เรยี บเรียงโดย แผนกหอ้ งสมดุ กรมพัฒนาการช่าง กรมอู่ทหารเรือ ปี 2565
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
ค่มู ือการซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
วตั ถุประสงค์
เพอื่ ใหม้ น่ั ใจว่าการทางานของผปู้ ฏบิ ตั ิงานเป็นไปอยา่ งถกู ตอ้ งตามข้นั ตอนและมกี ารควบคุมคุณภาพ
ขอบเขต
ครอบคลมุ วธิ ีการซ่อมทาเคร่ืองสูบของเหลว ไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล. ซ่ึงแยกเป็ นประเภท
ของเครื่องสูบของเหลวดงั น้ี
1. เครื่องสูบของเหลว ประเภทแรงเหว่ยี ง (CENTRIFUGAL PUMP)
2. เคร่ืองสูบของเหลว ประเภทขอ้ เสือขอ้ ต่อ (RECIPROCATINGPUMP)
3. เครื่องสูบของเหลว ประเภทโรตารี่(ROTARY PUMP)
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 1 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
ข้ันตอนการซ่อมทา
๑. เตรียมเครื่องมอื และอปุ กรณ์ท่ีจะใชใ้ นการซ่อมทา ดงั น้ี
๒. การตรวจสอบก่อนการซ่อมทา
๓. การซ่อมทา
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 2 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
สูบน้าประเภทแรงเหวยี่ ง
1. สูบน้าไฟร์เมน มที ้งั 1 STAGE และ 2 STAGE
2. สูบน้าทะเลหลอ่ เครื่องปรับอากาศ มี 1 STAGE
3. สูบน้าชีลหล่อเคร่ืองปรับอากาศ มี 1 STAGE
4. สูบน้าจืดใบจกั ร มี 1 STAGE
5. สูบน้าจืดอุ่นเคร่ืองจกั รใหญ่ มี 1 STAGE
6. สูบน้าเสีย มี 1 STAGE
หมายเหตุ ชื่อเรือที่ขีดเสน้ เป็นพดั น้าที่มี 2 STAGE
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 3 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
ชุดเรือ ชุดเรือ ร.ล.ชา้ ง ชุดเรือ ชุดเรือ
ก.ต.อ. ก.ป.ด ร.ล.สีชงั ก.ย.บ ก.ท.บ
ร.ล.มกฎุ ราชกมุ าร ร.ล.ทยานชล ร.ล.พงนั ร.ล.โพสามตน้
ร.ล.หาญหกั ศตั รู ร.ล.คารณสินธุ ร.ล.ถูด ร.ล.แสมสาร ร.ล.บางระจนั
ร.ล.สูไ้ พรินทร์ ร.ล.ล่วิ ลม ร.ล.สมุย ร.ล.เปริด ร.ล.หนองสาหร่าย
ร.ล.ปราบปรปักษ์ ร.ล.ล่องลม ร.ล.ปราบ ร.ล.จิก ร.ล.ท่าดินแดง
ร.ล.คลองใหญ่ ร.ล.สุโขทยั ร.ล.สตั กดู ร.ล.ริ้น ร.ล.ลาดหญา้
ร.ล.ตากใบ ร.ล.รัตนโกสินทร์ ร.ล.มตั โพน ร.ล.นาคา ร.ล.บางแกว้
ร.ล.เทพา ร.ล.ปิ่ นเกลา้ ร.ล.ราวี ร.ล.ลนั ตา ร.ล.ดอนเจดีย์
ร.ล.ทา้ ยเหมือง ร.ล.ตาปี ร.ล.อาดงั ร.ล.ทองแกว้ ร.ล.ถลาง
ร.ล.กนั ตงั ร.ล.คีรีรัฐ ร.ล.เภตรา ร.ล.ทองหลาง ร.ล.ศกุ ร์
ร.ล.ราชฤทธ์ ิ ร.ล.เจา้ พระยา ร.ล.โกลา ร.ล.วงั นอก
ร.ล.วิทยาคม ร.ล.บางปะกง ร.ล.ตะลบิ ง ร.ล.วงั ใน
ร.ล.อดุ มเดช ร.ล.กระบุรี ร.ล.สุรินทร์
ร.ล.ชลบุรี ร.ล.สายบุรี ร.ล.พระทอง
ร.ล.สงขลา ร.ล.ตากสิน ร.ล.จวง
ร.ล.ภูเก็ต ร.ล.นเรศวร ร.ล.ปรง
ร.ล.สตั หีบ ร.ล.เสมด็
เรือ ต.ต่าง ๆ ร.ล.เกลด็ แกว้
ร.ล.รัง
ร.ล.จุฬา
ร.ล.กลงึ บาดาล
ร.ล.มารวิชยั
ร.ล.แรด
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 4 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
วธิ ีการซ่อมทาเคร่ืองสูบของเหลว
1. วตั ถุประสงค์
เพ่ือใหม้ น่ั ใจวา่ การทางานของระดบั ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน เป็นไปอยา่ งถูกตอ้ งตามข้นั ตอน และมีมาตรฐาน
ตามที่กาหนด รวมท้งั มีการควบคุมคุณภาพ ท่ีเป็นระบบ
2. ขอบเขต
ครอบคุมวธิ ีการทางาน การซ่อมทาเคร่ืองสูบของเหลวของโรงงานปรับซ่อมเคร่ืองไอน้า ฯ ต้งั แต่
การซ่อมทาบนโรงงาน รวมท้งั การทดสอบแกไ้ ข เพ่ือใหเ้ ป็นตามที่กาหนด
3. ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน
3.1 เตรียมเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการซ่อมทาดงั ต่อไปน้ี
3.1.1 ประแจปากร่วม 1 ชุด (ขนาด 10 มม. – 32 มม.)
