The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน(PDF)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supartra U-klad, 2022-09-08 04:50:00

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน(PDF)

วิจยั ในช้นั เรยี น

การศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษา กศน.ตาํ บลวงั ตะครอ
เรื่อง ความพงึ พอใจตอกจิ กรรมสง เสริมการอา น

ผูวจิ ยั

อาจารยส พุ ัตรา อยูกลดั

ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2565
กศน.ตําบล วังตะครอ กศน.อาํ เภอบา นดานลานหอย

คํานาํ

การศึกษาคร้ังน้ีเปนการศกึ ษา เรอ่ื ง ความพงึ พอใจตอกจิ กรรมสง เสรมิ การอา นของ กศน.ตาํ บลวงั ตะครอ
อาํ เภอบานดานลานหอย โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือศึกษารปู แบบและประโยชนข องกิจกรรมสง เสรมิ นิสัยรักการอาน
สาํ หรบั ผเู รียนตาํ บลวังตะครอ อาํ เภอบานดา นลานหอยและเพ่ือเสนอแนะนาํ ผลการศึกษาไปปรับปรงุ และ
พฒั นาการเรียนการสอนของ กศน.ตาํ บลวังตะครอ ใหดียิ่งขนึ้ ตอไปหากผลการศึกษาคร้ังนี้ ผิดพลาดประการใด
ผจู ดั ทาํ ขออภยั มา ณ ทีน่ ี้

นางสาวสุพัตรา อยูก ลัด
ครู กศน.ตําบล
2565

สารบญั

เรื่อง หนา
คาํ นํา
สารบัญ
บทนํา
ความเปน มาและความสําคัญของปญหา

วัตถุประสงคของการศึกษา

ขอบเขตของการศึกษา
กรอบแนวคิด

คาํ นยิ ามศัพทเ ฉพาะ

ประโยชนท ่ไี ดร ับจากการศึกษา
วิธดี าํ เนนิ การศกึ ษา

ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง

เครือ่ งมอื ที่ใช
วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

ผลการวเิ คราะหขอมลู
สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

บทนาํ

ความเปนมาและความสําคัญของปญ หา

การอานมีความสาํ คญั และจําเปนยงิ่ ตอ การพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะอยางย่งิ ในปจจบุ ันเปน ยุคทีม่ ีการ สอ่ื สาร
แบบไรพรมแดน โดยขอมูลและการส่ือสารสามารถสงถึงกนั ไดอยา งรวดเร็วผา นการอาน ไมว า จะอา นจาก หนงั สอื
หนงั สอื พิมพ วารสาร และสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส ซึ่งไดท้ังความรูในเชงิ วชิ าการและสาระในดานอนื่ ๆ โดยตอ ง ใชความสามารถ
ในการอานทั้งสิ้น การอานจะชวยพัฒนาสตปิ ญญา และยงั ชว ยสรา งความสนุกสนานเพลิดเพลิน ใหก ับผูอานไดอีกดว ย
การอานจึงเปน สง่ิ สาํ คัญท่ีจะตอ งตระหนกั โดยตองกระทําอยางตอ เนื่องจนเปน นสิ ยั ของบุคคลและสามารถถายทอด
สงเสรมิ สนับสนุน การอานไปสูผอู ื่น เม่ืออา นแลวสามารถถา ยทอดใหผูอนื่ เขาใจได การอานยังทาํ ใหผ ูอา นเกดิ ความคิด
รจู ักใครครวญในสง่ิ ทไ่ี ดอาน ชว ยสรา งสมาธิใหก บั ผูอ าน ไดพ ัฒนาตนเอง เกิดความ เพลิดเพลนิ และเกดิ แรงบันดาลใจ
จากสง่ิ ท่ไี ดอา น ยิง่ อานมาก ยิ่งรมู าก เกดิ แรง บนั ดาลใจและทัศนคตทิ ่ีเหมาะสม เกิดความคดิ สรา งสรรคอนั กอใหเกิด
นวัตกรรมใหม นอกจากนย้ี ังกอ ใหเ กิด คณุ ธรรม เกิดความชื่นชมในความรทู ี่ไดจ ากการอานอนั เปน เหตุใหเกิดนิสัยรักการ
อา นได การอา นหนงั สือจึงทําใหผ อู า นเกิดโลกทัศนท ี่กวางไกล ทําใหเ กดิ ความคิดทห่ี ลากหลาย รวมทั้งรูเ ทาทนั
สถานการณต างๆ มากมาย ซึ่งปจ จุบันเทคโนโลยีไดเขา มามบี ทบาทในชวี ิตประจาํ วนั ของเด็กมากข้ึน การเขาถึงองค
ความรกู ็งายขึ้น เดก็ เรยี นรโู ดยใชเครอื ขายสงั คม (Social Network) เดก็ สามารถ เปด บราวเซอรเพ่ือใชง านไดครั้งละ
หลายชองทาง มีทัง้ ชองทางท่ีเกยี่ วของกบั ความรูและความบนั เทิงตางๆ ทําใหค วามสนใจในการอานมีไมเต็มที่ กอ ใหเ กดิ
ความเบื่อหนายในการเรยี นรูจากการอานเพ่ือ หาความรู สงผลใหเ ดก็ ไดรบั คะแนนการประเมินผลการศึกษาในระดับตางๆ
และทาํ ใหเกดิ ปญหาของความไมหลากหลายในองคค วามรู อา นจบั ใจความไมเกง คดิ วิเคราะห สงั เคราะหไมเปน
เด็ก ขาดแรงจงู ใจและมีทัศนคตทิ ไ่ี มดีตอการอาน โดยตองจดั กจิ กรรมสง เสริมการอานเพอื่ ให เขาเกดิ ความเช่ือวา การอา น
นัน้ มีประโยชนอ ยางใดอยางหน่งึ กับเขา กจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ งทาํ ใหเ ขาชอบ เม่ือชอบ แลวเขากจ็ ะสามารถชกั ชวนคนอื่น
มารวมอา นกบั เขาหรือเขาจะสามารถสรา งประโยชนจ ากการอา นไปสูผูอืน่ ได อยา งภาคภูมิใจ ในการวจิ ัยเก่ียวกับ
ความสัมพนั ธของการสงเสรมิ การอา นเชิงสรา งสรรค จากพอแมแ ละเพื่อนในการสรางแรงจูงใจในการอานของเด็ก
สง ผลโดยตรงตอ ทศั นคตใิ นการ อา น ความเชอ่ื สวนบคุ คลเก่ยี วกับผลท่ไี ดจ ากการอาน และการเหน็ คุณคา ในการอาน
สว นความสัมพันธของอายุ เพศ และเชื้อชาติเผา พนั ธุกส็ งผลตอ การอาน กศน.ตาํ บลวงั ตะครอ จงึ ทําวจิ ยั การสงเสริมการ
อา น โดยมงุ เนนการพฒั นารปู แบบและผลประโยชน สง เสรมิ ใหมแี หลงเรยี นรู ท่ีดี มีการสนับสนนุ ดา นสอื่ เนน การอา น
ออก เขียนได ซง่ึ เปน พืน้ ฐานกอน ทจี่ ะไปสูนสิ ัยรักการอา น แลวจึงมกี จิ กรรมเกยี่ วกับการอานซ่งึ เปนกลไกสาํ คญั ในการ
พฒั นากระบวนการคิด และปญญาของมนษุ ย สง ผลตอการพัฒนาคุณภาพของสังคมและประเทศชาติ กอ ใหเ กิดประโยชน
ตอบคุ คล เพราะจะชวยใหเ ดก็ เกิดการเรยี นรูส ่ิงใหมและมีการพัฒนาการเรยี นรูไ ดอยา งรวดเรว็ อนั จะสงผลตอ การ
พฒั นาประเทศ ดังนั้นผูวิจัยในฐานะครผู สู อน ไดพบกบั สภาพ ปญ หาเกยี่ วกบั พฤติกรรมในการอานของผเู รียนทยี่ ังขาดการ
สนับสนนุ ในเรอื่ งแรงจูงใจในการอา น เพ่อื ใหเกิดความสนุกสนานในการอา น นาํ ไปสคู วามชอบและความภาคภมู ใิ จจาก
การอานไดจงึ สนใจท่ีจะศึกษา และพฒั นากจิ กรรมสง เสรมิ นิสยั รกั การอานของผูเรียน

