เพ่ิมผลผลิตกลุ่มแปรรูปจ้ิงหรีด ธรุ กจิ มรภ.สงขลา ซง่ึ น�ำ โดย นางสาวอมราวดี วสิ าหกจิ ชมุ ชน/ผปู้ ระกอบการใหมใ่ หม้ รี ายได้
สนบั สนนุ วสิ าหกจิ ชมุ ชน/ผปู้ ระกอบการใหม่ วงศเ์ ทพ นางสาวกติ ตยิ า พรอ้ มมลู และ เพม่ิ ขน้ึ ยกระดบั ผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี วามหลากหลาย
มรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ นางสาวอรอนงค์ ไพจิตรจินดา เข้าร่วม และได้มาตรฐาน เพ่ิมช่องทางจัดจำ�หน่าย
เมื่อวันท่ี 28 กันยายน ที่ผ่านมา โครงการพฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชน/ผปู้ ระกอบการใหม่ สง่ ผลให้คนในชมุ ชนมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ีข้ึน
ผศ.คลุ ยา ศรโี ยม อาจารยค์ ณะเทคโนโลยี ในเขตพ้ืนท่ีบริการของมหาวิทยาลัย ณ
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กลุ่มแปรรูปจ้ิงหรีด ต.เขาแดง อ.สะบ้าย้อย
(มรภ.สงขลา) พร้อมด้วย นายอัมรี เจะ๊ หลี จ.สงขลา

คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม

ลงพืน้ ที่กล่มุ ผลติ ภัณฑข์ นมพื้นบา้ น
พฒั นาทักษะอาชีพผู้ขาดแคลนทุนทรัพยแ์ ละดอ้ ยโอกาส ชมุ ชนบา้ นด่าน

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา ลงพ้ืนที่กลุ่มผลิตภัณฑ์
ขนมพื้นบ้านชุมชนบ้านด่าน ต.เกาะแต้ว พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ขนม
ดอกจอก หวังช่วยสรา้ งรายได้ ยกระดบั สชู่ มุ ชนเข้มแข็งอยา่ งย่ังยืน

เมือ่ วนั ท่ี 12 ตุลาคม ที่ผ่านมา ผศ.คลุ ยา ศรีโยม ดร.ศรวี รรณ ข�ำ ตรี
อาจารย์คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา)
พรอ้ มทมี งาน ลงพน้ื ทก่ี ลมุ่ ผลติ ภณั ฑข์ นมพน้ื บา้ นชมุ ชนบา้ นดา่ น หมทู่ ่ี 4 ต.เกาะแตว้
อ.เมือง จ.สงขลา เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ขนมดอกจอก ภายใต้โครงการ
พฒั นาทกั ษะอาชพี ส�ำ หรบั ผทู้ ข่ี าดแคลนทนุ ทรพั ยแ์ ละดอ้ ยโอกาสทใ่ี ชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน
ปี 2563 โดยมี ดร.กันตภณ มะหาหมัด และ ดร.วนิดา เพ็ชร์ลมุล
เป็นวิทยากร วัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน และยกระดับสู่ชุมชน
เข้มแขง็ อยา่ งยง่ั ยนื

นอกจากนั้น คณะทำ�งานยังได้สอบถามข้อมูลปัญหาจากผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน (อสม.) ตลอดจนคนในชุมชน เก่ียวกับ
ผลกระทบจาก COVID-19 และรายละเอียดอื่นๆ เพ่ือนำ�ข้อมูลมารายงานต่อ
มหาวิทยาลัย ในการด�ำ เนนิ การบรรเทาความเดือดร้อนของคนในชุมชนต่อไป

15ปาริฉตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

“อาจารย์ศิวะ อินทะโคตร” หลักสูตร “อชน.ศะวเิ ละิศออนิ นั ทดะบัโค๒ตร”
ทัศนศิลป์ มรภ.สงขลา สร้างช่ือต่อเน่ือง
ล่ า สุ ด ค ว้ า ร า ง วั ล ช น ะ เ ลิ ศ อั น ดั บ 2 แข่งขนั สนี ้ำ�ออนไลน์นานาชาติ
ก า ร แข่ ง ขั น สี นำ้ � อ อ น ไ ล น์ น า น า ช า ติ
WATERCOLOR 2020 ท่ามกลางผลงานที่ ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนระหว่างน้ำ�กับสี เช่น การลงสี
ส่งเข้าประกวด 322 ช้ิน จากศิลปิน ไปก่อนแล้ว รอจังหวะให้สีหมาดค่อยหยดนำ้�
12 ประเทศท่ัวโลก หรือหยดนำ�้ สลัดน�ำ้ ตามลงไป เพอ่ื หาจงั หวะการ
เกิดคราบท่แี ตกตา่ งกัน หรอื การลงสีไปกอ่ นขณะ
อาจารยศ์ วิ ะ อนิ ทะโคตร อาจารยป์ ระจ�ำ ท่ีสียังเปียกอยู่ จึงค่อยสลัดสีตามลงไป ท้ังสีข้น
หลักสูตรทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สเี หลวจนกระทง่ั มีแตน่ ำ�้ หรอื การโรยผงสบี างจุด
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ในพน้ื ทที่ ส่ี ยี งั ไมแ่ หง้ ดี ผงสจี ะละลายและกระจาย
เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆ น้ีตนได้รับรางวัลชนะเลิศ ตัวว่ิงไปตามทิศทางของนำ้� ทำ�ให้เกิดความงาม
อนั ดบั ท่ี 2 ในการแขง่ ขนั สนี �ำ้ ออนไลนน์ านาชาติ ของคราบความอิสระของเทคนิค ให้ความเป็น
WATERCOLOR 2020 จัดโดยกลุ่มเครือข่าย
ศิลปิน Ronger Gari (The Vehicle of Colour ผลงานของ อ.ศิวะ อินทะโคตร
ประเทศบงั กลาเทศ ซงึ่ เปน็ กลมุ่ เครอื ขา่ ยศลิ ปนิ ท่ี สีน้ำ�แสดงตัวออกมาให้มากที่สุด โดยบังคับและ
จั ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ภ า พ สี นำ้ � แ ล ะ จั ด ควบคุม (จากผ้ทู �ำ ) ให้น้อยทส่ี ดุ และน�ำ มาปรับใช้
กจิ กรรมทางศลิ ปะมาตง้ั แตป่ ี 2559 กบั การวาดภาพในหวั ขอ้ ตา่ งๆ
การแข่งขันสีน้ำ�ออนไลน์นานาชาติ
WATERCOLOR 2020 ทางกลุ่ม ผลงานชิ้นนี้ได้นำ�เทคนิคท่ีกล่าวมาปรับใช้
เครือข่ายได้เปิดให้ศิลปินที่มีอายุ กบั ภาพหุน่ น่งิ คือ ผลไม้ หมอ้ ดิน เป็นแนวเรอ่ื ง
ต้ังแต่ 18 ปีขึน้ ไปสามารถส่งผลงาน ธรรมดา แต่เนน้ สาระไปทีก่ ารวางกลมุ่ สแี ละแสง
สีน้ำ�ได้ โดยไมจ่ �ำ กัดขนาดและหัวขอ้ เงาให้เกิดจังหวะท่ีตัดกัน และใช้เทคนิคการ
การประกวด ส่งโดยการโพสต์ภาพ สร้างคราบต่างๆ เป็นอากาศในภาพและสร้าง
และรายละเอียดของผลงานไปท่ีหน้า ความเชอื่ มโยงกัน ให้เกิดเป็นเอกภาพในชนิ้ งาน
กลมุ่ เพจ Ronger Gari ตามก�ำ หนด ซ่ึงการได้รับเลือกจากคณะกรรมการให้ได้รับ
ระยะเวลาการเปิดรับสมคั ร เมอ่ื ครบ รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 น่าจะเกิดจากความ
กำ�หนดจึงมีการคัดเลือกตัดสินโดย โดดเด่นของสีและเทคนิคท่ีแตกต่างจากผลงาน
คณะกรรมการจากประเทศต่างๆ ช้นิ อ่นื ๆท่สี ่งเข้าร่วมประกวด ถึงแม้จะเป็นเพียง
อาทิ บงั กลาเทศ อนิ เดยี ไทย ฯลฯ แนวเร่ืองธรรมดาแต่การสร้างบุคลิกของเทคนิค
มีความน่าสนใจและมีลักษณะเฉพาะ ที่เปิด
อาจารย์ศิวะ กล่าวว่า ในการ ช่องทางให้กับงานในรูปแบบน้ีได้มีแนวทางท่ี
แข่งขันสีนำ้�ออนไลน์นานาชาติครั้งนี้ เป็นทางเลือกท่ีเปิดกว้างข้ึนและสามารถนำ�ไป
มีศิลปินจาก 12 ประเทศส่งผลงาน ตอ่ ยอดสรา้ งสรรคง์ านไดต้ อ่ ๆ ไป
เข้าร่วมประกวด มีผลงานรวมท้ังส้ิน 322 ช้ิน
โดยคณะกรรมการไดค้ ดั เลอื กและตดั สนิ ผลงานที่ 16 ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
ดีท่ีสุด 10 ชิ้น แบ่งเป็นผลงานรางวัลชนะเลิศ
(Winner) 3 ชิ้น คอื รางวลั ที่ 1 2 และ 3 และ
ผลงานรางวลั กติ ตมิ ศกั ด์ิ (Honorary) อกี 7 รางวลั
ซึง่ รางวลั ท่ี 1 ได้แก่ Zannatul Ferdous Meem
จากประเทศบงั กลาเทศ รางวลั ท่ี 2 Siwa Inthakhot
(ศวิ ะ อินทะโคตร) จากประเทศไทย รางวลั ที่ 3
Sourav Bonik จากประเทศบังกลาเทศ โดยผู้
ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 2 3 ได้รับ
ใบประกาศนียบัตรและเงินรางวัล TK 5,000
3,000 และ 2,000 ตามลำ�ดบั

อาจารย์ประจำ�หลักสูตรทัศนศิลป์ มรภ.
สงขลา กล่าวอีกว่า ผลงานท่ีตนสร้างสรรค์ข้ึน
มชี อ่ื วา่ สีสันของภาพหุ่นน่ิง (Colorful still life)
ใช้เทคนิคสีนำ้�ในการสร้างสรรค์ผลงานขนาด
56 x 38 เซนตเิ มตร โดยใชเ้ วลาในการสรา้ งสรรค์
ผลงานประมาณ 5-7 วนั เนือ่ งจากการประกวด
ไมไ่ ดจ้ �ำ กดั หวั ขอ้ และขนาด จงึ ไดน้ �ำ ผลงานทกี่ �ำ ลงั
สนใจทดลองคน้ คว้าอย่สู ่งเข้ารว่ มแขง่ ขัน คือเปน็
ผลงานในชุดท่ที ดลองการเกิดคราบและปฏิกิริยา

