The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noonun_tkd, 2022-03-29 00:40:23

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน

ความเส่ียงในการสอบบัญชี
และการควบคุมภายใน

ความเสี่ยงในการ
สอบบัญชี

ความหมายของความเสี่ยงใน
การสอบบญั ชี

ความเสย่ี งในการสอบบญั ชี (Audit Risk) หมายถงึ
ความเส่ยี งท่ผี ูส้ อบบญั ชีแสดงความเห็นท่ไี ม่เหมาะสมต่องบการเงนิ ท่ี
แสดงขอ้ มูลท่ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริงอนั เป็นสาระสาคญั เช่น ผูส้ อบบญั ชี
แสดงความเห็นต่องบการเงนิ อย่างไม่มเี งอ่ื นไข ทงั้ ๆ ท่งี บการเงนิ ขดั
ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ เป็นสาระสาคญั

องคป์ ระกอบของความเส่ียง
ในการสอบบญั ชี

ความเสี่ยงสืบเนื่อง ความเส่ยี งสบื เน่ืองในระดบั งบการเงนิ เป็นความ
เส่ยี งจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เป็นสาระสาคญั ท่ี
ความเส่ยี งต่อส่งิ ท่ผี ูบ้ ริหารไดใ้ หก้ ารรบั รองไว้ เก่ยี วขอ้ งกบั งบการเงนิ โดยรวมอย่างแพร่กระจาย และมแี นวโนม้
เก่ียวกบั ประเภทของรายการ ยอดคงเหลอื ของบญั ชีหรือ ทจ่ี ะกระทบต่อสง่ิ ทผ่ี ูบ้ รหิ ารไดใ้ หก้ ารรบั รองไวห้ ลายประการ
การเปิดเผยขอ้ มูลจะแสดงขอ้ มูลท่ขี ดั ต่อขอ้ เท็จจริงท่อี าจ
มีสาระสาคญั ไม่ว่าจะมีสาระสาคัญในรายการหรือมี ความเส่ียงสืบเน่ื องในระดับรายการของยอด
สาระสาคญั เมอ่ื รวมกบั การแสดงขอ้ มูลทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จริง คงเหลือในบญั ชีและประเภทรายการ เป็นความเส่ยี งท่มี ีผลต่อ
อน่ื โดยไมพ่ จิ ารณาการควบคุมทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง การบนั ทกึ บญั ชี และการแสดงขอ้ มูลท่ขี ดั ต่อขอ้ เท็จจรงิ ของยอด
คงเหลอื ในบญั ชี

ความเสี่ยงจากการควบคุม

ความเส่ยี งทก่ี ารควบคุมภายในกิจการไม่สามารถป้องกนั หรือตรวจสอบและแกไ้ ขการแสดงขอ้ มลู ท่ี
ขดั ต่อเทจ็ จรงิ ทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ภายในเวลาทนั ท่วงที ซง่ึ การแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ กบั สง่ิ ทผ่ี ูบ้ รหิ ารไดใ้ หก้ าร
รบั รองไว้ เก่ียวกบั ประเภทของรายการ ยอดคงเหลอื ของบญั ชีหรือการเปิดเผยขอ้ มูลท่อี าจเกิดข้ึน และอาจมี
สาระสาคญั ไม่ว่าจะมีสาระสาคญั ในแต่ละรายการหรือสาระสาคญั เม่ือรวมกบั การแสดงขอ้ มูล ท่ีขดั ต่อ
ขอ้ เทจ็ จรงิ อน่ื

ความเส่ียงจากการตรวจสอบ

ความเสย่ี งทว่ี ธิ กี ารตรวจสอบทผ่ี ูส้ อบบญั ชใี ชไ้ มพ่ บการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เป็นสาระสาคญั

ความเสย่ี งจากการเลอื กตวั อย่าง วธิ กี ารตรวจสอบทใ่ี ชไ้ มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

