The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บัญชีซื้อขายสินค้า-03 สังเกตุการสอน.pptx (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noonun_tkd, 2022-03-27 03:03:20

บัญชีซื้อขายสินค้า-03 สังเกตุการสอน.pptx (2)

บัญชีซื้อขายสินค้า-03 สังเกตุการสอน.pptx (2)

หนวยท่ี 3
การบันทึกรายการซ้ือขายสินคา

ในสมุดรายวนั ทั่วไป

นางสาวชญาภทั ร ธนเสฐภาคนิ

ภาควิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสงขลา

สาระการเรียนรู้

1ลักษณะของรายการคา และการวิเคราะห
รายการคา

2ความหมายและรปู แบบของสมุดรายวัน
ท่ัวไป

3 วธิ กี ารบันทกึ บญั ชีสาํ หรบั กิจการ
4ซกื้อาขราคยําสนนิ วคณาภาษมี ลู คา เพ่มิ

5การบันทกึ รายการกรณีกิจการไมจ ดทะเบียน
ภา6ษกีมาลู รคบา ันเพทม่ิึกรายการกรณีกจิ การจดทะเบยี น
ภาษมี ลู คาเพ่ิม

แนว
คดิ ในกรณีท่ีกิจการคาเปน กจิ การขนาดเล็ก อาจใชสมดุ บนั ทึกรายการข้ัน

ตน เลม เดียวคือสมุดรายวันท่วั ไป บนั ทกึ รายการทุกรายการที่เกิดขึน้
ในกจิ การ การบนั ทกึ รายการจะแยกเปนกรณีทกี่ ิจการไมจดทะเบียน
ภาษมี ลู คาเพม่ิ และจดทะเบียนภาษมี ลู คา เพิ่ม สวนวธิ ีการบันทกึ บญั ชีเกย่ี ว
กับสินคา น้นั มี 2 วิธี คอื วิธกี ารบันทกึ บญั ชีสินคาแบบสิน้ งวด
หรอื เมื่อตรวจนบั (Periodic Accounting System) และวธิ ีการบนั ทกึ
บัญชสี นิ คาแบบตอเน่ือง (Perpetual Accounting System)รายละเอียด
จะกลา วในหนว ยถัดไป ในท่ีนจ้ี ะใชวิธกี ารบันทึกบัญชีสนิ คาเมอ่ื สิ้นงวดเปน
วิธีท่ีนยิ มิ ใชโดยท่วั ไป

รายการคา (Business Transaction

Or Accounting transaction) หมายถงึ

รายการท่ีกอ ใหเกิดการแลกเปล่ียนหรือ

โอนเงนิ ระหวา งกจิ การกับบุคคลอนื่ ซ่ึง

จะมีหลายรายการแตกตา งกนั ไปตามรปู

แบบของกจิ การ

กิจการเจาของ

รปู แบบของ คนเดยี ว

กจิ การ กจิ การ

หา งหุนสว น

กจิ การ
บรษิ ัท

102

ประเภทของรายการ
คา

1 รายการคา
1ภ. กาารยนําใเงินนสดหรือสนิ ทรัพยอื่นมาลงทนุ
2. การถอนเงินสดไปใชส ว นตวั

2 รายการคา

1. การซอ้ื สภนิ ทารพัยยนดว ยอเงกนิ สดและเงินเช่อื

2. การซอ้ื สนิ คา เปน เงนิ สดและเงินเช่ือ
3. การขายสนิ คา เปน เงินสดและเงนิ เช่ือ
4. การรบั ชาํ ระหนี้ / จา ยชําระหนี้
5. การจายคาใชจายตางๆ

5

หลกั กากราวริวเคิเครราาะหะหร์ ร์ าายยกกาารรคา้

หลกั การวเิ คราะหรายการคา ตามหลักการ
บญั ชคี ู

การบนั ทกึ บญั ชีตามระบบบญั ชีคู มีหลักดังน้ี
1. การบนั ทึกบญั ชีหมวดสนิ ทรัพย รายการคา ใดทว่ี ิเคราะห
แลวจะบันทึกไวดังน้ี

❖ สินทรพั ยเพม่ิ ใหบ ันทกึ บัญชสี ินทรพั ยดา นเดบติ (Dr.)
❖ สนิ ทรัพยล ดลง ใหบ นั ทกึ บญั ชสี ินทรพั ยด า นเครดติ
(Cr.)

หลกั กากรารววิเคิเครราาะหะหร์ ร์ าายยกกาารคา้

2. การบนั ทึกบัญชหี มวดหน้ีสิน รายการคา ใดที่วเิ คราะหแ ลว
จะบันทึกไวด ังนี้

❖ หนส้ี นิ เพม่ิ ใหบ นั ทึกบญั ชหี นี้สนิ ดานเครดิต (Cr.)
❖ หนีส้ ินลดลง ใหบ นั ทึกบัญชหี นส้ี ินดา นเดบติ (Dr.)

หลกั กากราวริเควิเรคาระาหะร์หาร์ ยายกการารคคา้ า้

3. การบนั ทกึ บัญชหี มวดสวนของเจา ของ (ทนุ ) รายการคา ใด
ทว่ี เิ คราะหแ ลวจะบันทกึ ดงั นี้

❖ สว นของเจา ของ (ทนุ ) เพ่ิมขนึ้ ใหบ นั ทกึ ที่บญั ชสี วน
ของเจา ของดานเครดติ (Cr.)