คสวา้ดุ รเาจงวง๋ ัล“Sอp.ศeิวcะ iอaนิ l ทAะโwคตaรr”d

โชว์ขั้นตอนทำ�งาน “Step by Step”
Special Awardเวทีแข่งขนั สนี �้ำ นานาชาติ
บนกระดาษขนาด 58x36 ซม. เป็นผลงาน 1
ในจำ�นวน 10 ชิ้นท่ีทำ�ขึ้นในปี 2019 ผลงาน
ชดุ นม้ี แี รงบนั ดาลใจมาจากความงามของหญงิ สาว
ลวดลายผ้าคลุม และดอกไม้ ซึ่งในการประกวด
คร้ังน้ีสามารถส่งผลงานชิ้นที่ทำ�ย้อนหลังได้
“อาจารยศ์ วิ ะ อนิ ทะโคตร” มรภ.สงขลา ประจำ� Stage เรียกว่า Stage Winners จ�ำ นวน (เนื่องจากการประกวดมีวัตถุประสงค์ท่ีการแสดง
โชว์ศักยภาพต่อเน่ือง ล่าสุดคว้ารางวัล 4-5 รางวัล ผู้ที่ไม่ได้รับรางวัลหรือผู้ท่ีไม่ผ่าน ขั้นตอนการทำ�งาน) แนวความคิดของผลงาน
Special Award แขง่ ขนั สนี �ำ้ นานาชาตอิ อนไลน์ เขา้ รอบสดุ ทา้ ย สามารถสง่ ผลงานเขา้ แขง่ ขนั ใหม่ ตอ้ งการน�ำ เสนอความงามบนใบหนา้ ของหญงิ สาว
International watercolor competition ไดใ้ น Stage ตอ่ ๆ ไป แต่ตอ้ งเปน็ ผลงานชิน้ ใหม่ ท่ีมีการปกปิดด้วยผ้าคลุมในบางส่วน และเผย
“Step by Step” โชวข์ น้ั ตอนการท�ำ งานแบบ หา้ มใช้ช้ินเดิม ให้เห็นถึงใบหน้าในบางส่วน การปกปิดเป็น
หมดเปลอื ก ตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ จนแลว้ เสรจ็ อาการท่ีแสดงถึงความธรรมดาความเรียบร้อย
ผู้ที่ได้รับรางวัลในกลุ่ม Stage Winners ในขณะเดียวกันก็แสดงถึงการปิดบัง อำ�พราง
อาจารยศ์ วิ ะ อนิ ทะโคตร อาจารยป์ ระจ�ำ ทง้ั หมด ทั้ง 4 รอบ คอื กล่มุ ท่จี ะไปชิงรางวัลใหญ่ ซ่อนเร้น ทำ�ให้เกิดความสงสัยชวนให้ค้นหา
หลักสูตรทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เม่ือการแข่งขันท้ัง 4 รอบสิ้นสุดลง คือรางวัล จงึ น�ำ มาแสดงออกในผลงาน โดยน�ำ เสนอความงาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) The Main Winner ซ่ึงถือเปน็ รางวลั ใหญส่ ุดและ ของใบหน้าท่ีสลับกับร้ิวรอยและลวดลายผ้า
เปดิ เผยว่า ตนไดร้ ับรางวัล Special Award จาก มีเพียงรางวัลเดียว ส่วนผู้ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
การแข่งขันสีนำ้�นานาชาติออนไลน์ Interna-
tional watercolor competition “Step by Step” และความพร่าเลือนของแสงเงาใบไม้ดอกไม้
ซึ่งเป็นการแข่งขันที่จัดขึ้นโดยกลุ่มเครือข่ายสีน้ำ� ที่ตกกระทบลงมา เพ่ือส่ือให้เห็นถึงความงาม
นานาชาติ ประเทศโปแลนด์ IWS POLAND ที่ปกปิดซ่อนเร้นทั้งใบหน้าท่ีถูกห่อคลุมและ
และมีการจดั งานมาแล้ว 2 ครง้ั ปีนี้เปน็ คร้ังที่ 2 ถกู ปกคลุมดว้ ยเงาของต้นไมอ้ กี ที
มรี ปู แบบการจดั งานโดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะสง่ เสรมิ “รู้สึกดีใจมากกับรางวัลที่ได้รับ ตอนแรก
เผยแพรแ่ ละแลกเปลยี่ นความรใู้ นการสรา้ งสรรค์ ทสี่ ง่ ไมไ่ ดค้ าดหวงั เรอ่ื งรางวลั เพราะเวทนี ถ้ี อื เปน็
สนี �้ำ แนวคดิ หลกั ของการแขง่ ขนั คอื เพอื่ ใหศ้ ลิ ปนิ รายการใหญ่ของปี มีผู้เข้าแข่งขันมากมาย
มือใหม่ได้เรียนรู้ ขณะเดียวกนั ศลิ ปินมอื อาชีพได้ และเป็นมืออาชีพระดับศิลปินมาสเตอร์ทางสีน�้ำ
แบง่ ปนั ประสบการณ์ ทง้ั เทคนคิ วธิ กี าร แนวความคดิ หลายคน คาดหวังว่าได้ผ่านเข้ารอบ Finalists
เพ่อื ให้ความร้ไู ด้เกิดการถ่ายเท เช่อื มโยง และ ก็เพียงพอ เพราะได้ลงตีพิมพ์ในสูจิบัตรงาน
สามารถน�ำ ไปปรบั ใชใ้ นการพฒั นาผลงานตอ่ ไป และเปน็ ครง้ั แรกทีส่ ง่ ประกวดเวทีน้ี คร้ังท่ี 1 ของ
เวทีน้ีท่ีจัดในปี 2019 ไม่ได้ส่งผลงานเข้าร่วม
การแขง่ ขนั เปดิ ใหผ้ สู้ มคั รสง่ ไฟลภ์ าพผลงาน ประกวด เน่ืองจากไม่เข้าใจกติกา และมี
ท่แี สดงขั้นตอนการทำ�งาน 5-6 ขนั้ ตอน ตัง้ แต่ รายละเอียดในการส่งแต่ละ Stage ค่อนข้าง
เร่ิมลงมือทำ�จนกระท่ังผลงานเสร็จสมบูรณ์ ซับซ้อน ในคร้ังท่ี 2 นี้จึงศึกษาข้ันตอนการส่ง
พร้อมท้ังเขียนคำ�อธิบายประกอบทุกข้ันตอนเพื่อ อยา่ งละเอยี ดและสง่ ผลงานไปตามขน้ั ตอนจนครบ”
เป็นการเปิดเผยถึงเทคนิคต่างๆ ในการทำ�งาน Finalists คอื กลมุ่ ทจ่ี ะไปชงิ รางวลั พเิ ศษ คอื รางวลั อาจารยศ์ วิ ะ กลา่ ว
ท้ังการใช้สี การผสมสีก่อนหลัง การวางชั้นสี Special Award มีจำ�นวนหลายรางวัลด้วยกัน
เทคนคิ การระบาย การแทรกสเี คลอื บสี การผสมน�ำ้ ซึ่งการแข่งขันในปีนี้มีผู้เข้าร่วมส่งผลงานจำ�นวน
และเทคนิคอ่ืนๆ ท่ีเป็นลักษณะเฉพาะบุคคล 500 รายการ จากศิลปิน 55 ประเทศท่ัวโลก
รวมทงั้ แจง้ ชนดิ ของกระดาษและพกู่ นั ทใ่ี ช้ เพอื่ ให้ เมอ่ื การแขง่ ขนั สนิ้ สดุ ลง ทง้ั 4 Stage ไดผ้ ทู้ ไี่ ดร้ บั
ผู้เข้าแข่งขันอื่นๆ ตลอดจนผู้ชมงานได้เห็นถึง รางวัล The Main Winner 1 รางวัล รางวัล
ความลับในการทำ�งานของศิลปินแต่ละคน Stage Winners 18 รางวัล รางวัล Special
(ในยคุ กอ่ นทย่ี งั ไมม่ อี นิ เทอรเ์ นต็ การไดเ้ หน็ ขน้ั ตอน Award 58 รางวัล และผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
การท�ำ งานของศลิ ปนิ นน้ั เปน็ เรอ่ื งทย่ี ากมาก) Finalists 113 คน ซึง่ เป็นทีน่ า่ ภูมใิ จวา่ ในการ
แขง่ ขันครงั้ น้ี รางวัลใหญเ่ พียงรางวัลเดยี วในการ
การแขง่ ขนั แบง่ ออกเปน็ 4 Stage ในแตล่ ะ ประกวดคือ รางวัล The Main Winner ตกเป็น
Stage มีเวลาแข่งขัน 1 เดือน (เร่ิมต้ังแต่เดือน ของเป็นศิลปินชาวไทย ส่วนรางวัล Stage
มกราคม เปน็ ตน้ มา) ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งสง่ ไฟลภ์ าพ Winners มศี ลิ ปนิ ไทย 1 คน และ รางวลั Special
การทำ�งาน 5-6 ขั้นตอน เพื่อเป็นการสมัคร Award มีศลิ ปนิ ไทย 3 คน
ไปที่เว็บไซต์การประกวด เมื่อครบกำ�หนดระยะ ส�ำ หรบั ผลงานทตี่ นสง่ เขา้ ประกวดและไดร้ บั
เ ว ล า จ ะ มี ก า ร คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ ตั ด สิ น จ า ก รางวัล Special Award นน้ั มชี อ่ื วา่ Under the
คณะกรรมการ โดยใน 1 Stage จะคดั เลอื กผผู้ า่ น flower shadow (ใต้เงาดอกไม้) ใช้เทคนิคสีนำ้�
เข้ารอบสุดท้าย Finalists และคัดเลือกรางวัล

17ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

นชศน.ระเฐั ลปศิระอศนาั สดนบัศาส๒ตรรฯะดบั ประเทศ

ประกวดนวตั กรรมสง่ เสรมิ การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชน สอ่ื ศลิ ปะพน้ื บา้ นหนงั ตะลงุ

มรภ.สงขลา สุดปล้มื นักศึกษาทีม พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าพัชรกติ ิยาภา นเรนทริ า ในการน้ี ทีมเยาวชนสิงห์สมิหลา
เยาวชนสงิ หส์ มหิ ลา หลกั สตู รรฐั ประศาสน- เทพยวดี กรมหลวงราชสารณิ สี ริ พิ ชั ร มหาวชั ร จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
ศาสตรฯ ควา้ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 ราชธิดา ใหแ้ ก่เยาวชนที่ชนะเลิศการประกวด ซ่ึงประกอบด้วย น.ส.วารีดา เจ๊ะนิ
ระดบั ประเทศ ประกวดนวตั กรรมสง่ เสรมิ นวตั กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชน น.ส.สรุ ะจติ ร์ เอยี ดแสง น.ส.พรรณรายณ์
การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชน สอ่ื ศลิ ปะพน้ื บา้ น ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า แ ล ะ อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น ภูมิงาม นายขจรศักดิ์ ทับทิมทอง และ
หนังตะลุง “เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสิทธิ “โครงการเยาวชนคนรุ่นใหม่ใส่ใจและยืน นายธรรมรัตน์ จันทภาโส นักศึกษา
ผู้ สู ง วั ย เ ติ ม เ ต็ ม ค ว า ม ห่ ว ง ใ ย สู้ ภั ย เคียงข้างสิทธิมนุษยชน” (Youth Standing ห ลักสูต รรัฐ ประศ าสน ศ าสตร บัณฑิต
COVID -19” รบั โล่ เกยี รตบิ ตั ร พรอ้ มเงนิ Up for Human Rights) ณ โรงแรมเซน็ ทารา ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์
รางวลั 40,000 บาท บายเซ็นทาราศูนย์ราชการและคอนเวนชัน มรภ.สงขลา ภายใต้การควบคุมดูแลของ
เมื่อวันท่ี 21 กันยายน ท่ีผ่านมา เซน็ เตอร์ แจง้ วฒั นะ กรงุ เทพฯ อาจารยก์ รณภิ า ศรวี รเดชไพศาล อาจารย์
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ท่ีปรึกษาโครงการ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ
จัดพิธีมอบโล่รางวัลพระราชทานของสมเด็จ อันดับ 2 ระดับประเทศ รับโล่ เกียรติบัตร
พรอ้ มเงนิ รางวลั 40,000 บาท ในการประกวด
นวัตกรรมส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน
ส่ือศิลปะพืน้ บา้ นหนังตะลงุ “เยาวชนรุ่นใหม่
ใส่ใจสิทธิผู้สูงวัยเติมเต็มความห่วงใยสู้ภัย
COVID-19” ในหัวข้อ “สิทธิมนุษยชน
กบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)”
ระดบั อดุ มศึกษา

สคดุ วเจา้ ง๋ ๒น๙เิ ทศรฯามงรวภลั .สงในขลา๑ เดอื น 1. ระดับสถาบนั การประกวด Creative
Smart Start Idea by GSB ไดร้ ับ 5 รางวลั
นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์ ม ร ภ . ส ง ข ล า ทง้ั นกั ศกึ ษาและอาจารยส์ ามารถควา้ รางวลั ใน
โชว์ศักยภาพเวทีประกวดระดับประเทศ เวทปี ระกวดตา่ งๆ ทง้ั ระดับประเทศ ภูมภิ าค 2.ระดับจังหวัด ประกวดคลิปวิดีโอ
ภมู ภิ าค และสถาบนั ควา้ 29 รางวลั ตลอด จังหวัด และสถาบัน รวมท้ังสิ้น 29 รางวัล ทำ�ดีได้...ไม่ต้องเด๋ียว จัดโดย สำ�นักงาน
เดือนสิงหาคม พร้อมเงินรางวัลรวม พร้อมเงินรางวัลรวม 265,000 บาท โดยใช้ วัฒนธรรมจังหวัดสงขลา ได้รับ 2 รางวัล
265,000 บาท แบบฝึกหัดเรียนรู้ผ่านการประกวดแข่งขัน คอื รางวลั ชนะเลศิ และ รองชนะเลิศอนั ดบั 2
เพื่อวัดคุณภาพชิ้นงานและหาโจทย์ใหม่ๆ
ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ อาจารย์ ในการฝกึ ปฏบิ ัติ อาจารยเ์ ปน็ เสมือนโคช้ หรอื 3 . ร ะ ดั บ ภู มิ ภ า ค จั ด โ ด ย สำ � นั ก
ป ร ะ จำ � ห ลั ก สู ต ร นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต เทรนเนอรท์ ค่ี อยจดั การและสอนเทคนคิ รวมทง้ั ประชาสมั พนั ธเ์ ขต 6 ไดแ้ ก่ ประกวดคลปิ วดิ โี อ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เน้นทักษะจากการปฏิบัติจริง โดยสามารถ ศาสตร์พระราชาแก้ปัญหาภัยแล้ง ได้รับ 4
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ตลอดเดือน สรุปผลรางวัลไดด้ ังนี้ รางวลั ประกวดคลปิ วดิ โี อแรงงานถกู กฎหมาย
สิงหาคม 2563 นิเทศศาสตร์ มรภ.สงขลา มน่ั ใจปลอดภยั ไม่คา้ มนษุ ย์ ไดร้ ับ 8 รางวัล
18 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา ประกวดคลิปวดิ โี อของดีบา้ นฉนั ใน 7 จงั หวดั
ภาคใต้ ไดร้ บั 9 รางวลั

4. ระดบั ประเทศ การประกวดแอนเิ มชน่ั
และคลิปวิดีโอ ประชาสัมพันธ์การสร้าง
ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด จัดโดย
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วจิ ยั และนวตั กรรมอดุ มศกึ ษา ไดร้ บั 1 รางวลั