มขี อ้ บกพร่องในการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ

การกาหนดระดบั ความ
สาระสาคญั

ระดบั ความมีสาระสาคญั (Materiality Level) หมายถงึ ขนาดหรือลกั ษณะของความไม่ถูกตอ้ งของขอ้ มลู และ
รายการท่ีมีผลกระทบต่อความถูกตอ้ งของงบการเงนิ ท่ีตรวจสอบท่ีผูส้ อบบญั ชียอมรบั ได้ โดยผูส้ อบบญั ชีสามารถแสดง
ความเหน็ ต่องบการเงนิ ว่าถูกตอ้ งตามความจริง แมว้ า่ จะพบความไมถ่ กู ตอ้ งของรายการและขอ้ มลู ในงบการเงนิ ซ่ึงมไิ ดม้ กี าร
ปรบั ปรุงแกไ้ ข

✓ สง่ิ ทว่ี ดั ไดเ้ป็นตวั เลข เช่น จานวนเงนิ อตั รารอ้ ยละ ลลล ผูส้ อบบัญชีควรกาหนดระดับความมี
✓ สง่ิ ทว่ี ดั เป็นตวั เลขไมไ่ ด้ เช่น การเปิดเผยขอ้ มูลไมเ่ พยี งพอ สาระสาคญั โดยพิจารณาถงึ สาเหตุท่ีทาใหง้ บการเงนิ
แสดงขอ้ มูลท่ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริง ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารวาง
หรอื ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มลู แผนการตรวจสอบมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ
✓ ผลกระทบทม่ี ตี ่อยอดคงเหลอื ของแต่ละบญั ชที เ่ี ก่ียวขอ้ งและ

ต่องบการเงนิ โดยรวม

ความเสี่ยงในการสอบบญั ชีที่
ยอมรับได้

ความเสย่ี งในการสอบบญั ชที ย่ี อมรบั ได้ (Acceptable Audit Risk :
AAR) หมายถงึ ความเสย่ี งทผ่ี ูส้ อบบญั ชยี อมรบั ขอ้ ผดิ พลาดได้ แมว้ ่างบการเงนิ
แสดงขอ้ มูลท่ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริงในระดบั หน่ึง โดยผูส้ อบบญั ชีสามารถแสดง
ความเหน็ ต่องบการเงนิ อย่างไม่มเี งอ่ื นไข หากผูส้ อบบญั ชียอมรบั ขอ้ ผดิ พลาดได้
ตา่ แสดงว่างบการเงนิ ตอ้ งมคี วามถูกตอ้ งสูง การรวบรวมหลกั ฐานการสอบบญั ชี
จะตอ้ งรวบรวมในปรมิ าณทส่ี ูง

ในการดาเนินงานดงั กล่าว มีแบบจาลองความเส่ียงในการตรวจสอบ
(Audit Risk Model) ซง่ึ จะเป็นประโยชนใ์ นการวางแผนเพอ่ื การตดั สนิ ใจว่าจะตอ้ ง
รวบรวมหลกั ฐานการสอบบญั ชีเป็นปริมาณมากนอ้ ยเท่าใด เพอ่ื นาผลการประเมนิ
ความเส่ียงท่ีมาพิจารณาความเส่ียงจากการตรวจสอบ เรียกความเส่ียงจากการ
ตรวจสอบน้ีว่า ความเส่ยี งจากการตรวจสอบท่วี างแผนไว้ (Planned Detection
Risk : PDR) หรือความเส่ยี งจากการตรวจสอบท่ยี อมรบั ได้ ความเสย่ี งน้ีจะ
เปลย่ี นไปตามผลการประเมนิ ความเสย่ี งสบื เน่อื งและความเสย่ี งจากการควบคุม

การวิเคราะห์ความเสี่ยงในการ
สอบบญั ชี

การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี ง อาจวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบความเสย่ี งในการสอบบญั ชี เป็น
สมการไดด้ งั น้ี

AAR = IR x CR x PDR
PDR =
AAR
IR x CR

AAR = ความเสย่ี งในการสอบบญั ชที ย่ี อมรบั ได้ (Acceptable Audit Risk)
IR = ความเสย่ี งสบื เน่อื ง (Inherent Risk)
CR = ความเสย่ี งจากการควบคุม (Control Risk)
PDR = ความเสย่ี งจากการตรวจสอบทว่ี างแผนไว้ (Planned Detection Risk)