❖ สวนของเจาของ (ทนุ ) ลดลงใหบนั ทกึ ที่บญั ชีสวนของ
เจา ของดานเดบิต (Dr.)

หลกั กากราวริเวคิเครราะาหะหร์ ร์าายยกกาารรคคา้า้

4. การบนั ทกึ บญั ชีหมวดรายได จากการวเิ คราะหสมการบญั ชี
ถาบญั ชรี ายไดเ พิ่มข้นึ จะมผี ลทําใหส ว นของเจา ของเพ่มิ ขน้ึ
หลกั การวิเคราะหย ึดตามหลกั หมวดบญั ชสี ว นของเจา ของ ดังนี้

❖ ถา รายไดเ พ่มิ ขึ้นจะทําใหส ว นของเจาของเพม่ิ ขึน้ ให
บนั ทึกบญั ชีสว นของเจาของดานเครดิต

❖ ถา รายไดลดลงจะทําใหสว นของเจา ของลดลงใหบ ันทกึ
บัญชีสวนของเจา ของดานเดบติ

หลกั กากราวริเควิเรคาระาหะร์หาร์ ยากยการารคคา้ า้

5. การบันทึกบัญชีหมวดคาใชจ า ย จากการวเิ คราะหส มการบญั ชี
ถา บัญชคี า ใชจา ยเพมิ่ ข้ึน
จะมผี ลทําใหส วนของเจาของลดลง หลกั การวิเคราะหยดึ ตามหลัก
หมวดบญั ชสี ว นของเจาของ ดังนี้

❖ ถา คาใชจ ายเพมิ่ ข้นึ จะทําใหส วนของเจา ของลดลงให
บนั ทึกบญั ชสี วนของเจาของดานเดบิต

❖ ถา คาใชจายลดลงจะทําใหส ว นของเจาของเพิ่มข้นึ ให
บันทกึ บัญชีสวนของเจา ของดา นเครดติ

ประเภทของสมดุ สมุดรายวนั
รายวนั ขน้ั ตน้ ทั่วไป

สมดุ รายวนั
เฉพาะ

116

สมสดุ มรดุ ารยายววันนั ททวั่ ั่วไปไป

ใชบนั ทึกรายคา เรียงตามลําดบั วนั ท่กี อนหลงั เหมาะกับ
กิจการซอ้ื ขายสนิ คา ทม่ี ขี นาดเลก็ รายการคา ไมมาก

สมดุ รายวนั เฉพาะ ใชบนั ทึกรายคา แยกตาม
ประเภทของรายการคา

1สมุดรายวันรับเงนิ

2สมุดรายวันจายเงนิ

3 สมดุ รายวันซือ้
สนิ คา

4สมดุ รายวนั สงคืนสนิ คา

5สมดุ รายวนั ขายสินคา

6สมุดรายวันรบั คืนสนิ คา

82

รปู แบบของสมดุ รายวนั ทวั่ ไป

1 ชอื่ ของสมดุ 4 รายการ (ซื่อบญั ช)ี

2 หนา้ ของสมดุ 5 เลขทบ่ี ญั ชี

3 วนั เดอื น ปี ทเ่ี กดิ รายการ 6 จาํ นวนเงนิ ดา้ นเดบิต (Dr.)

7 จาํ นวนเงนิ ดา้ นเครดติ (Cr.)

ใบเพิม่ หน้ี ใบกาํ กบั ภาษี
(Debit (Tax Invoice)
Note)
ใบลดหน้ี
ใบเสรจ็ รบั เงนิ (Credit
จากการรับชาํ ระ Note)

ภาษมี ลู คา เพ่มิ ใบเสรจ็ รบั เงินของสว น
ราชการ

122

การคาํ นวณ กรณีไมร วม
ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม ภาษมี ูลคา เพิม่

กรณรี วม
ภาษมี ลู คา เพมิ่

ซอื้ สนิ คา 10,700 บาท ซอื้ สินคา 10,000 บาท
รวมภาษมี ูลคาเพิ่ม 7 % ภาษีมลู คา เพิม่ 7 %

วิธกี ารคาํ นวณ วธิ ีการคาํ นวณ
10,700 x 7 / 107 10,000 x 7 / 100
ภาษีมูลคา เพ่ิม = 700 ภาษีมลู คา เพมิ่ = 700
มลู คาสนิ คา ไมรวมภาษี = 10,000 มลู คา สนิ คา ไมรวมภาษี = 10,000

84

ประเภทของภาษมี ลู คา่ เพ่ิม

ภาษซี ้ือ 1.ก1 ารซ้ือสินคา Dr. ภาษซี ้ือ
1.ก2ารสงคืนสนิ คา Cr. ภาษซี ื้อ

ภาษขี าย 2.ก1 ารขายสนิ คา Cr. ภาษขี าย
Dr. ภาษขี าย
2.ก2ารรบั คืนสินคา

การเปรียบเทียบภาษมี ลู คา่ เพ่ิม

ภาษีซอ้ื ภาษขี าย นอยกวา
กบั ภาษไซีดร้ือับคนื ภาษี

ภาษีขาย Dr.ลูกหนี้-กรม
สรรพากร

ภาษีขาย มากกวา
ภาตษอซี งชอื้ าํ ระภาษี
Cr. เจาหน้ี-กรม

สรรพากร

90

ตวั อยา งที่ รา นศรรามคาขายมยี อดซ้ือสนิ คาประจําเดอื นเมษายน 2563
1 จํานวน 45,000 บาทยอดขายสินคา จํานวน 56,000 บาท
อัตราภาษีมลู คาเพ่ิม 7%