“ผศ.บณั ฑติ า วรศร”ี

อาจารยห์ ลกั สตู รทศั นศลิ ป์ มรภ.สงขลา
รว่ มแสดงผลงานนทิ รรศการนานาชาติ ออนไลน์
“ผศ.บณั ฑติ า วรศร”ี อาจารยห์ ลกั สตู ร เฝ้าสังเกต โดยพยายามแปรเปล่ียนมุมมองของ
ทัศนศิลป์ มรภ.สงขลา ได้รับเลือกให้ร่วม ตนเองจากสิง่ ทอ่ี ย่รู ายรอบ สตั วเ์ ล้ยี ง วัตถสุ ิง่ ของ
จัดแสดงผลงานในนิทรรศการ The 8 ทปี่ รากฏรายรอบตวั ใหเ้ กดิ เป็นความสขุ เล็กบ้าง
International Art Exhibition 2020 ใหญ่บ้าง ตามแต่ส่งิ ทีพ่ บเจอในแต่ละวัน
(Online) ประเทศอินเดีย เผยแนวคิด
สร้างสรรค์ผลงานเกิดจากแรงบันดาลใจ เมื่อเจอพ้ืนที่แห่งความสุขสงบ จึงบันทึก
ประสบการณช์ วี ติ น�ำ มาสกู่ ารบนั ทกึ บอกเลา่ บอกเล่าความสุขน้ัน โดยเลือกกระบวนการทาง
ค ว า ม สุ ข ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ภ า พ ถ่ า ย ภาพถา่ ย ภาพพิมพ์ และจิตรกรรม เปน็ เทคนคิ
ภาพพิมพ์ และจิตรกรรม หลักของการสร้างสรรค์ผลงาน เพ่ือเก็บเป็น
ผศ.บัณฑิตา วรศรี อาจารย์หลักสูตร ความทรงจำ�
ทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ตนไดร้ บั ทั้งน้ี ในปีหน้าจะมีนิทรรศการอีกคร้ังท่ี
เลือกให้ร่วมจัดแสดงผลงานในนิทรรศการ The ลอนดอน ประเทศอังกฤษ หรือ บังกลาเทศ
(8OnIlnintee)rnFartoiomn1alstANrot vemExbheirb2it0io2n0 2020 ประเทศอนิ เดยี โดยมปี ระเทศเขา้ รว่ ม 10 ประเทศ
ซ่งึ จะจดั ซ่งึ ตนได้รับเลือกเป็นหน่ึงใน 10 ประเทศน้ัน
ขึ้นช่วงเดือนพฤศจิกายน 2563 ณ ประเทศ ได้รับคัดเลือกโดยภัณฑารักษ์ Om Parkash
อินเดีย โดยตนได้สร้างสรรค์ผลงานท่ีมีช่ือว่า Sharma จากสถาบนั Jammu Kashmir Centre
The Memory No.1 (ความทรงจ�ำ หมายเลข 1) for Creative Arts, Jammu เมอื ง Jammu ประเทศ
ขนาด 60x40 ซม. ดว้ ยเทคนคิ สอี ครลิ คิ บนผา้ ใบ อนิ เดยี
(Acrylic On Canvas)
แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน เกิดจาก ผลงานของ ผศ.บัณฑิตา วรศรี
แรงบันดาลใจจากประสบการณ์ชีวิต การเฝ้า
สังเกตการณ์ใชช้ ีวิต ในบ้าน นอกบ้าน ทัง้ สภาพ
แวดลอ้ มและธรรมชาติ สงิ่ ทพ่ี บเจอ การสรา้ งสรรค์
ท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ ประสบการณซ์ �ำ้ แลว้ ซ�ำ้ เลา่ จากการ

อาจารย-์ นศ.ทศั นศลิ ป์ นามธรรมนเี้ พอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรม โดยใชส้ ญั ญะ
(สัญลกั ษณ)์ ของแมวซง่ึ เปน็ สตั วใ์ กล้ตัว ที่แฝงไป
รว่ มแสดงผลงานนทิ รรศการ Nirantar ๒๐๒๐ ดว้ ยเรอื่ งราวและการด�ำ รงชวี ติ คลา้ ยคลงึ กบั มนษุ ย์
ผ่านกระบวนการเทคนิคภาพพิมพ์กัดกรดโลหะ
อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาหลกั สตู รทศั นศลิ ป์ ส�ำ หรบั ผลงานของ อาจารยศ์ วิ ะ อนิ ทะโคตร ด่ังความรู้สึกท่ีอบอวลไปด้วยความรัก แต่ฝังลึก
มรภ.สงขลาไดร้ บั คดั เลอื กใหร้ ว่ มจดั แสดงผลงาน มชี อ่ื ผลงานวา่ สลาย (Crumble) ใชเ้ ทคนคิ สนี �ำ้ มนั ผ่านเนื้อโลหะแข็ง ประดุจดังความรักที่ไม่มี
ในนทิ รรศการ Nirantar 2020 2nd Online บนผ้าใบ เป็นผลงานในชุดการสร้างสรรค์ ขอบเขตกัน้
International Art Exhibition ประเทศอนิ เดยี ท่ีต้องการแสดงออกถึงความงามท่ีตั้งอยู่บน
จากผสู้ ง่ ผลงานกวา่ 700 ชน้ิ ทว่ั โลก ความเสื่อมสลายของสิ่งต่างๆ ในผลงานชิ้นนี้ ผลงานของ น.ส.ศศิมา เระ๊ ดุมหลี มแี นว
ต้ อ ง ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม ง า ม ข อ ง ห ญิ ง ส า ว ใ น ความคดิ จากความประทบั ใจในลวดลายของแผน่ ไม้
อาจารย์และนักศึกษา สาขาวิชาทัศนศิลป์ อากัปกิริยาท่ีกำ�ลังเคล่ือนไหวเพียงเล็กน้อยใน เก่าๆ จึงได้นำ�แผ่นไม้บางๆ ที่เก่ามาประยุกต์ใช้
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา แบบเสย้ี ววนิ าที ในความเคลอ่ื นไหวนน้ั มคี วามงาม ให้เกิดเป็นผลงาน เน่ืองจากชื่นชอบในเรื่องของ
(มรภ.สงขลา) ประกอบด้วย อาจารย์ศิวะ ที่ เ ป็ น ท้ั ง ค ว า ม ง า ม ใ น กิ ริ ย า อ า ก า ร ที่ ดู เ ป็ น ลวดลายบนแผ่นไม้ สแี ละเสน้ ตา่ งๆ ของเนื้อไม้ที่
อินทะโคตร อาจารย์ประจำ�หลักสูตรทัศนศิลป์ ธรรมชาติ ความงามของใบหนา้ และความงามของ เกิดจากการแปรสภาพของธรรมชาติ และความ
และนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าทศั นศลิ ป์ วชิ าเอกภาพพมิ พ์ ร่างกายในวัยหนุ่มสาว แต่ในขณะเดียวกัน เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา จงึ มคี วามชอบและ
ชั้นปีที่ 4 น.ส.มาเรียม สืบเหม น.ส.ศศิมา ความงามทว่ี า่ มาทง้ั หมดนน้ั กเ็ กดิ ขน้ึ เพยี งชว่ งเวลาสน้ั ๆ ประทับใจในเร่ืองนี้เป็นอย่างมาก โดยได้นำ�วัสดุ
เระ๊ ดุมหลี ภายใต้การควบคมุ ดูแลของ อาจารย์ ทง้ั ความงามของทา่ ทางทเี่ คลอ่ื นไหวและความงาม แผน่ ไมน้ นี้ �ำ มาท�ำ เปน็ ผลงานศลิ ปะภาพพมิ พว์ สั ดุ
วารี แสงสวุ อ ไดร้ ับคัดเลอื กใหร้ ่วมแสดงผลงาน ของวัยหนุ่มสาวต่างก็มีความเปลี่ยนแปลงและ (Collagraph)
ในนิทรรศการ Nirantar 2020 2nd Online ความเสือ่ มสลาย รอคอยอยู่ทุกขณะ ผลงานช้นิ นี้
International Art Exhibition ประเทศอินเดีย จึงเป็นเหมือนการบันทึกความงามท่ีควบคู่กับ
ร่วมกับผลงานจากศิลปินรับเชิญ 6 ท่าน และ ความเปลี่ยนแปลง ท่ีต้องการสะท้อนถึงสัจจะ
ผลงานที่ได้รับคัดเลือกจากผู้ส่งผลงานเข้าร่วม ความจริงของสรรพส่งิ และชีวติ
คัดเลือกกว่า 700 ผลงาน จากอินเดีย
(ประเทศผู้จัด) และจาก 46 ประเทศท่ัวโลก ผลงานของ น.ส.มาเรยี ม สบื เหม มีแนว
ซงึ่ มผี ลงานที่ไดร้ บั คัดเลอื กจำ�นวน 458 ผลงาน ความคดิ เกยี่ วกบั ความอบอนุ่ ซงึ่ เปน็ สงิ่ นามธรรม
จัดแสดงระหว่างวันท่ี 5-30 กันยายน 2563 ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่สามารถรับรู้ได้ด้วย
https://www.nirantarart.com/ ความรสู้ กึ ไมว่ า่ จะเปน็ มนษุ ยห์ รอื สตั วล์ ว้ นตอ้ งการ
ความอบอุ่น จึงถ่ายทอดความอบอุ่นอันเป็น