ตวั อย่าง ผูส้ อบบญั ชไี ดป้ ระเมนิ ความเสย่ี งของกจิ การแห่งหน่ึง ดงั น้ี IR 50% CR 40% และ AAR 5%
AAR 5% = ระดบั ความผดิ พลาดทห่ี ลงเหลอื อยูใ่ นระดบั 5%
หรอื ผูส้ อบบญั ชมี นั่ ใจในความถกู ตอ้ งของงบการเงนิ ในระดบั 95%
IR = 50%
CR = 40%

PDR = AAR หากความเสย่ี งสบื เน่ืองสูงข้นึ และความเส่ียงจากการ
ควบคุมเป็น 100%
IR x CR

PDR = 5% PDR = 5%

50% x 40% 100% x 100%

PDR = .05 PDR = .05

0.5 x 0.4 1 x1

PDR = 25% PDR = 5%

คานวณค่า PDR ลดลงจาก 25% เป็น 5% หมายความวา่ ความเสย่ี งทจ่ี ะตรวจสอบไมพ่ บขอ้ ผดิ พลาดท่ีผูส้ อบ
บญั ชวี างแผนไวน้ อ้ ยลงกวา่ เดมิ ดงั นนั้ ผูส้ อบบญั ชตี อ้ งรวบรวมหลกั ฐานมากข้นึ เพอ่ื ใหค้ วามเสย่ี งในการสอบบญั ชที ย่ี อมรบั
ได้ อยูใ่ นระดบั เดมิ AAR คอื 5%

สรุปความสมั พนั ธข์ องตวั แปรแต่ละตวั ไดด้ งั น้ี
1. IR และ CR มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั หลกั ฐานการสอบบญั ชี
2. AAR มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั PDR แต่มคี วามสมั พนั ธแ์ บบผกผนั กบั IR CR และหลกั ฐานการสอบบญั ชี
3. ระดบั PDR ทผ่ี ูส้ อบบญั ชยี อมรบั ไดห้ รอื วางแผนไว้ (Planned Detection Risk) จะมคี วามสมั พนั ธแ์ บบ

ผกผนั กบั IR และ CR

การควบคุมภายใน

ความหมายของ
การควบคุมภายใน

มาตรฐานการสอบบญั ชี รหสั 315 ไดใ้ หค้ วามหมายของการควบคุม
ภายในดงั น้ี

การควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถงึ
กระบวนการทผ่ี ูม้ หี นา้ ท่ใี นการกากบั ดูแลผูบ้ ริหารและบุคคลอ่นื ได้
ออกแบบ นาไปปฏบิ ตั แิ ละดูแลใหเ้หมาะสมอยู่เสมอ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ วาม
เช่ือมนั่ อย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจการ
เก่ียวกับความน่าเช่ือถือของการรายงานทางการเงิน ความมี
ประสิทธิผลและมปี ระสิทธิภาพของการดาเนินงาน และการปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายและขอ้ กาหนดทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการปฏบิ ตั งิ าน (Operation : O) โดยมงุ่ เนน้ ใหม้ กี าร
ใชท้ รพั ยากรขององคก์ รในการดาเนินงาน ใหเ้ป็นไปอย่างประหยดั และไดผ้ ลคุม้ ค่า

ความเชอ่ื ถอื ไดข้ องรายงานทางการเงนิ (Financial Report : F) บคุ คลภายในหรอื
บคุ คลภายนอกใชเ้ป็นขอ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจและวางแผนการดาเนินงานในอนาคต
ผูบ้ รหิ ารทต่ี อ้ งทาใหเ้กิดความมนั่ ใจวา่ รายงานทางการเงนิ ขององคก์ รใหข้ อ้ มลู ทค่ี รบถว้ น
ถกู ตอ้ งและมคี ุณภาพ

การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบยี บ (Compliance : C) เป็นการมงุ่ เนน้ ให้
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านเป็นไปตามกฎหมาย เพอ่ื ป้องกนั มใิ หเ้กดิ ความเสยี หายใด ๆ
ข้นึ กบั องคก์ ร