ซื้อสินคา 45,000 บาท ขายสนิ คา 56,000 บาท
ภาษีมลู คาเพ่ิม 7 % ภาษีมูลคา เพมิ่ 7 %
วิธกี ารคํานวณ
45,000 x 7 / 100 วิธีการคํานวณ
ภาษีซือ้ = 3,150 56,000 x 7 / 100
ภาษขี าย = 3,920

ภาษีขาย มากกวา ภาษซี ้ือ = ตอ งชําระภาษี (3,920
– 3,150 = 770 บาท

84

ตวั อยางท่ี ในเดือนมีนาคม 2563 รา นเตาบริการ ซอ้ื สินคา เปน เงนิ 60,000 บาท
2

ขายสินคาไดเงิน 50,000 บาทอตั ราภาษมี ลู คา เพ่ิม 7%

ซ้อื สนิ คา 60,000 บาท ขายสินคา 50,000 บาท
ภาษีมูลคาเพม่ิ 7 % ภาษมี ลู คา เพิ่ม 7 %
วิธกี ารคาํ นวณ
60,000 x 7 / 100 วิธีการคํานวณ
ภาษีซ้ือ = 4,200 50,000 x 7 / 100
ภาษขี าย = 3,500

ภาษีขาย นอยกวา ภาษีซื้อ = ไดร ับคนื ภาษี (4,200
– 3,500 = 700 บาท

84

วิธีการบนั ทกึ บญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซื้อขายสินคา้

ธรุ กจิ 1 วิธกี ารบนั ทึกสินคา แบบ
ซื้อขาย สิ้นงวด
สนิ คา้

2 วธิ กี ารบนั ทึกสินคาแบบตอ

เนอ่ื ง

40

วิธีการบนั ทึกบญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซ้ือขายสินคา้

ลาํ ดับ รายการ วธิ ีการบนั ทกึ บัญชสี ินคาคงเหลอื วิธีการบันทึกบัญชีสนิ คา คงเหลือ
1 ซือ้ สนิ คาเปน เงินสด แบบสน้ิ งวด (Periodic แบบตอเนอื่ ง (Perpetual
Inventory Method) Inventory Method)

เดบิต ซื้อสนิ คา XX เดบิต สนิ คา XX XX
เครดิต เงนิ สด XX เครดติ เงินสด

2 สงคนื สินคาทซ่ี ้อื เปนเงนิ สด เดบิต เงินสด XX เดบติ เงินสด XX
เครดิต สง คนื สนิ คา XX เครดติ สนิ คา XX

3 จายคาขนสงเขา เดบติ คา ขนสง เขา XX เดบติ สินคา XX
เครดติ เงินสด XX เครดิต เงินสด XX

4 ขายสนิ คา เปน เงินสด เดบิต เงินสด XX เดบิต เงินสด XX
(ตน ทนุ สนิ คา เทากบั XX) เครดติ ขายสนิ คา XX เครดิต ขายสนิ คา
-
XX
เดบิต ตนทนุ ขาย XX

เครดิต สินคา XX

วิธีการบนั ทึกบญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซ้ือขายสนิ คา้

ลาํ ดับ รายการ วธิ ีการบันทึกบญั ชสี ินคา คงเหลือ วิธีการบนั ทกึ บัญชีสินคาคงเหลอื
5 รับคนื สนิ คา ทขี่ ายเปน เงินสด แบบสน้ิ งวด (Periodic แบบตอ เนอ่ื ง (Perpetual
(ตน ทนุ สนิ คาเทากับ XX) Inventory Method) Inventory Method)

เดบิต รบั คนื สนิ คา XX เดบิต รับคืนสินคา XX
เครดติ เงนิ สด XX เครดิต เงนิ สด XX

6 จายคา ขนสง สินคาใหลกู คา - เดบิต สนิ คา XX
เดบิต คา ขนสงออก XX เครดติ ตน ทุนขาย

เครดติ เงินสด XX XX
เดบิต คา ขนสงออก XX

เครดิต เงินสด XX

7 ซ้ือสนิ คา เปน เงนิ เชอื่ เดบิต ซ้อื สนิ คา XX เดบิต สนิ คา XX
8 สง คืนสินคาท่ซี ื้อเปน เงินเช่ือ เครดติ เจาหนีก้ ารคา XX เครดิต เจาหนี้การคา XX

เดบิต เจาหน้ีการคา XX เดบิต เจา หน้ีการคา XX
เครดติ สง คืนสนิ คา XX เครดิต สนิ คา XX

วิธีการบนั ทกึ บญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซ้ือขายสินคา้

ลาํ ดับ รายการ วธิ กี ารบนั ทึกบัญชสี ินคา คงเหลือ วิธกี ารบนั ทึกบัญชสี นิ คา คงเหลือ
9 ชําระหนี้ใหเจาหนี้-ไมไ ดส ว นลด แบบสิ้นงวด (Periodic แบบตอเนอ่ื ง (Perpetual
10 ชาํ ระหนใี้ หเ จาหน้-ี ไดสว นลด Inventory Method) Inventory Method)

11 ขายสินคา เปนเงนิ เชอื่ เดบิต เจาหนก้ี ารคา XX เดบติ เจา หนกี้ ารคา XX
(ตนทุนสินคาเทากับ XX) เครดิต เงนิ สด XX เครดิต เงินสด XX