19ปาริฉตั ร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา รว่ มงานเปดิ โครงการจดั ตง้ั ส�ำ นกั งาน

สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์

มรภ.สงขลา ร่วมงานเปดิ โครงการ ห รื อ ส ศ ส . เ พื่ อ เ ป็ น แ ห ล่ ง บ่ ม เ พ า ะ
จั ด ต้ั ง สำ � นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สร้างแรงบนั ดาลใจ ให้ความรู้ เป็นจุดเริ่มตน้
สร้างสรรค์ “Songkhla (Oldtown) ของโอกาสใหม่ๆ ให้กับเมือง และเป็น
Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ การสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคใ์ นพน้ื ทภ่ี าคใต้
ดูแลให้แลดี” หวังใช้เป็นแหล่งบ่มเพาะ
สรา้ งแรงบนั ดาลใจ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ โอกาส ภายในงานประกอบด้วย นิทรรศการ
ใหม่ๆ ใหก้ ับเมอื ง From Concept to Construction : การจัด
แสดงผลงานประกวดออกแบบสถาปตั ยกรรม
เมื่อวันท่ี 10 กันยายน ที่ผ่านมา สำ�นกั งานสง่ เสริมเศรษฐกจิ สร้างสรรค์สงขลา
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการแทน และนิทรรศการ Portrait of Songkhla :
อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ง ข ล า ครอบครวั เมอื งเกา่ สงขลา 2563 ระหวา่ งวนั ท่ี
(มรภ.สงขลา) ร่วมงานเปิดโครงการจัดตั้ง 10-27 กันยายน 2563 วัตถุประสงค์
ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ สงขลา เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการ
ภายใต้ชื่องาน “Songkhla (Oldtown) ขยายบริการและภารกิจของสำ�นักงานครบ
Creative District : สงขลาสร้างสรรค์ ทงั้ 3 ภมู ภิ าค จากการจดั ตง้ั TCDC เชยี งใหม่
ดูแลให้แลดี” ณ ลานจอดรถเทศบาล ขอนแก่น มาสู่จังหวัดสงขลา เพ่ือร่วมเป็น
ถ.สายบรุ ี ต.บอ่ ยาง อ.เมอื ง จ.สงขลา โดยมี ส่วนหน่ึงกับภาคส่วนต่าง ๆ ในเมืองสงขลา
นายจารุวัฒน์ เกล้ียงเกลา ผู้ว่าราชการ และจังหวัดโดยรอบ ในการเติมความคิด
จังหวัดสงขลา เป็นประธานเปิดโครงการ สรา้ งสรรคใ์ หก้ บั เศรษฐกจิ ของภาคใต้ เพอ่ื น�ำ
ซ่ึงงานดังกล่าวจัดขึ้นโดยสำ�นักงานส่งเสริม ไปสกู่ ารเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ และบรกิ าร
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน)

สเต�ำ รนยี กั มศคลิ วปาะมฯพรอ้ ม “กฬี าเรอื ยาวประเพณ”ี

สำ � นั ก ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม นอกจากน้ัน ยังได้เข้าพบ นายคำ�รพ
มรภ.สงขลา ลงสำ�รวจพ้ืนท่ีโครงการ เสาวคนธ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล
เสริมสร้างความเป็นเลิศทางศิลปะฯ เกาะยอ (อบต.เกาะยอ) เพ่ือพูดคุยและเข้าดู
เตรียมความพร้อมกีฬาเรือยาวประเพณี เรือท่ีทาง อบต.เกาะยอ จะให้การสนับสนุน
ผนึก อบต.เกาะยอ สร้างเครือข่าย และสร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือร่วมกันต่อไป
ความรว่ มมอื ในอนาคต 20 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