องคป์ ระกอบของ
การควบคุมภายใน

1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม

ปจั จยั ต่าง ๆ ทม่ี ผี ลต่อทศั นคตขิ องผูบ้ รหิ ารและตระหนกั ถงึ ความจาเป็น และความสาคญั ของการควบคุมภายใน
ของบคุ ลากรทกุ คนในองคก์ ร

ความซอ่ื สตั ยแ์ ละคณุ ค่าทางจรรยาบรรณ ปรชั ญาและรูปแบบของการบริการ

ความรูค้ วามสามารถ โครงสรา้ งขององคก์ ร
การมอบหมายอานาจหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ
การมสี ว่ นร่วมของผูม้ หี นา้ ทใ่ี น นโยบายและวธิ ปี ฏบิ ตั ดิ า้ นทรพั ยากรบคุ คล
การกากบั ดูแล

2. กระบวนการประเมินความเสี่ยงของกิจการ

การประเมนิ ความเสย่ี งเป็นวธิ กี ารตรวจสอบเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ความเขา้ ใจในกจิ การและสภาพแวดลอ้ มของกิจการ เพอ่ื ระบุ
และประเมนิ ความเสย่ี งจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ต่อขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เป็นสาระสาคญั ไมว่ า่ จะเกดิ จากการทจุ รติ หรือ
ขอ้ ผดิ พลาด ทง้ั ในระดบั งบการเงนิ และในระดบั ทเ่ี ก่ยี วกบั สง่ิ ทผ่ี ูบ้ รหิ ารไดใ้ หก้ ารรบั รองไว้

3. ระบบสารสนเทศ

ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั รายงานทางการเงนิ และการสอ่ื สาร การควบคุมภายในทด่ี จี ะเกดิ ข้นึ ได้ เมอ่ื ขอ้ มูลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งไดร้ วบรวม
และช้แี จงใหแ้ ก่บคุ คลทค่ี วรทราบโดยผ่านช่องทาง รูปแบบและการสอ่ื สารทเ่ี หมาะสม

4. กิจกรรมการควบคุม กจิ กรรมการควบคมุ ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่
- การอนุมตั ริ ายการ
เป็นนโยบายและวธิ กี ารทช่ี ่วยใหม้ นั่ ใจวา่ นโยบายและ - การสอบทานผลการปฏบิ ตั งิ าน
กระบวนการเก่ยี วกบั การควบคมุ ภายในทก่ี าหนดข้นึ มกี าร - การประมวลผลขอ้ มลู
ปฏบิ ตั ติ ามภายในองคก์ รอยา่ งทวั่ ถงึ - การควบคมุ ทางกายภาพ
- การแบง่ แยกหนา้ ท่ี
5. การติดตามผลการควบคุม

เพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ นโยบายต่าง ๆ มกี ารปฏบิ ตั ติ าม และเป็นการตดิ ตามการควบคุมภายในทม่ี อี ยู่ มีขอ้ บกพร่องอยา่ งไร
และมกี ารดาเนนิ การแกไ้ ขทจ่ี าเป็น ผูบ้ รหิ ารควรตดิ ตามผลการควบคุมโดยทาเป็นกจิ กรรมอย่างต่อเน่อื ง

การประเมินความเส่ียงจากการ
ควบคุม

ผูส้ อบบญั ชจี ะทาการศึกษาและประเมนิ ความเสย่ี งทอ่ี าจเกดิ จากระบบการควบคุมภายใน เพอ่ื นามาใชเ้ป็นขอ้ มลู ใน
การพจิ ารณาความเสย่ี งในการตรวจสอบบญั ชี และวางแผนการตรวจสอบเน้อื หาสาระ แบ่งออกเป็น 4 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