เดบิต เจา หน้ีการคา XX เดบิต เจา หน้กี ารคา XX
เครดติ เงนิ สด XX เครดิต เงินสด XX
สว นลดรบั XX สนิ คา XX

เดบติ ลกู หนีก้ ารคา XX เดบิต ลกู หนีก้ ารคา XX
เครดิต ขายสนิ คา XX เครดิต ขายสนิ คา
XX

- เดบิต ตนทนุ ขาย XX
เครดติ สนิ คา XX

วิธีการบนั ทกึ บญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซื้อขายสนิ คา้

ลาํ ดับ รายการ วิธีการบันทกึ บัญชสี นิ คาคงเหลือ วธิ ีการบนั ทกึ บัญชสี ินคา คงเหลอื
12 รบั คืนสินคาทขี่ ายเปนเงินเชื่อ แบบสนิ้ งวด (Periodic แบบตอ เนือ่ ง (Perpetual
Inventory Method) Inventory Method)
(ตน ทนุ สินคาเทา กับ XX)
เดบิต รบั คนื สินคา XX เดบติ รับคนื สินคา XX
13 รบั ชาํ ระหนจ้ี ากลูกหนี้-ไมให เครดติ ลูกหนีก้ ารคา XX เครดิต ลกู หนกี้ ารคา XX
สวนลด
- เดบิต สินคา XX
เดบิต เงินสด XX เครดิต ตน ทุนขาย

เครดติ ลกู หนก้ี ารคา XX XX
เดบติ เงินสด XX

เครดิต ลูกหน้ีการคา
XX

วิธีการบนั ทึกบญั ชสี าํ หรบั ธรุ กจิ ซ้ือขายสนิ คา้

ลาํ ดบั รายการ วิธีการบันทกึ บัญชีสนิ คา คงเหลอื วิธีการบนั ทกึ บญั ชสี นิ คา คงเหลือ
14 รับชําระหนจ้ี ากลกู หน-้ี ให แบบสิ้นงวด (Periodic แบบตอเน่ือง (Perpetual
Inventory Method) Inventory Method)
สวนลด
เดบติ เงนิ สด XX เดบิต เงินสด XX
15 เจาของกิจการนําสินคา ไปใชส วนตวั สวนลดจา ย XX สวนลดจา ย XX
(ตนทนุ สนิ คาเทากับ XX) เครดิต ลูกหนี้การคา XX เครดติ ลกู หนีก้ ารคา

XX

เดบิต ถอนใชส วนตัว XX เดบิต ถอนใชสว นตวั XX
เครดิต ขายสินคา XX เครดติ ขายสินคา
XX
ภาษขี าย XX

เดบิต ตนทนุ ขาย XX
- เครดติ สินคา XX

วิธีการบันทกึ บญั ชขี องกิจการซือ้ ขายสินคาท่นี ยิ มใช

วิธีการบันทึกบญั ชีสินคาคงเหลือแบบส้นิ งวด
(Periodic Inventory Method)

การบนั ทึกบญั ชีตามหลกั การบัญชีคใู นสมุดรายวนั
ท่วั ไป

กิจการซอ้ื ขายสนิ คาแบง ออกเปน 2 กรณี คอื
1. กรณีไมจดทะเบยี นภาษีมูลคาเพ่มิ
2. กรณจี ดทะเบยี นภาษมี ลู คา เพ่ิม

ตวั อยางที่ 1 ตอ ไปน้เี ปน รายการคา ของรานเปรีย้ วหวานการคา ระหวา งเดือนสิงหาคม 25X1
25X1
ส.ค. 1 ซื้อสนิ คา เปนเงินสด 5,000 บาท

4 ขายสินคาเปน เงินสด 3,000 บาท
8 ขายสินคาใหรานแกงจืดเปน เงินเช่ือ 7,000 บาท เงอ่ื นไข 2/10, N/30 F.O.B. destination
10 รับคนื สินคา จากรา นแกงจดื จาํ นวน 1,200 บาท เนือ่ งจากสนิ คา ชาํ รดุ
13 ซอื้ สนิ คาจากรานผดั พริกเปนเงนิ เชือ่ 12,000 บาท เงื่อนไข 2/10, N/30 F.O.B shipping

point
17 จา ยคาขนสง สนิ คาท่ีขายเมอื่ วันท่ี 8 สิงหาคม จาํ นวน 600 บาท
18 รับชําระหนจ้ี ากรา นแกงจดื ทง้ั หมด
22 จา ยชําระหน้ใี หรานผัดพรกิ ทงั้ หมด
31 จา ยคา ขนสงสินคาทซ่ี ื้อเม่อื วันที่ 13 สงิ หาคม จํานวน 500 บาท

ใหท าํ บนั ทึกรายการในสมุดรายวันท่วั ไป กรณไี มจดทะเบยี นภาษมี ูลคาเพิ่ม

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันทั่วไป เลขท่ี เดบติ หนา 1
เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. เครดติ
ส.ค. 1 รายการ 501 บาท สต.
101 5,000 - 5,000 -
4 ซอ้ื สินคา
เงนิ สด 101 3,000 - 3,000 -
8 401
ซื้อสนิ คา เปน เงนิ สด 7,000 - 7,000 -
10 เงนิ สด 102
401 1,200 - 1,200 -
ขายสนิ คา
ขายสินคา เปน เงนิ สด 402
ลกู หน-้ี รานแกงจืด 102