เม่ือวันท่ี 15 ตุลาคม ทผี่ า่ นมา สำ�นกั
ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สงขลา (มรภ.สงขลา) ลงสำ�รวจพื้นท่ี
ในโครงการเสรมิ สรา้ งความเปน็ เลศิ ทางศลิ ปะ
และวฒั นธรรม “กฬี าเรอื ยาวประเพณ”ี โดยมี
นายไพโรจน์ รตั นภริ มย์ ประธานกรรมการ
คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย
มรภ.สงขลา ดร.บรรจง ทองสร้าง
รองผู้อำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม
นายมานพ อ่อนแก้ว นักวิชาการศึกษา
ชำ�นาญการ นายสุพัฒน์ สุวรรณโณ
โคช้ ทมี เรอื พาย มรภ.สงขลา รว่ มกนั ส�ำ รวจพน้ื ท่ี
บริเวณสวนประวัติศาสตร์ เพ่อื จัดทำ�สถานท่ี
ส�ำ หรบั ฝกึ ซอ้ ม จดั เกบ็ เรอื และศนู ยน์ ทิ รรศการ
เรือพายพ้ืนบ้านภาคใต้ของจังหวัดสงขลา
เพอ่ื สนบั สนนุ ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นศลิ ปะและ
วฒั นธรรม

รอมรว่ทุ ภมย.สพางนิธขวีเลปทิ าดิ ยอาศาคาสารตอร�ำภ์ นาวคยใตก้ าร นักศกึ ษาหลักสตู รศลิ ปกรรมฯ

บรรเลงดนตรไี ทยรับเสด็จ

เม่ือวันที่ 24 กันยายน ท่ีผ่านมา เม่ือวันท่ี 24 กันยายน ที่ผ่านมา สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไปยังทัณฑสถานบำ�บัดพิเศษสงขลา ตำ�บลเกาะแต้ว อำ�เภอเมือง
เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเปิด “อาคาร จงั หวดั สงขลา
อำ�นวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้
(จงั หวัดสงขลา)” ณ พื้นที่สว่ นขยาย ต�ำ บล ในการนี้ ผศ.ดร.ไชยวุธ โกศล คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์
ทุ่งใหญ่ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นำ�คณาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
วิทยาเขตหาดใหญ่ ดนตรีไทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา)
บรรเลงดนตรีไทย รบั เสดจ็
ในการนี้ ดร.นราวดี บัวขวัญ
รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การวิจัยและ
บริการวิชาการ พร้อมด้วย นางสาว
อมราวดี วงศ์เทพ ผูจ้ ัดการศนู ยบ์ ่มเพาะ
ธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เฝา้ ฯ รบั เสดจ็ และเขา้ รว่ มพธิ ี
เปดิ อาคารอ�ำ นวยการอทุ ยานวทิ ยาศาสตร์
ภาคใต้ (จงั หวัดสงขลา)

มรภ.สงขลา

รขวอ่ มงปอรงะคชมุมกนาตรรตีรณวจเมยย่รี มภ.นครศรธี รรมราช

ตตดิามตพามรผะรลากโชาบราดย�ำ ในเนหนิ ลงวางนโรค.ร๑ง๐การ

เมอ่ื วนั ท่ี 8 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา ผศ.ดร.
ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการแทน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) พรอ้ มดว้ ย ดร.มนตรี เดน่ ดวง
คณบดีคณะครุศาสตร์ อาจารย์พุฒิธร
ตุกเตียน ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและ
พัฒนา นางจารุวรรณ เพชรรักษ์
หัวหน้าสำ�นักงานสถาบันวิจัยและพัฒนา
นายพิชยดนย์ ชายมะ เจ้าหน้าท่ี
บริหารงานทั่วไป มรภ.สงขลา ร่วมตอ้ นรับ
และเข้าร่วมประชุมการตรวจเย่ียมของ
พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ องคมนตรี
ในการลงพื้นที่ตรวจเย่ียมมหาวิทยาลัย
ราชภฏั นครศรธี รรมราช เพอื่ ตดิ ตามผลการ
ดำ�เนินงานของโครงการตามพระราโชบาย
ของในหลวงรัชกาลท่ี 10

21ปาริฉัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

ทลู เกลา้ ฯ ถวายปรญิ ญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ

เมื่อวันท่ี 14 ตุลาคม ท่ีผ่านมา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ทูลเกล้า
ทลู กระหมอ่ มถวายปรญิ ญาศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ สาขาการพฒั นาชมุ ชน
แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี โดยมี
ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ ดร.บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ นายกสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สงขลา พรอ้ มดว้ ย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ รกั ษาราชการแทน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นตัวแทนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
ณ พระทนี่ ง่ั อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต กรงุ เทพมหานคร

ทอดกฐนิ สามคั ควี ดั บอ่ ปาบ รว่ มพธิ วี างพวงมาลา
เนอ่ื งในวนั ปยิ มหาราช

เม่อื วันท่ี 22 ตุลาคม ท่ผี ่านมา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นำ�โดย เม่ือวันท่ี 23 ตุลาคม ท่ีผ่านมา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการแทนอธิการบดี ดร.นราวดี บัวขวัญ รองอธิการบดี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ าร คณาจารย์ บคุ ลากร นกั ศกึ ษา ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ง ข ล า
และองค์การนักศึกษาภาคปกติ ร่วมทอดกฐินสามัคคี ประจำ�ปี 2563 พร้อมด้วย นายสวุ ทิ ย์ เพง็ ทพิ ยน์ าง
ณ วัดบ่อปาบ อ.สิงหนคร จ.สงขลา โดยมียอดทำ�บุญจากหน่วยงานต่างๆ ผู้ อำ � น ว ย ก า ร ก อ ง พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า
ของมหาวทิ ยาลยั รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สน้ิ 312,893.25 บาท นายศภุ กร หนสู ม หวั หนา้ งานบรหิ าร
ท่ัวไป นายธีรภัทร์ มณีเกษร
นักประชาสัมพันธ์ ร่วมประกอบพิธีวางพวงมาลา ถวายราชสักการะ
พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เพอื่ น้อมส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ เนอื่ งในวันปยิ มหาราช

ศกึ ษาดงู านตรวจสอบภายใน

เมอ่ื วนั ท่ี 27 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา
นางวลัยพร พรหมเทพ หวั หน้า
หนว่ ยตรวจสอบภายใน น�ำ บคุ ลากร
หนว่ ยตรวจสอบภายใน มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสงขลา เดินทางไปศึกษา
ประชมุ กรรมการเครอื ขา่ ยงานประชาสมั พนั ธ์ ดูงาน ณ หน่วยตรวจสอบภายใน
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์
เมื่อวันท่ี 23 กันยายน ที่ผ่านมา อาจารย์พิเชษฐ์ จันทวี ในโครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนา
รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการบริหารและพัฒนา ศักยภาพในการบริหารจัดการ
หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา เปน็ ประธานในการประชุมคณะ อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง
กรรมการเครือข่ายงานประชาสัมพันธ์ ณ ห้องประชุมพลเอก เปรม บุคลากรหน่วยตรวจสอบภายใน
ติณสูลานนท์ ชั้น 7 อาคารเรียนรวมและอำ�นวยการ โดยได้มี มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
การสร้าง Line กลุ่มเครือข่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นช่องทางในการ
จดั ส่งขอ้ มลู โครงการ/กิจกรรมที่น่าสนใจ มองผ่านเลนส์