3.1.2 ประแจแอลเลน (ขนาด 2 มม. – 14 มม.)
3.1.3 เหลก็ ดูด
3.1.4 ไขควง คอ้ น
4. การซ่อมทา
4.1 การถอดช้ินส่วนต่าง ๆ ของเครื่องสูบประเภทแรงเหวีย่ ง
4.1.1 หมายตาแหน่งบนเรือนสูบก่อนถอดร้ือ
4.1.2 ถอดแยกมอเตอร์ออกจากชุดเครื่องสูบ
4.1.3 ถอดสลกั ยดึ เรือนสูบ เปิ ดฝาครอบออก
4.1.4 คลายฝาอดั แป๊ กกิ้นออก
4.1.5 ถอดใบพดั น้าออก
4.1.6 ถอดบอลแบริ่งออกจากเพลา
4.1.7 ทาความสะอาดช้ินส่วน
4.1.8 ตรวจสอบความสึกหรอที่เกิดข้ึน
4.1.9 เบิกอะไหล่ท่ีตอ้ งการ
4.1.10 ส่ง รง.331 ปรับระยะตามที่กาหนด
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 5 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
4.2 การถอดชิ้นส่วนของเครื่องสูบประเภทขอ้ เสือขดั ต่อ
4.2.1 หมายตาแหน่งบนเรือนสูบก่อน
4.2.2 ถอดแยกชุดมอเตอร์ออก
4.2.3 ถอดสลกั ฝาครอบหมลู่ ิ้น เปิ ดฝาครอบออก
4.2.4 ยกชุดล้ินออกจากตวั เรือน
4.2.5 ถอดสลกั ฝาครอบหวั สูบออก
4.2.6 คลายเกลียวฝาอดั แป๊ กกิ้งออก
4.2.7 ถอด Pulley ออก
4.2.8 ถอดสลกั ฝาปิ ดบอลแบร่ิงออก
4.2.9 ดึงเพลาขอ้ เสือออกพร้อมบอลแบริ่ง
4.2.10 ถอด PIN ลอ๊ กกา้ นสูบส่งกาลงั กบั สูบสะพานนาออก
4.2.11 ดึงกา้ นสูบส่งกาลงั ออก
4.2.12 คลายนตั ลอ๊ กกา้ นสูบของชุดสูบสะพาน นาดา้ นท่ีติดลูกสูบสะพานนาออก
4.2.13 ดึงลูกสูบและกา้ นสูบออก
4.2.14 ถอดกระบอกสูบออก
4.2.15 ทาความสะอาด ตรวจสอบความสึกหรอของชิ้นส่วนต่าง ๆ
4.3 การซ่อมทาเครื่องสูบประเภทโรตาร่ี
4.3.1 หมายตาแหน่งบนเรือนสูบก่อน
4.3.2 ถอดแยกมอเตอร์
4.3.3 ถอดสลกั ยดึ ฝาครอบออก
4.3.4 ถอดหนา้ แปลนระหว่างเพลา
4.3.5 ถอด BALL BEARING และ MECHANICAL SEAL
4.3.6 ถอดเพลา และชุดเฟื อง
4.3.7 ทาความสะอาด ตรวจสอบความสึกหรอ
5. การปรับแต่งและประกอบชิน้ ส่วนเข้าทเ่ี ดิม
5.1 ประสานโรงงานที่เกี่ยวขอ้ ง กลงึ แต่งชิ้นส่วนใหต้ ามที่ร้องขอ
5.2 เปล่ยี นชิ้นส่วนท่ีชารุดเกินเกณฑใ์ หม่
5.3 ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เขา้ ที่เดิม
5.4 ตรวจสอบการร่ัวไหลเบ้ืองตน้
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 6 ของ 7 หนา้
การซ่อมทาไฟร์เมน สูบ นม.ชพ. และ สูบ นมล.
6. การทดสอบบนโรงงาน
6.1 ประสิทธิภาพตอ้ งไมต่ ่ากวา่ 70%
6.2 ตรวจวดั ค่าความสมดุลย์ โดยเจา้ หนา้ ท่ี กคภ.อจปร.อร.
ผลิต 29 มิ.ย.47 หนา้ 7 ของ 7 หนา้