วตั ถปุ ระสงคของการศกึ ษา

1. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมสง เสรมิ การอา นใหก บั ผเู รียน
2. เพ่ือศึกษาความตองการในการจัดกจิ กรรมสง เสริมการอา นใหกบั ผูเรยี น
3. เพื่อประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของการใชก จิ กรรมสงเสริมการอา นของผูเรยี น

ขอบเขตการศึกษา
1. ขอบเขตของเนื้อหา
การศกึ ษาในครง้ั นม้ี งุ ศกึ ษาความตอ งการในการจัดกจิ กรรมสง เสริมการอานใหก ับผเู รยี น กศน.ตาํ บลวังตะครอ

อําเภอบา นดานลานหอย
2. ขอบเขตประชากรและกลุมตวั อยาง
ประชากรและกลมุ ตวั อยา งทใี่ ชในการศึกษาครง้ั นี้ คอื ผเู รียน กศน.ตําบลวงั ตะครอ จํานวน 42 คน
3. ขอบเขตสถานท่ี
สถานท่ีที่ใชเ ก็บขอมลู ในการศึกษาคร้ังน้ี คอื กศน.ตาํ บลวงั ตะครอและชุมชน อําเภอบา นดา นลานหอย
4. ขอบเขตเวลา
การศึกษาคร้งั น้ี ผูศึกษาไดทาการแจกแบบสอบถามและเก็บรวบรวมขอ มลู ตั้งแตเ ดือน พฤษภาคม – สงิ หาคม

พ.ศ. 2565 โดยเวลาท่ีผูศึกษาแจกแบบสอบถาม คอื เวลา 08.30-16.30 น.

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การศึกษาครั้งน้ี ผูศึกษาไดศึกษาแนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วของ นํามาสรางเปน กรอบแนวคดิ เพ่ือกําหนด
แนวทางในการศึกษา โดยจะเลือกศึกษาปจ จัยและตวั แปรที่สาํ คญั ๆ มาบางประการ ท่เี ชื่อวามผี ลตอความพึงพอใจของ
ผูเ รยี น กศน.ตาํ บลวังตะครอ โดยปรบั ปรงุ จาก นงพนา จิตรกร (2533:74 ) ดงั น้ี
1. ตวั แปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบดว ย เพศ อายุ สถานภาพ และระดบั การศึกษา
2. ตวั แปรตาม (Dependent Variables ) ประกอบดว ย ดานการจัดกจิ กรรมสง เสริมการอา น

แผนภมู ิที่ 1 แสดงกรอบแนวคดิ ของการศึกษา

ตวั แปรอิสระ ตวั แปรตาม
(Independent Varible) (Dependent Vaiable)

ปจจยั สวนบคุ คล ปจจยั ที่มีผลตอความพงึ พอใจของผเู รียนในการรว ม
1. เพศ กิจกรรมสง เสริมการอานของ กศน.ตําบลวังตะครอ
2. อายุ 1. ดานผจู ดั กิจกรรม

3. สถานภาพ 2. ดานกิจกรรมสง เสริมการอาน

4. ระดับการศึกษา 3. ดานลักษณะทางกายภาพ

5. ดานสถานที่และส่ิงแวดลอม

ที่มา :ปรับปรงุ จาก นงพนา จิตรกร (2533:74)

คาํ นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ
การศกึ ษาคร้ังน้ี คาํ นยิ ามศัพทเฉพาะที่เกยี่ วของกับการศึกษาความพงึ พอใจของผูใชบ ริการของหองสมุดผเู รียน

"เฉลิมราชกุมารี" อาํ เภอบา นดา นลานหอย มีดงั นี้
ปจ จยั สวนบคุ คล หมายถึง ขอมูลสวนตัวไดแก เพศ อายุ สถานภาพ และระดบั การศึกษา ของผทู ี่ใชบรกิ าร

หองสมดุ ผเู รียน "เฉลมิ ราชกมุ ารี" อาํ เภอบา นดานลานหอยผูตอบแบบสอบถาม
เพศ หมายถงึ เพศชายและเพศหญิงของผูท่ีใชบริการหอ งสมดุ ผเู รยี น "เฉลมิ ราชกุมารี" อําเภอบา นดา นลานหอย

ผตู อบแบบสอบถาม
อายุ หมายถึง อายุตามปป ฏิทินของของผูที่ใชบ ริการหองสมุดผูเรียน "เฉลมิ ราชกุมาร"ี อาํ เภอบา นดานลานหอย

ผตู อบแบบสอบถาม
สถานภาพ หมายถงึ สถานภาพการเปนนักศึกษา บุคลากร และบคุ คลภายนอก ของผทู ่ีใชบ รกิ ารหอ งสมดุ ผเู รียน

"เฉลิมราชกมุ ารี" อําเภอบา นดา นลานหอยผูตอบแบบสอบถาม
ระดบั การศกึ ษา หมายถึง วฒุ ิการศึกษาขนั้ สงู สุดของผทู ีใ่ ชบรกิ ารหอ งสมุดผูเรียน "เฉลมิ ราชกมุ าร"ี อําเภอบา นดา นลาน
หอยผตู อบแบบสอบถาม

ความพงึ พอใจในการรวมกจิ กรรมสงเสรมิ การอา น หมายถงึ ผลรวมของสาเหตุตาง ๆ ที่สง ผลใหผ เู รยี นมีความ
พงึ พอใจ โดยแบงออกเปน 2 ดา น คอื ปจ จัยสวนบคุ คลของผูเรยี น และปจ จยั ดา นการจดั กิจกรรมสงเสริมการอาน

ความพงึ พอใจของผูใ ชบริการ หมายถึง ความพึงพอใจของผรู บั บรกิ ารเปน การแสดงออกถึงความรสู กึ ใน
ทางบวกของผูเรียนตอการรว มกิจกรรม อันเปน ผลมาจากการประเมนิ เปรยี บเทยี บสง่ิ ทีผ่ เู รยี นไดร ับในการจัดกจิ กรรม

ดา นผเู รยี น หมายถึง ความคาดหวังของผเู รยี นหวงั จะไดร ับการตอนรบั ดูแลอยางกระตือรอื รน นอบนอม พดู จา
ไพเราะ ใหความชวยเหลอื อยางจรงิ จังและจรงิ ใจ มีความรูใ นเร่อื งทจ่ี ะรวมกิจกรรมอยางแทจ ริง สามารถสามารถช้ีแจง
ตอบขอสงสยั หรือชวยแกไขปญหาไดอยา งชดั เจน

ดา นความนาเช่ือถอื ของผูจัดกิจกรรม หมายถึง ความนา เชื่อของการจัดกจิ กรรม ทีจ่ ะไดรับการสอนจากผูจัด
กจิ กรรม ซง่ึ ความนาเชอื่ ถอื ของจดั กิจกรรมจะเกิดจากความสามารถ และบคุ ลิกภาพของผูจ ดั กจิ กรรมนอกจากนน้ั แลว
ผูเ รยี นมีความคาดหวังอยางมาก และความซ่อื ตรงในจัดกจิ กรรม