ขายสนิ คา
ขายสินคา เปนเงินเชื่อ
รบั คนื สนิ คา

ลูกหน-ี้ รา นแกงจืด
รบั คืนสินคา เนื่องจากชํารดุ

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวนั ทวั่ ไป เลขท่ี เดบิต หนา 2
เดือน วันที่ บัญชี บาท สต. เครดติ
ส.ค. 13 รายการ 501 12,000 - บาท สต.
201 12,000 -
17 ซอ้ื สนิ คา 600 -
เจา หน-้ี รานผดั พรกิ 504 600 -
18 101 5,684 -
ซื้อสินคา เปนเงนิ เชื่อ 116 - 5,800 -
คา ขนสงออก 101
403
เงินสด 102
จา ยคา ขนสงสินคา
เงนิ สด (5,800-116)
สว นลดจาย (5,800x2%)

ลูกหน้-ี รานแกงจดื (7,000-1,200)
รบั ชาํ ระหนจี้ ากลูกหนลี้ ดให 2%

สมุดรายวันทว่ั ไป หนา 3
เครดติ
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต.
11,760 -
ส.ค. 22 เจาหน-้ี รานผัดพรกิ 201 12,000 - 240 -

เงนิ สด 101

สว นลดรบั (12,000x2%)

จายชําระหนใ้ี หเจา หนี้ไดสว นลด 2%

31 คา ขนสงเขา 505 500 -

เงินสด 101 500 -

จายคาขนสง สนิ คา

ตัวอยางท่ี 2 ตอไปน้ีเปน รายการคาของรานแดงไทยคาขายระหวา งเดือนมถิ นุ ายน 25X1
25X1
มิ.ย. 5 ขายสินคา เปนเงนิ สด 3,000 บาท

7 รับคนื สนิ คาท่ขี ายเมือ่ วนั ท่ี 5 มิถนุ ายน เนื่องจากสีไมตรงตามทลี่ กู คา สง่ั จํานวน 700 บาท
จา ยเงินใหท นั ที

11 ขายสินคา ใหรา นแตงกวาเปน เงนิ เชื่อ 10,500 บาท เงื่อนไข 2/10, EOM. F.O.B shipping
point

15 ซ้ือสินคาเปนเงนิ สด 7,500 บาท
17 จายคาขนสง สนิ คา ที่ขายเมอ่ื วันที่ 10 มถิ นุ ายน จํานวน 500 บาท
21 รา นแตงกวาสง คืนสินคา จาํ นวน 1,500 บาท และชาํ ระหน้เี หลอื ใหทงั้ หมด
24 ซื้อสนิ คา จากรา นแตงรา นเปน เงนิ เชือ่ 36,000 บาท เงื่อนไข N/60 F.O.B destination
27 จายคา ขนสงสินคา ที่ซื้อเมอื่ วันท่ี 24 มิถุนายน จํานวน 300 บาท
30 จายคาชาํ ระหนี้ใหร านแตงรานครง่ึ หนึง่
ใหท าํ บนั ทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป กรณีไมจดทะเบยี นภาษมี ูลคาเพมิ่

พ.ศ. 25X1 สมดุ รายวนั ท่ัวไป เลขที่ เดบติ หนา 1
เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. เครดิต
ม.ิ ย. 5 รายการ 101 บาท สต.
401 3,000 - 3,000 -
7 เงนิ สด
ขายสนิ คา 402 700 - 700 -
11 101
ขายสินคา เปนเงินสด 10,500 - 10,500 -
15 รบั คนื สนิ คา 103
401 7,500 - 7,500 -
เงนิ สด
รบั คืนสินคา เนอื่ งจากสไี มต รง 501
ลกู หนี-้ รานแตงกวา 101

ขายสนิ คา
ขายสินคาเปน เงนิ เช่อื
ซ้ือสินคา

เงินสด
ซอ้ื สนิ คา เปน เงินสด

สมุดรายวันทัว่ ไป หนา 2
เครดิต
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดือน วันที่ บัญชี บาท สต. 500 -
103
ม.ิ ย. 17 ลูกหนี้-รา นแตงกวา 101 500 - 1,500 -

เงินสด 402 1,500 -
103
จา ยคาขนสงสินคา แทนลกู หน้ี

21 รับคืนสนิ คา

ลกู หน-้ี รา นแตงกวา

รบั คืนสนิ คา จากรานแตงกวา

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวนั ท่ัวไป เลขที่ เดบิต หนา 3
เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต. เครดิต
มิ.ย. 21 รายการ 101 9,320 - บาท สต.
403 180 -
24 เงินสด 103 9,500 -
สว นลดจา ย
27 501 36,000 - 36,000 -
ลูกหน-ี้ รา นแตงกวา 201
30 รบั ชําระหน้จี ากลกู หนี้ 300 -
ซ้ือสินคา 201 300 -
101 17,850 -
เจา หน้ี-รานแตงราน
ซ้ือสนิ คา เปน เงนิ เชื่อ 201 17,850 -
เจา หน-้ี รานแตงรา น 101

เงินสด (10.500+500-1.500)
จา ยคาขนสง สนิ คาแทนเจาหน้ี
เจา หน้ี-รา นแตงราน

เงินสด
จา ยชําระหน้ใี หเจาหนีค้ รง่ึ หนึ่ง

(36,000-300)/2

ตัวอยา งท่ี 3

วธิ กี ารบนั ทึกบัญชสี ินคา คงเหลือแบบส้ินงวด
(Periodic Inventory Method)
กรณจี ดทะเบยี นภาษมี ลู คา เพิ่ม