22 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

“พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ” องคมนตรี

เปดิ อบรมสรา้ งแกนน�ำ ราชภฏั วศิ วกรสงั คม

“พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ” กระบวนการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ต่อมา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
องคมนตรี เยือน มรภ.สงขลา เปิดอบรม สู่บัณฑิตคุณภาพ จึงต้องมีการพัฒนาทักษะการ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดการอบรมโครงการ
ส ร้ า ง แ ก น นำ � ร า ช ภั ฏ วิ ศ ว ก ร สั ง ค ม เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ใช้หัวใจนักปราชญ์ วศิ วกรสงั คม ใหแ้ กก่ ลมุ่ ผนู้ �ำ นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เขตภาคใต้ หลอ่ หลอม (สุ จิ ปุ ลิ คอื ฟัง พูด ด/ู คดิ ถาม จดบันทกึ ) ราชภฏั และอาจารยท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง เพอื่ น�ำ ไปขยายผล
ผนู้ �ำ นกั ศึกษารว่ มพฒั นาท้องถน่ิ เพื่อให้เกิดปัญญาญาณ และเสริมสร้างวุฒิภาวะ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏของตน มหาวิทยาลัย
ทางอารมณ์ เพ่ือสร้างกำ�ลังคนท่ีเป็นเยาวชนให้ ราชภัฏเขตภาคใต้ จึงมีมติให้จัดอบรมสร้าง
เม่ือวันท่ี 30 ตุลาคม ที่ผ่านมา พลเอก ได้รับโอกาสในการเรียนรู้ตามความถนัดของตน แกนนำ�วศิ วกรสังคมร่วมกัน โดยให้ มรภ.สงขลา
ดาวพงษ์ รตั นสวุ รรณ องคมนตรี ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ จนได้รับความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมท่ีสามารถ เป็นเจ้าภาพดำ�เนินการ หลังจากการอบรมใน
ประธานเปิดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ นำ�ไปพัฒนาต่อยอดไดอ้ ย่างยง่ั ยืน ครง้ั น้ี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แตล่ ะแหง่ ในเขตภาคใต้
“สรา้ งแกนน�ำ ราชภฏั วศิ วกรสงั คม” มหาวทิ ยาลยั จะจัดอบรมเพ่ือสร้างแกนนำ�วิศวกรสังคม ให้ได้
ราชภฏั เขตภาคใต้ ณ อาคารศนู ยบ์ รกิ ารนกั ศกึ ษา ดา้ น อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดี แหง่ ละ 600 คนตอ่ ไป
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) โดยมี ฝ่ า ย ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รักษาราชการแทน คุณลักษณะบัณฑิต มรภ.สงขลา กล่าวว่า
อธิการบดี มรภ.สงขลา พรอ้ มดว้ ยคณะผบู้ รหิ าร การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างแกนนำ�ราชภัฏ
แขกผ้มู ีเกียรติ บคุ ลากรทางการศกึ ษา นกั ศึกษา วิศวกรสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้
ราชภัฏเขตภาคใต้ และเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง เป็นการดำ�เนินงานที่ขยายผลมาจากการประชุม
เขา้ รว่ มงานในครง้ั น้ี อธิการบดีและสมาพันธ์นักศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภฏั ทงั้ 38 แหง่ ไดน้ อ้ มน�ำ พระบรมราโชบาย
พลเอก ดาวพงษ์ รัตนสุวรรณ ด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
องคมนตรี กล่าวว่า ทุกท่านท่ีเข้ามาอยู่ใน รัชกาลที่ 10 ในการให้การศึกษา สร้างผู้เรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ย่อมตระหนักดีว่า ราชภัฏ ให้สมบูรณ์พร้อมด้วยคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
คนของพระราชา ข้าของแผ่นดนิ และตราประจำ� 4 ประการ ได้แก่ มีทัศนคติท่ีดีและถูกต้อง
มหาวิทยาลัย ตลอดจนตราเข็มเคร่ืองหมายของ มีพ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคง-มีคุณธรรม มีงานทำ�-
เคร่ืองแบบนักศึกษาก็คือพระราชลัญจกรประจำ� มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดีมีระเบียบวินัยสู่
พระองค์ท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร การปฏบิ ตั ิ
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม
พระราชทานให้แก่ชาวราชภัฏ เมื่อศึกษาสำ�เร็จ
จะได้ออกไปทำ�งานต่างพระเนตรพระกรรณ
ให้พึ่งตนเองได้ จะไดย้ กระดบั สังคมใหอ้ ย่ดู ีกนิ ดี
ได้ถว้ นทว่ั กนั

ในท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงของ
โลก เพอื่ ชงิ ความไดเ้ ปรยี บในการครอบครองและ
ใช้ทรพั ยากรของโลก มหาวิทยาลัยจึงต้องมคี วาม
ตื่นตัว และต้องพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
และคุณภาพการศึกษาเน้นให้มีสมรรถนะและ
ประสทิ ธภิ าพอย่างเรง่ ดว่ นและรอบคอบ

ในการน้ี มหาวิทยาลัยราชภัฏได้รับ
พระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทส่ี ดุ มไิ ดอ้ กี ครง้ั หนง่ึ
เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10
ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชบายแกม่ หาวทิ ยาลยั
ราชภัฏว่า “ให้ยกระดับมหาวิทยาลัยราชภัฏให้
ทำ�งานให้เข้าเป้า ในการยกระดับคุณภาพการ
ศึกษา และพัฒนาท้องถิ่นในท้องท่ีตน” น่ันคือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏจะต้องผลิตครูคุณภาพ
จัดการศึกษามคี ณุ ภาพ และพัฒนาท้องถนิ่ อย่าง
มคี ุณภาพ

23ปาริฉตั ร วารสารเพอื่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

;ELA1þ <L?<K =L%:)K D" ?L

hmg 033 L}#3A3N% /M4?W L=5S % L" GMW:GW;GQ "D" ?L #"K EAK.D" ?L pgggg
Y1=˜ g—nkim—gigg—k Y1=DL=˜ g—nkjh—inim
ÍÙÙ՟™™ÜÜܘØÐ×ژÆȘÙ͙ «Ò˜ùšý˜œý ²­ß˜
®© ±®³ª Ÿ µ·Ä¸°·º


Click to View FlipBook Version