ดานลักษณะทางกายภาพ หมายถึง ความคาดหวังของผูเ รียน ทีม่ ใี นการปรบั ปรุงสถานที่การจดั กิจกรรมให
เอ้อื อํานวยตอ การจัดกจิ กรรมแกผ เู รยี น อาทิ ปรบั ภูมิทศั นภายนอกใหส วยงาม จดั ท่ีสาํ หรับน่งั อานหนังสืออยา งพอเพียง
การจัดใหมที ่ีอานหนังสือพิมพ ตนู าํ้ ดม่ื

ประโยชนทไ่ี ดรับจากการศึกษา
1. ทําใหท ราบถึงความพงึ พอใจของผเู รียนในการรว มกจิ กรรมสง เสริมการอาน
2. ทําใหท ราบถึงขอเสนอแนะแนวทางแกไขการจดั กจิ กรรมของ กศน.ตาํ บลวงั ตะครอ

วธิ ดี าํ เนินการศึกษา

ขน้ั ตอนท่ี 1 การศึกษาสภาพและความตองการในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอา นใหกับผูเรยี น โดยใช
แบบสอบถามเพ่ือรวบรวมขอมูลและดําเนนิ การสมั ภาษณผ ูเรียนในกจิ กรรมสง เสริมนิสยั รกั การอาน และความตอ งการใน
การจดั กจิ กรรมของผูเรียนกิจกรรมสง เสรมิ นสิ ยั รักการอาน

ขั้นตอนท่ี 2 การสรางและพฒั นากจิ กรรมสงเสรมิ การอา น โดยกําหนดแนวทางการจัดกจิ กรรม สงเสริมการอาน
จากขอคนพบ ในการศกึ ษาสภาพและความตอ งการในการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอานตามลาํ ดับความตองการอา น (PNI)
กาํ หนดกิจกรรมเปน 3 แนวคดิ ไดแ ก การสรางความสนใจในการอา น การกระตุน ใหเกดิ ความชอบในการอา น และการ
สรางความภาคภมู ใิ จในการอาน ประกอบดวย 5 กจิ กรรม รวมทั้งสน้ิ 5 กจิ กรรม ประเมินคณุ ภาพกิจกรรมดานการจดั
กิจกรรมสงเสรมิ การอาน ประเมนิ ความเหมาะสม ประโยชน ความถกู ตอง และความเปนไปไดของกิจกรรม

ขนั้ ตอนที่ 3 การประเมนิ ประสทิ ธิผลของกิจกรรมสงเสรมิ การอานของผูเ รียน โดย ครู กศน.ตําบลวงั ตะครอ
ปลอ ง เปนผปู ระเมินดวยแบบประเมนิ ประสทิ ธผิ ลกิจกรรม ดําเนนิ การวเิ คราะหข อมลู โดยการหาคา เฉลย่ี ของผูเ รียน
จาํ นวน 42 คน แสดงความคิดเหน็ ตอ กิจกรรมโดยการตอบ แบบสอบถามความคดิ เหน็ วเิ คราะหขอมูลโดยการหา
คารอ ยละ

ผลการวิจยั

1. การสํารวจสภาพและความตอ งการในการจดั กิจกรรมสง เสริมการอานใหก ับผเู รยี นระดับ การศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พบขอ มลู ดงั น้ี

1.1 ผเู รียนและผดู ําเนินกิจกรรมเห็นวาการจดั กิจกรรมสง เสริมการอานในระดับ ปานกลาง
1.2 ผเู รียนและผูดาํ เนนิ กจิ กรรมมีความตองการใหจ ดั กจิ กรรมสงเสรมิ นสิ ัยรกั การอานใน ระดบั มากใน
ดา นลักษณะกิจกรรม ตองการใหมีการทํากิจกรรมทีเ่ ก่ียวของกบั สงิ่ ทไี่ ดอานหลังจากอานเรื่องตา งๆ จบเปนอนั ดบั แรก
ในดา นเวลาในการจัดกจิ กรรม ตองการใหม กี ารกาํ หนดชว งเวลาสาํ หรับการจดั กิจกรรม สง เสริมการอานอยางชัดเจน
เปน อันดบั แรกในดา นการกระตนุ ใหผ ูเรยี นอา นหนงั สือ ผเู รียนตองการใหมกี ารจดั กจิ กรรมเพื่อกระตุนใหผูเรยี นมี
เปา หมายหรือมุงมน่ั ที่จะอาน เปนอันดบั แรกในขณะท่ีผูดาํ เนนิ กิจกรรม ตองการใหมกี ารประกาศรายชือ่ ยอดนักอาน
ประจาํ วันหรือสปั ดาหห รือเดือนเปน อันดับแรก และในดานบทบาท ของผดู ําเนินกจิ กรรม ผูเรยี นตอ งการใหมีการแนะนาํ
หนังสอื ทีน่ าสนใจใหกับผเู รียนไปอานนอกเวลาเปน อนั ดับแรกสว นผูดาํ เนินกิจกรรมตองการใหม กี ารกาํ หนดใหผ ูเรยี น
ทกุ คนมบี ันทกึ การอานประจาํ ตวั เปน อนั ดบั แรก
2. กิจกรรมสง เสรมิ การอานของผูเรยี นระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ผลการยกรา งโดยนําขอ คนพบจากการศกึ ษา
สภาพและความตอ งการในการจัดกจิ กรรมสง เสรมิ การอานตามลาํ ดับความตองการ

ตาราง 1 รางแนวคิดและลกั ษณะกิจกรรมสงเสรมิ นสิ ัยรกั การอา นตามทฤษฎีและขอ คนพบ

การสงเสริมนิสยั ผลการสํารวจลาํ ดบั ผลการสมั ภาษณ ขอ มูลเชงิ ทฤษฎี แนวคิดของกจิ กรรม ลักษณะกจิ กรรม
รกั การอาน (ตัว ความตองการในการ ผเู รยี นดา น
แปร) 1. ความเช่ือในผล
1. ลักษณะ จดั กิจกรรม การ จัดกจิ กรรม ของ การอาน เมอื่
กจิ กรรม บุคคลเหน็ วาการ
ดา นการอา น อานใหผ ลใน
2. บทบาทครู ทางบวก เขากจ็ ะ
ผดู าํ เนินกจิ กรรม 1.1 ตอ งการกจิ กรรมท่ี 1. กิจกรรมทีจ่ ัด เกดิ ทัศนคตวิ าอาน 1. การสรางความ -เนนการสรางความ
แลว ดี ก็ จะมคี วาม
3. วิธกี ระตุนให เกีย่ วของกับส่งิ ทีอ่ าน มุงเนนใหผ เู รียนมี ตงั้ ใจในการ อา น สนใจ ในการอา น มา สนกุ สนานในการ
ผูเรยี นอา น และแสดง
หนังสือ หลงั จากอานเรอ่ื งตาง อสิ ระในการเลือก พฤตกิ รรมการอา น จากความ เชอ่ื วาอา น อาน ไมม ุงให
2. ความเชอ่ื ในกลุม
.4. ชวงเวลาใน ๆ จบ เชน การปลูก อาน คน อา งองิ บคุ คลก็ แลว ดี เมอ่ื อา นแลว นักเรียน เรม่ิ ตน การ
การจดั กจิ กรรม จะมี แนวโนม ทจี่ ะ
กลวยไมหลังจากอาน 2. กิจกรรมท่จี ัดมี อานตาม กลุมคน ใหผลใน ทางบวกกับ อานจาก หนังสือแต
ความเช่ือมั่น หรือ
เรอ่ื ง วธิ ีการปลกู ทง้ั การแนะนาํ เชอื่ ถอื ตนเอง เกดิ ความสุข ไดอานจาก ส่ิง
3. ความเชื่อในการ
กลวยไมส กลุ หวาย หนังสือ ใหมและ ควบคมุ ตนเองให สนุกสนานใน การอาน รอบตัว
อา นจน ประสบ
2.1 ตอ งการใหแนะนาํ กิจกรรมที่ ทาํ ความสาํ เรจ็ ใน 2. การสรา งความ -เร่ิมมกี ารอา นจาก
การอาน
หนงั สือทน่ี า สนใจไป หลังจากการอา น ภาคภมู ิใจในการอาน หนงั สอื ท่ตี องการ