ตัวอยา งท่ี 3 ตอ ไปน้ีเปน รายการคา ของรานมะขามหวานคา ขายระหวางเดือนกรกฎาคม 25X1
25X1

ส.ค. 5 ซอ้ื สินคา เปนเงินสด 8,400 บาท ภาษมี ลู คา เพ่มิ 7% ใบกาํ กบั ภาษีเลขท่ี 1111
7 ขายสินคาเปน เงินสด 21,500 บาท ภาษีมลู คาเพม่ิ 7% ใบกาํ กบั ภาษเี ลขท่ี

01/0001
11 ขายสินคา ใหรานมะนาวเปน เงินเชือ่ 16,500 บาท เงื่อนไข 2/10, N/30 F.O.B.

shipping point ภาษมี ูลคาเพม่ิ 7% ใบกํากบั ภาษีเลขท่ี 01/0002
13 รบั คืนสินคาจากรานะนาวจํานวน 2,500 บาท เนื่องจากขนาดไมต รงตามท่สี ัง่
ใบลดหน้เี ลขท่ี 001
18 ซอ้ื สนิ คาจากรานมะดนั เปนเงินเชอ่ื 21,000 บาท เง่ือนไข 2/10, N/45 F.O.B
shipping point ภาษีมลู คาเพม่ิ 7% ใบกํากบั ภาษเี ลขที่ 2222
25 จายคา ขนสงสนิ คาท่ีซ้อื เม่อื วันที่ 18 กรกฎาคม จาํ นวน 800 บาท
28 จา ยชําระหนี้ใหร านมะดนั 7,490 บาท
ใหท าํ บัน3ท1กึ รารยบั กชาํารรใะนหสนม้จี ุดารการยาวนันมทะ่ัวนไปาวทกง้ั รหณมกีดิจการจดทะเบียนภาษมี ลู คา เพ่มิ

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันทัว่ ไป เลขที่ เดบิต หนา 1
เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต. เครดติ
ก.ค. 5 รายการ 501 บาท สต.
104 8,400 -
7 ซือ้ สนิ คา 101 588 - 8,988 -
ภาษซี ้ือ (8,400x7%)
11 101 23,005 - 21,500 -
เงนิ สด 404 1,505 -
ซอื้ สนิ คา เปน เงนิ สด VAT 7% 204 17,655 -
เงนิ สด 16,500 -
103 1,155 -
ขายสนิ คา 401
ภาษีขาย (21,500x7%) 204
ขายสนิ คาเปนเงนิ สด VAT 7%
ลูกหน้-ี รานมะนาว
ขายสนิ คา
ภาษีขาย (16,500x7%)
ขายสนิ คา เปนเงนิ เชือ่ VAT 7%

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวนั ทัว่ ไป เลขที่ เดบติ หนา 2
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. เครดติ
ก.ค. 13 รายการ 402 บาท สต.
204 2,500 -
18 รับคนื สินคา 103 175 - 2,675 -
ภาษีขาย (2,500x7%)
25 501 21,000 - 22,470 -
ลูกหนี-รานมะนาว 104 1,470 -
รับคนื สนิ คาจากลูกหนี้ 201 800 -
ซอื้ สนิ คา 800 -
ภาษีซือ้ (21,000x7%) 504
101
เจา หน้ี-รานมะดัน
ขายสนิ คา เปน เงินสด VAT 7%
คาขนสง เขา

เงินสด
จา ยคา ขนสง สินคา

พ.ศ. 25X1 สมดุ รายวันทว่ั ไป เลขที่ เดบติ หนา 3
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท สต. เครดิต
ก.ค. 28 รายการ 201 บาท สต.
101 7,490 -
31 เจา หน-ี้ รานมะดัน 503 7,350 -
เงนิ สด 14,980 - 140 -
สว นลดรบั [(7,490x100/107)x2%] 101
103 14,980 -
จายชาํ ระหน้ไี ดสว นลด 2%
เงินสด

ลูกหน้ี-รา นมะนาว
รับชาํ ระหนี้จากลูกหน้ี

(17,655-2,675)

การบนั ทกึ รายการ กรณีธรุ กจิ จดทะเบยี นภาษมี ูลคา เพมิ่ จะ
ตอ งมีการปดบญั ชภี าษีมูลคา เพ่ิม

กจิ การท่จี ดทะเบยี นภาษีมลู คาเพมิ่ จะตองมีการปด บัญชภี าษมี ลู คา เพมิ่ ถาบญั ชี
ภาษีมลู คา เพม่ิ มยี อดอยูทางดานเดบิต แสดงวา กิจการจะไดคืนภาษี ดังนัน้ จะถอื เสมอื นบัญชี
ลูกหนี้-กรมสรรพากร ในทางตรงกันขามถา บัญชีภาษีมลู คาเพิ่มมยี อดอยทู างดา นเครดิต แสดงวา
กจิ กิจการจะตองชาํ ระเพม่ิ ดงั น้ันจะถือเสมอื นบัญชีเจา หนี-้ กรมสรรพากร

หมายเหตุ การปดบญั ชภี าษีซอ้ื และภาษขี าย มีหลายวิธี แลวแตก ิจการจะเลอื กใช เชน
เดบติ ภาษีขาย XX
ภาษมี ูลคาเพ่มิ XX (ถา ภาษีซอ้ื มากกวา ภาษขี าย)
เครดิต ภาษซี อ้ื XX
ภาษมี ลู คา เพ่มิ XX (ถา ภาษีขายมากกวาภาษซี ้อื