1. การทาความเขา้ ใจกิจการ 2. การประเมินความเส่ยี งจาก 3. การทดสอบการควบคุม 4 . ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ
และสภาพแวดลอ้ มของกจิ การ การควบคมุ ภายใน ผูส้ อบบญั ชี เป็นการทดสอบการควบคุม ประเมินผลการควบคุม เพ่ือ
ผูส้ อบบญั ชีจะตอ้ งศึกษาและ จะทาการประเมินความเส่ียง เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ หลกั ฐาน การ นาผลท่ีไดจ้ ากการประเมิน
รวบรวมขอ้ มลู วา่ มกี ารควบคุม จากการควบคุม หลงั จากท่ีได้ สอบบญั ชีเก่ียวกับความมี ประสทิ ธิภาพของการควบคุม
ภายในอะไรบา้ งท่ีกิจการ ทาความเขา้ ใจระบบบญั ชีและ ประสิทธิผลของการนาการ ภายใน มาช่วยในการวางแผน
กาหนดไว้ ซ่ึงอาจทาโดย จด ระบบการควบคุมภายในแทน ควบคมุ ไปปฏบิ ตั เิ พอ่ื ป้องกนั การตรวจสอบเน้อื หาสาระ
บนั ทกึ เป็นคาบรรยาย เขยี นผงั ดงั นน้ั หากผูส้ อบบญั ชีพอใจใน หรือการตรวจพบและการ
ท า ง เ ดิ น เ อ ก ส า ร ห รื อ ประสิทธิผลของการควบคุม แ ส ด ง ข้อ มู ล ท่ี ขั ด ต่ อ
แบบสอบถาม ทดแทนย่อมถือได้ว่า การ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง อั น เ ป็ น
ค ว บ คุ ม น้ัน เ พีย ง พ อ แ ล ะ สาระสาคญั กบั ส่งิ ท่ีผูบ้ ริหาร
สามารถใชป้ ระโยชนใ์ นการสอบ รบั รองไว้
บญั ชไี ด้

การรายงานจุดอ่อนของการ
ควบคุมภายใน

หากผูส้ อบบญั ชพี บจดุ อ่อนของระบบการควบคุมภายใน ในระหวา่ งการเขา้ ตรวจสอบระหวา่ งปีควรแจง้ ให้
ลูกคา้ ทราบหลกั จากการตรวจสอบระหวา่ งปีเสรจ็ ส้นิ ในกรณีทพ่ี บจดุ อ่อนทม่ี สี าระสาคญั เพม่ิ เติมในวนั ส้นิ งวด ผูส้ อบ
บญั ชคี วรแจง้ จดุ อ่อนใหล้ ูกคา้ ทราบ เมอ่ื มกี ารตรวจสอบเสรจ็ ส้นิ แลว้ ควรรายงานใหล้ ูกคา้ ไดท้ ราบขอ้ บกพร่องเป็นลาย
ลกั ษณอ์ กั ษร เรยี กว่า หนงั สอื แจง้ จดุ อ่อนของระบบการควบคุมภายใน (Management Letter) และใหผ้ ูบ้ รหิ ารลง
ลายมอื ช่อื รบั ทราบและควรบนั ทกึ การแจง้ เร่อื งดงั กลา่ วไวใ้ นกระดาษทาการ

ประเดน็ สาคญั ในการแจง้ จดุ อ่อนของการควบคุม ผูส้ อบบญั ชคี วรเนน้ เร่ืองดงั ต่อไปน้ี

การตรวจสอบไดก้ ระทาดว้ ยวตั ถุประสงค์ท่ีจะแสดง การแจง้ จุดอ่อนของการควบคุมเป็นการแจง้ จุดอ่อน
ความเหน็ เก่ียวกบั งบการเงนิ แต่จากการตรวจสอบไดพ้ บ เท่าท่ีพบจากการปฏิบตั ิงานตรวจสอบบญั ชี ไม่ใช่พบ
ขอ้ บกพร่องในการควบคุมภายในท่มี สี าระสาคญั ซ่ึงอาจ จดุ อ่อนทง้ั หมดทม่ี อี ยู่ในระบบ เน่ืองจากการตรวจสอบ
กระทบต่อการดาเนินการ การจดบนั ทกึ การสรุปผลและ ไมไ่ ดต้ รวจสอบทกุ รายการเป็นเพยี งการทดสอบรายการ
รายงานของกจิ การ เทา่ นน้ั

THANK YOU


Click to View FlipBook Version