อาน นอกเวลา กิจกรรม การแสดงพฤติกรรม แลว สรา ง

2.2 ตอ งการกาํ หนดให หอ งสมดุ เคลื่อนท่ี อยาง ต้งั ใจที่จะกระทํา ประโยชน จากการ

ผูเรยี นมบี นั ทกึ การอาน 3. กิจกรรมทจี่ ดั มี พฤติกรรมใด ๆ อาน โดยเนน ใหเกดิ

ประจําตัว ทง้ั ในหอ งสมดุ ออกมา เชน หากมี ความสนุกสนาน

3.1 มีหนงั สือใหอ าน และนอก ทัศนคติ ท่ีดี ตอ การ และ ชอบใน

อยางหลากหลาย หอ งสมดุ อา น จะมี พฤติกรรม กิจกรรมทที่ าํ

ประเภท ในเชงิ สนับสนุนหรือ -มีการอา นตาม

3.2 ตองการจดั แนะนาํ คนอ่นื ๆ ใหม า ความ สนใจ และนาํ

กิจกรรม เพือ่ กระตุน ให อานดว ย กอ ใหเ กิด สาระที่ ไดส ราง

เปา หมาย หรอื มุงมน่ั ท่ี ความ ภาคภมู ใิ จจาก ความ ภาคภมู ิใจให

จะอาน เชน มีบา น การอาน ตนเอง โดยการอาน

หนังสือชุมชน รถโม 3. การกระตนุ ใหเ กิด ใหผอู ่ืนฟง แนะนํา

บายเคลื่อนท่ีในชุมชน ความชอบในการอาน เพื่อนมา อา น

4.1 ตอ งการใหม กี าร เมื่ออา นแลว ไดทํา หนงั สือ สราง

กาํ หนดชว งเวลาสาํ หรับ กจิ กรรมทท่ี าํ ใหเ กดิ หนงั สอื ใหเ พื่อนอาน

การจดั กิจกรรมสง เสริม ประโยชนต อ ตนเองก็

การอา นอยางชดั เจน จะเกิดความรสู ึกชอบ

แตหากทําแลวไมชอบ

ก็ จะไมอาน

ตาราง 2 รางกิจกรรมสง เสริมการอา น

แนวคดิ ของกจิ กรรม ลกั ษณะกิจกรรม ตัวอยางกิจกรรม

1. การสรางความสนใจในการอา น เนนการสรา งความ สนุกสนานในการ -กิจกรรมเรียนรูส ูบานหนังสือชมุ ชน

มาจากความเชือ่ วาอานแลว ดี เมอื่ อาน อานไมม ุงใหผ ูเ รยี นเร่ิมตนการอาน

แลว ใหผ ลในทางบวกกับตนเอง จากหนังสอื แตไดอา นจาก สิ่งรอบตัว

เกดิ ความสขุ สนกุ สนานในการอา น

2. การกระตุนใหเ กิดความชอบในการ เริ่มมีการอา นจากหนังสอื ที่ ตองการ -กิจกรรมเรยี นรูสงู านอาชีพ

อา น เมื่ออา นแลวไดท าํ กจิ กรรมท่ที ํา แลวสรางประโยชนจ ากการอานโดย -กจิ กรรมหอ งสมดุ มชี วี ิต สญั จรสู

ให เกดิ ประโยชนต อ ตนเองก็จะเกิด เนน ใหเ กดิ ความสนุกสนานและชอบใน ชุมชน

ความรูสึกชอบแตห ากทําแลวไมชอบก็ กิจกรรมที่ทํา -กิจกรรมอานเพื่อรูส ู ประตโู ลกกวา ง

จะไมอา น

3. การสรางความภาคภูมิใจในการ มีการอานตามความสนใจ และนํา -กจิ กรรมตะกราความรู สชู ุมชนคนรกั

อา น การแสดงพฤติกรรมอยา งตงั้ ใจที่ สาระที่ไดสรา ง ความภาคภูมใิ จให การอาน

จะ กระทาํ พฤติกรรม ใด ๆ ออกมา ตนเอง โดยการอา นใหผูอ่นื ฟง แนะนาํ

เชน หากมที ัศนคตทิ ่ีดตี อการอา น จะมี ใหเพื่อนมาอาน หนงั สอื

พฤติกรรมในเชงิ สนับสนุนหรือแนะนํา

คนอน่ื ๆ ใหม าอา นดวย กอใหเ กดิ

ความภาคภูมิใจจากการอา น

ผลการสรา งและพฒั นากจิ กรรมสงเสริมการอาน โดยการยกรางกจิ กรรมการสง เสริมนิสัยรกั การ อานและ
ดําเนินการตรวจสอบกิจกรรมดวยการสนทนากลุม (Focus Group) โดยครู กศน.ตําบลวงั ตะครอ เพ่ือประเมนิ คุณภาพ
กิจกรรม ในดานความเหมาะสม ประโยชน ความถูกตอง และความเปนไป ไดใ นการนาํ ไปใช ไดขอสรปุ เก่ยี วกับกิจกรรม
สง เสรมิ การอานสาํ หรบั ผูเรียน ซึ่ง ผูวจิ ัยมงุ ศึกษา โดยกจิ กรรมประกอบดว ย 3 แนวคิด ไดแ ก 1) การสรางความสนใจใน
การอาน ประกอบดว ย กิจกรรมเสน ทางนักอาน Reading Rally กจิ กรรมนทิ านเพลนิ ใจ และกิจกรรมพิษณุโลกบานเรา
2) การกระตุน ใหเกิดความชอบในการอา น ประกอบดวย กจิ กรรมขยะนา รู กจิ กรรมนทิ านสําราญใจ และกิจกรรมโถมหา
สมบตั ิ 3) การสรา งความภาคภมู ใิ จในการอาน ประกอบดว ย กจิ กรรมพ่ีเกงชวนนองอาน กจิ กรรมหนังสอื คูแฝด และ
กจิ กรรมหนงั สือสือ่ แทนใจ ซึง่ กจิ กรรมท้ังหมดมีความเหมาะสม ความถูกตอง ความเปนไปได และความเปน ประโยชน
อยูในระดบั มากที่สุดตามแนวคิดเชงิ ทฤษฎีพฤติกรรมตามแบบ (Theory of Plan Behavior) ประกอบกับขอคนพบจาก
สภาพและความตองการในการจัดกจิ กรรมสงเสริมนสิ ัยรักการอานตามลําดับ ความสําคญั และขอคน พบจากการ
สมั ภาษณครูผดู าํ เนนิ กจิ กรรมในโรงเรียนท่มี ีการจัดกจิ กรรมเปน ท่ียอมรบั จึง ไดแ นวคดิ ของกจิ กรรมสงเสรมิ นิสัยรักการ
อา น