การปด บัญชีภาษมี ูลคาเพมิ่ กรณภี าษีขาย มากกวา ภาษซี อ้ื
ตวั อยา งท่ี 4 กจิ การคาํ นวณภาษซี อ้ื ภาษขี ายประจาํ เดือน มกราคม 25x1 ปรากฏดังน้ี
ภาษีซ้อื 15,000 บาท ภาษีขาย 20,000 บาท ใหบ ันทกึ รายการปด บัญชีภาษีซ้ือ ภาษีขาย ในวันสน้ิ เดือน

  สมดุ รายวันทวั่ ไป    หนา 1
เครดติ
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขท่ี เดบิต
เดือน วันท่ี บัญชี บาท สต.
504 บาท สต.   
ม.ค. 31 ภาษีมลู คาเพิ่ม 103 15,000 -
15,000 -
   ภาษีซื้อ        
    ปด บญั ชภี าษีซือ้        
     203      
504 20,000 -
    ภาษขี าย     20,000 -
      
   ภาษมี ูลคาเพ่มิ 104     
201 5,000 -    
    ปด บญั ชภี าษขี าย  
     5,000 -

    ภาษีมลู คา เพิม่

   เจาหนี-้ กรมสรรพากร

ปด บญั ชภี าษมี ลู คาเพิ่ม (ตอ งชาํ ระภาษีมูลคาเพ่ิม)      

การปดบัญชีภาษีมลู คาเพ่มิ กรณภี าษขี าย นอ ยกวา ภาษีซ้ือ
ตัวอยา งท่ี 5 กิจการคาํ นวณภาษีซื้อ ภาษขี ายประจําเดอื น มกราคม 25x1 ปรากฏดังน้ี
ภาษซี ื้อ 25,000 บาท ภาษขี าย 15,000 บาท ใหบนั ทึกรายการปด บัญชภี าษซี ้อื ภาษีขาย ในวันสน้ิ เดือน
  สมุดรายวนั ท่วั ไป     หนา 1
พ.ศ. 25X1 เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วนั ที่ รายการ บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 31 ภาษีมูลคา เพมิ่ 504 25,000 -   

   ภาษีซอื้ 103     25,000 -

    ปด บญั ชภี าษซี อื้        
            

    ภาษขี าย 203 15,000 -   

   ภาษีมูลคา เพ่มิ     15,000 -

    ปด บญั ชีภาษีขาย       
           

    ลกู หนี้-กรมสรรพากร 104 10,000 -    

   ภาษีมลู คา เพม่ิ 504   10,000 -
    ปด บญั ชีภาษมี ูลคาเพ่มิ (ไดรับคืนภาษี)       

ตวั อยา งที่ 6

วธิ ีการบนั ทึกบัญชสี ินคาคงเหลือแบบสนิ้ งวด
(Periodic Inventory Method)
กรณีจดทะเบียนภาษมี ลู คา เพิม่
พรอ มการปด บญั ชภี าษีมลู คาเพมิ่

ตัวอยางที่ 6 ตอ ไปนเ้ี ปนรายการคา ของรา นบา นคณุ ยาระหวางเดอื นเมษายน-มิถุนายน 25X1
25X1

เม.ย. 1 ซอื้ สินคาเปนเงนิ สด 10,000 บาท ภาษมี ูลคาเพมิ่ 7% ใบกํากับภาษีเลขที่ 4444
10 ขายสินคาเปน เงนิ สด 26,500 บาท ภาษมี ลู คา เพ่ิม 7% ใบกํากบั ภาษเี ลขที่ 0001

15 ซอ้ื คอมพวิ เตอรเปน เงนิ สดราคา 29,900 บาท ภาษมี ลู คาเพ่มิ 7%
ใบกํากบั ภาษีเลขท่ี 5555

16 จา ยคาไฟฟา 2,675 บาท (รวมภาษม ูลคา เพิม่ 7%) ใบกาํ กับภาษเี ลขที่ 6666
20 ซื้อรถยนตน ่ังขนาด 1,500 ซซี ี ใหผ จู ัดการทั่วไป 1 คัน เปน เงินสด ราคารวมภาษ

มูลคาเพิ่ม 7% เปน เงิน 481,500 บาท ใบกาํ กับภาษีเลขที่ 7777
25 จา ยเงินสดซอื้ เครอ่ื งเขยี น 700 บาท ภาษม ลู คา เพ่มิ 7% ใบกํากบั ภาษเี ลขท่ี
8888
29 ขายสินคา เปน เงินเชอ่ื ใหรา นปะการงั 25,500 บาท ภาษมี ูลคา เพิ่ม 7%

ใบกาํ กับภาษเี ลขที่ 0002 เงอ่ื นไข 2/10 EOM. N/60

ตวั อยางที่ 6 (ตอ)
25X1

พ.ค. 1 ซอื้ สนิ คา จากรา นวังมขุ เปน เงินเชื่อ 12,500 บาท เงอ่ื นไข 2/10, N/45 F.O.B
shipping point ภาษีมลู คา เพมิ่ 7% ใบกาํ กบั ภาษีเลขท่ี 9999