3. ผลการประเมินประสิทธผิ ลของการใชก ิจกรรมสงเสรมิ นิสัยรกั การอานของนกั เรยี น พบวา
3.1 การประเมนิ ประสิทธิผลการใชก ิจกรรมโดยครู ในดานความเปนไปไดใ นการดาํ เนนิ กจิ กรรมเหน็ วามี
ประสทิ ธผิ ลของการนําไปใชม ากท่สี ุด คือ กจิ กรรมทกี่ ําหนดมีผลดแี ละเปน ประโยชนตอผูเรียน เหมาะสมกับชว งวยั ของ
ผเู รยี น สอดคลองกบั ความตองการของผูเ รียน ผูเรียนสามารถปฏิบตั ติ ามกจิ กรรมที่ กาํ หนดได สามารถปฏิบตั ิไดจ รงิ ตาม
เวลาทกี่ ําหนด และไมเปนการเพ่มิ ภาระใหก ับครู สวนความเหมาะสมของ กิจกรรมตามกระบวนการจดั กิจกรรม มี
ประสิทธิผลของการนาํ ไปใชม ากท่สี ดุ ในทุกกิจกรรม
3.2 การสอบถามความคิดเห็นของผเู รยี นตอกจิ กรรมสงเสรมิ การอาน พบวา ผูเ รยี นทกุ คนเหน็ วา กิจกรรมชวยให
ผูเรียนสนใจทีจ่ ะเขารว มกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วของกับการอานอนื่ ๆ ได ผเู รยี น มีความต้ังใจในการอานมากข้นึ และชว ยให
ผเู รียนสามารถอา นไดจ ากสอื่ การอา นท่ีมีอยใู นทุกสถานที่ กิจกรรมท่ี จัดขนึ้ ชวยใหผ เู รยี นรูสึกสนกุ กับการอา น และชอบท่ี
ไดแ ลกเปลีย่ นความคิดเห็นเก่ียวกับกจิ กรรมการอานท่ีจัด ข้ึนหรือเก่ยี วกับหนังสือท่ีไดอาน ไดเ ลอื กอา นหนงั สือท่ตี นเอง
ตอ งการ ไดอา นอยางมีเปาหมาย ชว ยใหผ ูเ รยี น สามารถอานไดโดยไมมีขออา งเร่อื งเวลา และรสู ึกสนใจทีจ่ ะอานหนังสอื
มากขน้ึ

สรปุ ผลการศกึ ษา อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ

1. สภาพและความตองการในการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอา นพบวา ผเู รียนและผูดําเนนิ กิจกรรม มคี วาม
ตอ งการใหม ีการทาํ กิจกรรมท่ีเก่ยี วของกับส่ิงท่ีไดอานหลังจากอานเร่ืองตางๆ จบ และตองการ ใหมีการกาํ หนดชว งเวลา
สําหรับการจดั กิจกรรมสง เสริมการอานอยางชัดเจน ซึ่งในประเทศท่พี ัฒนาแลว เชน

สหรัฐอเมรกิ าเองเขากย็ ังมีการกําหนดใหมีการจัดกจิ กรรมเก่ียวกับส่งิ ที่ไดอา น จากกิจกรรม One City One
Book (พิรณุ อนวัชศริ ิวงศและถิรนนั ทอนวัชศริ ิวงศ, 2554) ทีท่ กุ คนอานหนังสือเรื่องเดียวกัน แลว มีกจิ กรรมที่ เกี่ยวของ
กับสงิ่ ทีอ่ านรว มกัน เพอื่ ใหผูอานไดมีบทบาทจากการอา น อันจะสงผลตอความเช่ือวาการอานกอใหเ กดิ ผลดตี อ ตนเอง
และกอใหเกิดทัศนคติทด่ี ีตอ การอาน และกลายเปน ผูมีนิสัยรกั การอานไปในท่สี ุด เชน เดยี วกับ สมงิ ไสยนั ต (2553) ที่
กลา วไวว ากจิ กรรมการอา นท่ีผูเ รยี นไมมสี วนรว มทําใหเ กิดความเครียดและขาดความ สนใจ การทผ่ี ูเ รียนมีบทบาทในการ
ดาํ เนนิ กิจกรรม มีสวนรว มในกิจกรรมจะสงผลตอเจตคติที่ดีตอการอาน เชนเดยี วกับ Catherine et al. (2012) ทกี่ ลา ววา
การอา นท่ีสนกุ สนาน มีการทํากิจกรรมทเ่ี กีย่ วของจะชวยให นักเรยี นเกดิ ความคิดรเิ ร่ิม ชว ยใหเ กิดการเรียนรูตา งๆ ไดดี

2. ผลการสรา งและพัฒนากจิ กรรมสงเสริมการอาน พบวา มีการศึกษาขอมูลเชงิ ทฤษฎีท่ี เก่ียวของกบั การสราง
พฤติกรรม ซ่งึ การที่ผูเ รยี นจะเกดิ พฤติกรรมรักในการอานนั้น จะเร่ิมจากเขาตองมีความ เชอื่ เสียกอ นวา การอานเปน สิ่งที่ดี
เขาจะไดร บั สงิ่ ท่ีดจี ากการอาน ดังนน้ั การกําหนดรายละเอียดในกจิ กรรมท่ี นําไปใชสาํ หรบั ผเู รยี นจงึ ไมค วรเรมิ่ ตน ดวยการ
อา นจากหนงั สือ แตค วรเรม่ิ ตนจากการสรา งความสนใจในการ อา นกอน และกจิ กรรมท่ีกําหนดก็ควรตองสรา งความสุข
สนกุ สนาน มากกวาสรา งความกดดันหรือเครง เครียด เมื่อนักเรยี นเกิดความรูสึกสนกุ สนานกจ็ ะสนใจวาตอไปจะมีกจิ กรรม
อะไรที่เกย่ี วของกนั อีกบา ง แลว จึงคอ ยๆ ให นกั เรียนไดสัมผสั หนังสอื ไปทลี ะนอย โดยผูเรียนตองมีอิสระในการเลอื กอาน
ไดอยา งเต็มท่ี เพราะมนษุ ยน ั้นมี ความสามารถในการเรยี นรูส ิ่งตางๆ ไดจากความสนใจของตนเอง ทาํ ใหเ กดิ การเรยี นรสู ิง่
ใหมๆ ทําให ประสบการณเปลย่ี นแปลงไป (วฒุ ิพงษ คาํ เนตร, 2552) เชน เดยี วกบั บุญชวย สายราม (2552) ที่กลา วไวโดย
สรปุ ไดว า กิจกรรมที่ทาํ ใหนักเรียนสนใจจะชวยใหผเู รยี นเหน็ ความสาํ คัญของการอานและพยายามท่ีจะพฒั นาการ อาน
ของตนเองและมีความสขุ ในการอาน ดังนน้ั การกําหนดกจิ กรรมในการสงเสริมการอา นใหกบั ผูเ รยี นจงึ ควรเร่มิ ตนจาก
การสรา งความสนใจในการอานกอน แลวจึงกระตนุ ใหผ เู รยี นเกดิ ความชอบในการ อานตอไปไดเรื่อยๆ และมีการสรา ง
ความภาคภูมิใจในการอานใหกบั ผูเ รยี น เพ่อื ใหเ กิดทัศนคติในเชิงบวกตอ การอาน อันจะนาํ ไปสูก ารมีความตง้ั ใจทจ่ี ะ
แสดงพฤตกิ รรมรักในการอาน แนวคิดในการจดั กจิ กรรมสง เสริมการอานทผ่ี วู ิจยั ไดส งั เคราะหข้ึน จึงเปน แนวทางหนงึ่ ท่ี
ผูสนใจสามารถนาํ ไปใชได โดยอาจประยุกตก ิจกรรม ตางๆ มาใชใ นการดําเนนิ กจิ กรรมในการสรางหรอื สง เสริมการอาน
ใหก ับผูเรยี นได ทั้งนี้ กิจกรรมทีจ่ ัดก็ ไมจาํ เปนตองดาํ เนนิ การภายในหอ งสมดุ เพียงเทาน้ัน แตสามารถจดั ในสถานทใ่ี ดกไ็ ด
ท่ีมคี วามเหมาะสมกับ วตั ถปุ ระสงคท ่ีตองการและลักษณะกิจกรรมทจี่ ัด