5 สง คนื สินคา ใหร านวังมุขเนื่องจากสั่งเกินราคาสนิ คา 1,500 บาท ภาษมี ลู คาเพมิ่
7% ใบลดหนี้ เลขท่ี 1122

10 รับชาํ ระหนี้จากรานปะการงั ทัง้ หมด
15 ชาํ ระภาษีมลู คาเพ่ิมประจําเดือนพฤษภาคม
20 จา ยคาขนสงสินคา ทซ่ี อ้ื เมอ่ื วันที่ 1 เดอื นนี้ จํานวน 250 บาท
24 ขายสนิ คาเปน เงินสด 2,000 บาท ภาษมี ูลคาเพม่ิ 7% ใบกํากบั ภาษเี ลขท่ี 0003
30 จายคาซอมแซมรถบรรทกุ 3,500 บาท ภาษีมูลคา เพิ่ม 7% ใบกาํ กบั ภาษีเลขท่ี
2020

ตัวอยา งท่ี 6 (ตอ)
25X1

มิ.ย. 10 จา ยชําระหน้ีใหรานวงั มุขท้ังหมด
15 ขายสินคาเปน เงินสด 30,000 บาท ภาษมี ลู คา เพมิ่ 7% ใบกาํ กับภาษีเลขที่ 0004
18 รับคืนสินคา ทข่ี ายเมอื่ วันที่ 15 มิถนุ ายน ราคาสนิ คา 2,200 บาท ภาษีมลู คา เพม่ิ

7% ใบลดหน้ี 0001 จา ยเงินสดคืนใหท ันที
24 ขายสนิ คาเปนเงินสด 2,000 บาท ภาษมี ูลคาเพิม่ 7% ใบกาํ กบั ภาษเี ลขท่ี 0003
30 จา ยคา ซอ มแซมรถบรรทุก 3,500 บาท ภาษีมูลคา เพิ่ม 7% ใบกาํ กบั ภาษเี ลขที่

2020
ใหท ํา บนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทัว่ ไปและปดบญั ชภี าษมี ูลคา เพิม่

หมายเหตุ ในกรณที ี่ภาษีซอื้ มากกวาภาษีขายไมถ งึ 1,000 บาท กิจการจะขอคืนโดยวิธีเครดติ
ถา มจี ํานวนตัง้ แต 1,000 บาทข้นึ ไป กจิ การจะขอคนื เปนเงินสด

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันท่วั ไป เลขท่ี เดบิต หนา 1
เดอื น วนั ที่ บญั ชี บาท สต. เครดิต
เม.ย. 1 รายการ 10,000 - บาท สต.

10 ซื้อสนิ คา 700 - 10,700 -
ภาษีซื้อ (10,000x7%)
15 28,355 - 26,500 -
เงนิ สด 1,855 -
ซอ้ื สนิ คา เปนเงินสด VAT 7% 29,900 -
เงนิ สด 2,093 - 31,993 -

ขายสนิ คา
ภาษขี าย (26,500x7%)
ขายสินคาเปนเงินสด VAT 7%
อุปกรณส ํานักงาน
ภาษีซอ้ื (29,900x7%)
เงินสด
ซื้อคอมพิวเตอรเ ปน เงินสด VAT 7%

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันท่วั ไป เลขที่ เดบติ หนา 2
เดือน วันที่ บัญชี บาท สต. เครดิต
เม.ย. 16 รายการ บาท สต.
2,500 -
20 คา ไฟฟา 175 - 2,675 -
ภาษซี ้อื (2,675x7/107)
25 481,500 - 481,500 -
เงนิ สด
จา ยคาไฟฟา เปนเงินสด VAT 7% 700 - 749 -
รถยนต 49 -

เงินสด
ซอ้ื รถยนตน่งั 1 คัน
คา เครอ่ื งเขียน
ภาษีซอ้ื (700x7%)

เงินสด
จา ยคาเครื่องเขยี นเปนเงินสด VAT 7%

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันทวั่ ไป เลขท่ี เดบติ หนา 3
เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. เครดิต
เม.ย. 29 รายการ 27,285 - บาท สต.

30 ลกู หน้กี ารคา -รานปะการัง 3,640 - 25,500 -
ขายสินคา 1,785 -
ภาษีขาย (25,000x7%)
3,017 -
ขายสินคาเปน เงินเช่อื VAT 7% 623
ภาษขี าย (1,855+1,785)
-
ภาษีซอื้ (700+2,093+175+49)
เจา หนี้-กรมสรรพากร 623
ปดบญั ชีภาษีมูลคาเพมิ่ -

เจาหนี้-กรมสรรพากร 623
เงินสด

พ.ศ. 25X1 สมุดรายวันทั่วไป เลขที่ เดบติ หนา 4
เดอื น วันที่ บัญชี บาท สต. เครดติ
พ.ค. 1 รายการ 12,500 - บาท สต.

5 ซอ้ื สินคา 875 - 13,375 -
ภาษีซ้ือ (12,500x7%)
10 1,605 - 1,500 -
เงินสด 105 -
ซอ้ื สินคา เปนเงินสด VAT 7% 26,775 -
เจา หนีก้ ารคา -รา นวังมขุ 510 - 27,285 -

สงคืนสินคา
ภาษซี ื้อ (1,500x7%)
สง คืนสินคาเน่ืองจากสั่งเกนิ
เงินสด
สวนลดจา ย (25,500x2%)
ลกู หน้กี ารคา-รา นปะการัง
รับชาํ ระหน้ใี หสวนลด 2%


Click to View FlipBook Version