3. ผลการประเมนิ ประสิทธผิ ลของกจิ กรรมโดยครู ซ่ึงเปน ผูที่สอน พบวา ผปู ระเมินเหน็ วากจิ กรรมทจี่ ัดข้นึ มีความ
เปน ประโยชนและความเหมาะสมในระดบั มากที่สดุ แสดงใหเหน็ วา ผปู ระเมินทุกคนพิจารณาแลว วากจิ กรรมนมี้ ี ผลดแี ละ
เปนประโยชนต อ ผูเรยี น เหมาะสมกับชว งวัยของผเู รยี น สอดคลอ งกบั ความตองการของผูเรียน สามารถปฏบิ ัตไิ ดจรงิ ตาม
เวลาทีก่ าํ หนด และไมเ ปน การเพ่ิมภาระใหกับครู ทงั้ นี้ กจิ กรรมท่กี าํ หนดขนึ้ สามารถ นําไปประยุกตใ นวิชาเรยี นหรอื ใน
การจัดกจิ กรรมในการเรยี นเพื่อสอดแทรกการปลกู ฝงนิสยั รักการอา นใหก บั ผูเรยี นได ซ่ึงจะเปน การสนับสนุนและ
สนองตอบตอนโยบายในการสงเสรมิ การอานของรัฐบาล โดยท่คี รู สามารถนาํ แนวทางการจัดกิจกรรมไปปฏบิ ตั ไิ ดอยา ง
งา ยดาย ทง้ั น้ี หากยึดตามกรอบแนวคดิ ในการจัดกจิ กรรม สง เสรมิ การอา นท่ีผูวิจยั ไดสงั เคราะหข น้ึ เชื่อวา จะสามารถ
นําไปปฏิบัติไดในทกุ สถานศึกษา อกี ทั้ง กจิ กรรมสง เสริมการอา นท่ผี ูวจิ ยั ไดพฒั นาขน้ึ มานี้ กาํ หนดกิจกรรมไวหลากหลาย
ในแตล ะกระบวนการ ของกิจกรรมและเปนส่ิงทชี่ ว ยใหผูเรียนไดทาํ ในสิง่ ทที่ าทายในเชิงบวก ชว ยสงเสรมิ การอา นของ
ผเู รยี นไดดี สอดคลองกับ Rachel et al. (2007) ประกอบกับการจดั กจิ กรรมเปดโอกาสใหผูเรียนไดร ว มกจิ กรรมหลงั จาก
การอา นจบลง จะชวยใหการอา นของผเู รียนเปนการอานที่มคี วามหมาย มิใชอา นแลวไมรวู าจะอา นไปเพ่ืออะไร ผเู รียน
จะเกิดความภาคภูมิใจจากการอา นไดจากการทาํ กจิ กรรมจากการอา นนี้ สอดคลอง แมน มาส ชวลิต (2539) เม่อื พิจารณา
การแสดงความคดิ เหน็ ตอกิจกรรมของผเู รยี นพบวา กจิ กรรมชว ยใหผ เู รยี นสนใจท่จี ะ เขารว มกิจกรรมท่เี ก่ียวของกบั การ
อา นอน่ื ๆ ผเู รยี นมีความตง้ั ใจอา นมากข้ึน สามารถอา นไดจ ากส่อื การอา นท่มี ี อยใู นทุกสถานที่ ผูเรยี นรูส ึกสนกุ กบั การ
อา น ไดแ ลกเปลย่ี นความคิดเห็นเกยี่ วกับกิจกรรมการอาน ไดเ ลอื ก หนงั สือทต่ี นเองตองการ ไดอา นอยางมเี ปา หมายและ
รสู กึ ภูมใิ จท่อี านแลว ไดสรา งผลงานไปเผยแพรหรือได ชักชวนเพอื่ นใหม าอานหนงั สอื หรือไดอ านใหนองๆ ฟง ส่งิ เหลา น้ี
แสดงใหเหน็ วากจิ กรรมทจ่ี ัดมีความสอดคลอง กับทฤษฎที างจิตวทิ ยาในเร่อื งทัศนคติ การท่บี ุคคลจะมที ัศนคติที่ดีตอ สิง่ ใด
ส่งิ หนึ่งและยอมรบั ส่ิงน้นั กต็ อเม่ือเขา เช่ือวาสิ่งที่ทํานน้ั กอใหเ กดิ ประโยชนแ ละเปน ผลดตี อตนเอง ซง่ึ การยอมรบั นั้นตอง
เกิดจากการทีเ่ ขาไดมี ประสบการณตอสิ่งนนั้ ดว ยตนเองสอดคลอ งกับ Klauda (2008) ซงึ่ กจิ กรรมทกี่ ําหนดใหมีการทํา
กิจกรรมจาก การอา นเพื่อสรา งความภาคภูมิใจใหกับผูอา น ก็ยง่ิ เปนการกระตุนใหเกิดทศั นคติทดี่ ี อันจะเกิดประโยชนต อ
การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมในการอานของผูเ รียนไดเ ปน อยา งดที ้ังนี้ การกาํ หนดกจิ กรรมตางๆ จําเปน ตอ งมีความ
หลากหลาย ซ่ึงครผู ูดําเนินการควรมกี ารเตรยี มตัวในการศึกษารปู แบบกิจกรรมทห่ี ลากหลายไวเพื่อรองรับความตองการ
ของผูเรียนดวย โดยทคี่ รูเปนบคุ คลสําคัญในการสรา งแรงจูงใจใหผ เู รยี นเกิดความตอ งการอา น เปน ตวั อยา งทด่ี ีในการอาน
ซงึ่ จะสง ผลตอ การเกิดความเช่ือและทัศนคตทิ ด่ี ตี อการอา นของผูเ รียน และสงผลตอไป จนถงึ การมีนสิ ัยรักการอาน

ขอ เสนอแนะ

ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวจิ ัยไปใช
1. กจิ กรรมสงเสริมการอา นท่ีสรางและพฒั นาขึ้นน้ี ตอ งอาศยั ผดู าํ เนินกจิ กรรมทส่ี ามารถรวมกิจกรรมกับผูเ รียน
ไดใ นทุกขัน้ ตอน สามารถสงั เกตพฤติกรรมการอา นของผเู รียนไดอยางชัดเจนและมองเห็น แนวทางในการพัฒนากิจกรรม
ตอ ไปไดอยา งแทจ ริง และคณะครูทุกทานกส็ ามารถดาํ เนินการแทนกันได เพราะ กิจกรรมมขี ัน้ ตอนที่ไมยากและไม
ซบั ซอน และหากครูผดู ําเนินกจิ กรรมเปนผูท ี่มีนิสยั รกั ในการอา นดว ย จะยงิ่ เปน ประโยชนตอ การดาํ เนนิ กิจกรรม เพราะ
จะสามารถแนะนาํ การเลอื กอานหนังสอื หรือชกั ชวนใหผเู รยี นอาน หนังสอื ไดง ายขึน้ อันจะทาํ ใหผ ูเ รียนเกดิ ความเชื่อในตวั
บุคคลวาครกู ็ยังเปนนักอา น ดังนัน้ ผเู รยี นก็อาจจะสนใจการอา นเพ่ิมขนึ้ เพราะมบี ุคคลอางอิงในการอา นก็เปน ได
2. กจิ กรรมท่ีกาํ หนดขึน้ บางกิจกรรม ตองใชเ วลาเฉพาะในการดําเนินกจิ กรรม ดังนนั้ จึงควร กาํ หนดเวลา
สําหรับกจิ กรรมสง เสริมการอานไวอยางชดั เจน เพ่อื ใหผูเรยี นไดสามารถรวมกจิ กรรมได อยา งเต็มที่ ในขณะท่ีบางกิจกรรม
สามารถบรู ณาการกบั การเรยี นรูใ นวชิ าตา งๆ ในชนั้ เรียนได และในบางกิจกรรม ไมจําเปนตอ งดาํ เนินการในหองสมดุ เพียง
อยางเดยี ว แตสามารถดาํ เนินการในบริเวณตางๆได ซึ่งผดู ําเนนิ กจิ กรรมอาจจะใหผูเรียนไดต กลงรว มกันวาจะดําเนิน
กจิ กรรมทีบ่ ริเวณใด
3. กิจกรรมท่ีกําหนด ไมไดมุงความสนใจในผลงานทผี่ เู รียนไดทาํ ในแตล ะกจิ กรรม ไมวาผลงานที่ เกดิ ขึ้นจะสวย
เรยี บรอ ย หรือไมก ็ตาม แตเจตนาของกิจกรรมคือการสรา งนิสยั ใหผูเรียนรักในการอาน ดังนั้น ผู ดําเนินกิจกรรมจงึ ไมควร
มุงเนนทีค่ ุณภาพของผลงานที่จะเกิดข้นึ แตควรมงุ ความสนใจไปที่การสรา งใหผ เู รียนมี ความเช่อื มที ัศนคตทิ ่ดี ี ชอบ และ
ภมู ใิ จในการอานเปนสาํ คัญ ท้ังน้ี การแสดงความชนื่ ชมผเู รียนอยา งจริงใจเปน สิง่ สาํ คญั อนั จะมสี วนชวยใหบรรลุตาม
วตั ถปุ ระสงคของกจิ กรรมได
4. แนวคิดของกจิ กรรมสง เสริมการอานของผูเรยี นทส่ี รางและพฒั นาขนึ้ นี้สามารถนําไปใชจ ัดกิจกรรมอืน่ ๆ
ท่สี อดคลองเพอ่ื นาํ ไปพฒั นาสงเสริมผูเ รยี นในดานอืน่ ๆ ขอ เสนอแนะเพ่ือการวจิ ยั ครง้ั ตอไป
1. ควรศึกษาตอไปวา นอกจากกจิ กรรมน้ีจะกอ ใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงนิสัยรักการอา นของผเู รยี น แลว ยังสงผล
ตอผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี นรูของผูเ รยี นดว ยหรอื ไม
2. จากการศกึ ษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ ง พบวา มงี านวิจยั และเอกสารหลายฉบบั ท่ีแสดงถงึ ความ แตกตาง
ของความสนใจในการอา นของผเู รยี นชายกบั ผเู รียนหญงิ ดังนน้ั จึงควรมกี ารศึกษาวา กจิ กรรมทสี่ ราง และพฒั นาขึ้นนี้
สงผลตอนิสัยรกั การอานของผูเ รยี นชายและผเู รยี นหญิงแตกตางกันอยางไร
4. ควรศึกษาระดับของการเรียนวาในการนําแนวคิดของกิจกรรมสง เสรมิ การอานไปใชผลการศึกษาแตกตางกนั
หรอื ไม

บรรณานุกรม

เอกสารอางองิ ธงชยั สันตวิ งษ. (2546). องคการและการบรหิ าร (พิมพค ร้ังที่ 15). กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ .
บญุ ชว ย สายราม. (2552). การพฒั นาการดําเนนิ งานการสง เสริมนิสัยรกั การอา นของนักเรยี นโรงเรียนบานหนอง

ทัพ อาํ เภอนาํ้ ยืน จังหวัดอุบลราชธาน.ี (วิทยานิพนธศ กึ ษาศาสตรม หาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั
มหาสารคาม, มหาสารคาม.
ประภัสสร เสวิกุล. (2555). เมอื ง (ของคนไมอาน) หนงั สือโลก. คมชัดลกึ ออนไลน. สบื เมอ่ื 19 กนั ยายน 2555,
จาก http://www.komchadluek.net
พลายพิชยั ศิริอรรถ. (2553). การพัฒนาการดําเนินงานสง เสริมนิสัยรักการอานของนักเรียนโรงเรียนไพโรจน
วชิ ชาลัย อําเภอเมอื งรอยเอด็ จังหวดั รอยเอด็ . (วทิ ยานิพนธศ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม, มหาสารคาม.
พิรณุ อนวุ ัชศริ วิ งศ, และถิรนันท อนุวัชศริ วิ งศ. (2554). อา นสรา งสุข: สรางวัฒนธรรมการอาน สรา งการอา นให
เปนวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ: แปลนพลิน้ ทต ้ิง.
แมนมาส ชวลิต. (2539). ความชว ยเหลือท่ียเู นสโกใหแ กประเทศไทย ในระยะเวลา 50 ป. วารสาร
คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษาฯ สหประชาชาติ, 28(3), 68-71.
ยนื ภวู รวรรณ. (2553). ปญ หาการศึกษาในเดก็ และเยาวชนไทย. สบื เม่อื 28 มถิ นุ ายน 2554, จาก
www.wearehappy.in.th
วรากรณ สามโกเศศ. (2554). “การอา น” กบั “ชีวีมีราคา”. มตชิ นรายวัน. สืบเมื่อ 26 ธนั วาคม 2554, จาก
www.varakorn.com/upload/page/matichon_daily/8_sep_11_daily.pdf
วิทยากร เชียงกลู . (2555). ท าใหเ ดก็ ไทยรกั การอานหนงั สือดีได จงึ จะกชู าติ(ปฏริ ปู ประเทศ) ได. สบื เมื่อ 1
9 กันยายน 2555, จาก http://www.bangkokbiznews.com
วฒุ พิ งษ ค าเนตร. (2552). การจัดกิจกรรมตามแนวคิดการสรางความรูน ิยมเพอ่ื สง เสริมทกั ษะและนิสยั รักการ
อา นของนักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2. เชยี งใหม: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.
สมิง ไสยนั ต. (2553). การพัฒนาบุคลากรดานการสงเสริมการอานโรงเรียนบา นนายาง อาํ เภอภกู ระดึง จังหวดั
เลย. (วทิ ยานพิ นธการศกึ ษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
สทุ ธชิ ัย ปญ ญโรจน. (2555). คุณประโยชนข องการอา น คือ หนา ตางแหง โลกกวา ง. สบื เม่ือ 5 ธนั วาคม 2555, จาก
www.oknation.net.
โสภา เจรญิ ย่ิง. (2556). กจิ กรรมสง เสรมิ การอานสาํ หรับเด็ก. กรุงเทพฯ: สุรชยั การพมิ พ.
อตภิ า พสิ ณฑ. (2554). การอานแรงขับเคลื่อนของ “เกาหลีใต” สกู ารสรา งชาติ. สบื เมือ่ 10 พฤศจิกายน 2556, จาก
www.enn.co.th

ภาคผนวก

แบบสอบถาม เรือ่ ง ความพึงพอใจของผูเรียนทมี่ ตี อ กจิ กรรมสง เสริมการอาน
กศน.ตําบลวังตะครอ
อาํ เภอบา นดานลานหอย

แบบสอบถามเพ่ือทาการศึกษา

คําชี้แจง : 1. แบบสอบถามชุดนี้แบง ออกเปน 3 สว น ดังน้ี
สว นที่ 1 แบบสอบถามเกีย่ วกบั ขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผตู อบแบบสอบถาม
สว นที่ 2 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ความพึงพอใจของผรู วมกิจกรรมสงเสรมิ การอาน กศน.ตําบลวงั ตะครอ

อาํ เภอบา นดานลานหอย
สวนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะ

2. ผศู กึ ษานาํ คําตอบของทานไปใชใ นการวจิ ยั คร้ังนีเ้ ทานั้น โดยเกบ็ ขอ มูลที่ไดมาวิเคราะหในภาพรวม จึงไมมี
ผลกระทบตอตวั ทาน หรือตําแหนง หนา ทีก่ ารงานของทา นแตอยา งใด

ขอบคณุ ในความรวมมอื

แบบสอบถาม

เรือ่ ง ความพงึ พอใจของผรู วมกิจกรรมสงเสริมการอาน กศน.ตาํ บลวังตะครอ อาํ เภอบานดานลานหอย

แบบสอบถามชุดนจี้ ดั ทําขนึ้ เพื่อทาํ การศกึ ษาความพึงพอใจของผูรว มกิจกรรมสง เสริมการอา น กศน.ตําบลวงั
ตะครอ อาํ เภอบา นดา นลานหอย

เพ่ือประโยชนในการ ปรับปรุงพัฒนาระบบการจัดการของหองสมุด และการบริการใหด ียิ่งขึ้น หอ งสมุด
ขอขอบพระคุณทานทใ่ี หค วามรวมมือในการตอบแบบสอบถามและขอมูลของทา นจะถูกเกบ็ ไวเปน ความลบั

คาํ ชี้แจง : เขียน � หนาขอความที่ตรงกับความคดิ เหน็ ของทา นหรอื ตรงกับขอเทจ็ จรงิ มากที่สดุ
สว นท่ี 1 ขอ มูลลักษณะสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ

 ชาย � หญิง

2. อายุ

 ต่ํากวา 20 ป � 20 – 25 ป
 26 – 35 ป � 36 – 45 ป
 46 – 55 ป � มากกวา 5 ป ข้ึนไป

3. สถานภาพ

 นกั ศึกษา � บคุ ลากร
 บคุ คลภายนอก

4. ระดับการศึกษา

 ตา่ํ กวา ปรญิ ญาตรี � ปริญญาตรี
 ปริญญาโท � สูงกวาปริญญาโท

สวนท่ี 2 ขอ มลู เก่ียวกบั ความพึงพอใจของผูร ว มกิจกรรมสงเสริมการอา น กศน.ตําบลวงั ตะครอ
อําเภอบา นดา นลานหอย

คาํ ชแ้ี จง : โปรดพจิ ารณาขอความของคาํ ถามแตล ะขอ และใหทานตอบคาํ ถามตามความคิดเห็นของทา น

วา ปจจัยทม่ี ีผลตอความพึงพอใจผูรวมกิจกรรมสง เสริมการอาน กศน.ตําบลวังตะครอ อําเภอบานดานลานหอย

ในแตละดานวา อยูใ นระดบั ใด กรุณาทําเคร่อื งหมาย ลงในชองความพงึ พอใจ

ระดับความพึงพอใจ

ความพึงพอใจผูร วมกิจกรรมสง เสรมิ การอา น มากท่ีสดุ มาก ปาน นอย นอย
กศน.ตําบลวังตะครอ กลาง ทสี่ ดุ

5 4321
ดา นผจู ดั กิจกรรม
1.ผูจดั มคี วามรู ความชํานาญ เหมาะสมกบั งานท่รี บั ผิดชอบ
2.ผจู ัดไดใ หคําแนะนําคําปรกึ ษา ตอบขอซักถาม ผูใ ชบรกิ ารไดอยา งชดั เจน
ถกู ตองดว ยความเต็มใจ
3.ผูจดั ใหเ วลากบั การปฏิบัติตามหนาทีอ่ ยางเต็มท่ี
4.ผูจดั ใหบริการดว ยความโปรง ใส ไมท ุจริต
5.ผจู ัดมีมนุษยสมั พนั ธท ด่ี ี / มีจติ ใจรักบริการ
6.ผจู ดั จดั ดว ยความถูกตอง รวดเร็ว ทนั เวลา ไดผ ลลัพธตามท่ที านตองการ
7.บรรยากาศ มีความสงบ เหมาะสมสาหรบั ผูร วมกจิ กรรมหาความรู
8.ผใู หบรกิ ารมคี วามกระตือรือรนและความพรอมใหบ ริการ
ดา นความนา เชื่อถอื ของผจู ดั กิจกรรม
9.ความรวดเรว็ ในการจัดกิจกรรม
10.ความถูกตองในการใหบรกิ าร
11.การรว มกจิ กรรมสะดวก สบายและเปน กันเอง
ดานกจิ กรรมสงเสริมการอา น
12.กิจกรรมเรียนรูส บู า นหนงั สือชมุ ชน
13.กิจกรรมเรยี นรสู งู านอาชีพ
14.กิจกรรมหองสมดุ มีชวี ิต สัญจรสูชมุ ชน
15.กิจกรรมอานเพ่อื รสู ู ประตูโลกกวา ง
16.กจิ กรรมตะกราความรู สชู มุ ชนคนรกั การอา น

ความพงึ พอใจผูร วมกิจกรรมสงเสรมิ การอา น ระดบั ความพึงพอใจ
กศน.ตําบลวังตะครอ
มาก มาก ปาน นอ ย นอย
ดา นสถานท่ีและสงิ่ แวดลอม ทีส่ ดุ กลาง ทสี่ ุด
17.บริเวณภูมิทศั นโดยรอบ กศน.ตาํ บล
18.ความกวางขวางของสถานท่จี ัดกจิ กรรมเหมาะกับผรู วมกจิ กรรม 5 4321
19.ภายใน กศน.ตําบลมแี สงสวา งเพยี งพอ
20.บริเวณโดยรอบ กศน.ตําบลมคี วามปลอดภัย
21.ความเหมาะสมของอณุ หภูมิหอง และระบบการถา ยเท
อากาศ ภายใน กศน.ตําบลท่ีเหมาะสม
22.ความสะอาดของ กศน.ตําบล
23.การตกแตง สถานที่และบรรยากาศภายใน กศน.ตําบล

สว นท่ี 3 ปญหาและขอเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………...................................

ขอขอบคณุ

คาเฉลี่ยและสว นเบยี่ งเบนมาตรฐานเก่ยี วกบั ความพึงพอใจของผูร ว มกจิ กรรมสง เสริมการอาน
กศน.ตําบลวังตะครอ พฤษภาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2565 โดยภาพรวม

ความพึงพอใจผูรวมกจิ กรรมสงเสรมิ การอาน

มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอย นอยท่สี ดุ

กศน.ตําบลวงั ตะครอ

1.ดา นผจู ัดกิจกรรม 15 15 10 - -

2.ดานความนาเช่อื ถอื ของผจู ัดกจิ กรรม 20 10 10 - -

3.ดานกิจกรรมสงเสรมิ การอา น 23 12 5 - -

4.ดา นสถานทแ่ี ละสิง่ แวดลอ ม 25 15 - - -

รวม 83 52 25 - -


Click to View FlipBook Version