The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การซ่อมทำมอเตอร์กระแสสลับ 1-50HP ขึ้นไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jui643, 2022-04-12 03:14:21

การซ่อมทำมอเตอร์กระแสสลับ 1-50HP ขึ้นไป

การซ่อมทำมอเตอร์กระแสสลับ 1-50HP ขึ้นไป

Keywords: MoterAC50,การซ่อมทำมอเตอร์กระแสสลับ

เรยี บเรียงโดย แผนกหอ้ งสมดุ กรมพัฒนาการช่าง กรมอู่ทหารเรือ ปี 2565

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

การปฏิบตั งิ านการซ่อมทา AC MOTOR แบบกรงกระรอก ( 1 - 50 HP ขนึ้ ไป)
ข้นั ตอนการซ่อมทา AC MOTOR แบบกรงกระรอก ( 1 - 50 HP ข้ึนไป)

๑. การถอดสายไฟ สลกั ฐานแท่นและ หนา้ แปลน
๒. การขนยา้ ย
๓. การถอดมอเตอร์และอปุ กรณ์ประกอบตามมาตรฐานโดยทวั่ ไป
๔. ร้ือขดลวด สเตเตอร์และโรเตอร์ ในกรณีท่ีขดลวดเกิดการ ช๊อต หรือชารุดเสียหาย
๕. การทาความสะอาด สเตเตอร์ (ในกรณีขดลวดไม่เสีย)
๖. ตดั ฉนวนรองขดลวด และกระดาษครอบ
๗. การทาแบบพนั ขดลวด และพนั ลวด
๘. การนาขดลวดลงในช่องสลอ๊ ต
๙. ทาการต่อวงจรแลว้ บดั กรี
๑๐. พนั ผา้ หวั ทา้ ยเก็บงาน
๑๑. ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของโรเตอร์
๑๒. การตรวจสอบโรเตอร์
๑๓. การซ่อมทาโรเตอร์ (ในกรณีท่ีโรเตอร์เสีย)
๑๔. วิธีการปฏิบตั ิการชุบน้ายาเคลือบฉนวน ในการชบุ น้ายาเคลือบฉนวน
๑๕. เปลี่ยนบอลและทาการประกอบ
๑๖. การประกอบมอเตอร์
๑๗. ทาการทดลอง
๑๘. ยกลงประกอบในเรือ

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 1/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ านการซ่อมทา AC MOTOR แบบกรงกระรอก ( 1 - 50 HP ขนึ้ ไป)

1. ถอดสายไฟ สลกั ฐานแท่น หน้าแปลน
๑.๑ สารวจสถานที่ก่อนปฏบิ ตั ิงานเพ่ือสะดวกและปลอดภยั ในการทางานร่วมกบั จนท.เรือ และโรงงาน
ที่กาหนดในใบสง่ั งานที่เกี่ยวขอ้ ง
๑.๒ ปลดกระแสไฟฟ้าท่ีจ่ายใหก้ บั มอเตอร์และอปุ กรณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๑.๓ ถอดมอเตอร์ออกจากแท่นโดยใชป้ ระแจตามขนาดของมอเตอร์น้นั ๆ
๑.๔ ปลดหนา้ แปลนที่ติดอยกู่ บั อปุ กรณ์อ่ืน ๆออกถา้ มี เช่น ติดอยกู่ บั พดั น้า หรือ สายพาน
เป็ นตน้

2. ยกขึน้ โรงงาน 351
- แจง้ โรงงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การยกเพ่อื ทาการยกมอเตอร์ข้ึนโรงงานเพ่อื ทาการซ่อมต่อไป

3. การถอดมอเตอร์ และอปุ กรณ์ประกอบ ตามมาตรฐานโดยทว่ั ไปดงั นี้
3.1 วธิ ีการถอดมอเตอร์ (ดูรูปและแผนภูมิระบุข้นั ตอนประกอบ)
3.1.1.ถอดมอเตอร์ออกจากเคร่ืองจกั รท่ีใช่งานโดยปบลดสายพาน – ขอ้ ต่อหรือ หนา้ แปลน

ดว้ ยการถอดสลกั ยดึ ออกก่อน
3.1.2.คลายนตั + สกรู ยดึ มูเ่ ล่ออกดว้ ยเครื่องมือ ถา้ ไมอ่ อกใหห้ ยอดน้ามนั หลอ่ ลนื่ บนเกลยี ว

เลก็ นอ้ ย ถา้ ยงั ไม่ออกใหใ้ ชส้ วา่ นเจาะสกรูท้ิง แลว้ นาเกลยี วใส่สกรูยดึ มเู่ ลใ่ หม่

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 2/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

3.1.3.ถอดมเู่ ล่ ใชไ้ ขควงงดั ผา่ นจุดศูนยก์ ลางของแกนเพลาหรือใชเ้ ครื่องดูดม่เู ล่ ถา้ ถอดยากให้
ใชไ้ ฟเป่ าม่เู ล่ใหข้ ยายตวั แลว้ ใชน้ ้า – น้ามนั หลอ่ ตวั เพลาใหเ้ ยน็ ดึงลมิ่ ออกจากเพลาดว้ ย (ถา้ มี)

3.1.4.ถอดฝาครอบดา้ นตรงขา้ มเพลาขบั ถอดนตั ยดึ ฝาครอบออกท้งั หมด ใชไ้ ขควงแงะออก
หรือใชส้ กดั ตอกออกแลว้ แต่กรณี

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 3/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

3.1.5.ถอดแผ่นบงั ลมโดยใชส้ องมือดึงแผ่นบงั ลมออกมาตรง ๆ

3.1.6.ถอดฝาครอบดา้ นเพลาขา้ ง ถอดนตั ยดึ ฝาครอบออกท้งั หมดใชไ้ ขควงและออกหรือใช้
สกดั ตอกออกแลว้ แตก่ รณีถึงฝาครอบบงั ลมและพร้อมตวั โรเตอร์ติดออกมาพร้อมกนั ดว้ ยความระมดั ระวงั การ
กระแทกทาใหข้ ดลวดและส่วนประกอบเสียหาย

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 4/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

3.1.7.ถอดโรเตอร์ออกจากฝาครอบ วางโรเตอร์ดา้ นฝาครอบลงล่างหมุนฝาครอบโดยรอบแลว้
ใชฆ้ อ้ นเคาะรอบฝาครอบ ใหโ้ รเตอร์ขยบั ตวั และหลุดออก

3.1.8.ถอดและเก็บรักษารองลน่ื ลกู ปื น (BALLBARING) ถอดรองลนื่ ลกู ปื นออกจากเพลาโร
เตอร์ ชโลมน้ามนั หรือทาดว้ ยจาระบี แลว้ ห่อดว้ ยผา้ สะอาด ถา้ ถอดรองลนื่ ลูกปื นไม่ออกใหอ้ ่นุ ดว้ ยน้ามนั แลว้ ใช้
ตวั ดูดรองลน่ื ดึงออกและตอ้ งเปลี่ยนรองลืน่ ใหม่ ไม่ควรใชร้ องลืน่ ของเดิมอกี

3.1.9 ร้ือขดลวดของชุดโรเตอร์ หรือสเตเตอร์พนั ใหมต่ ามเดิมในกรณีทีขดลวดเกิดการซอ๊ ต
หรือชารุดเสียหาย

3.1.10 ทาความสะอาดและเกบ็ รกั ษาชน้ิ ส่วนท่ีถอดใชล้ มแรงสูงเป่ าช้ินส่วนต่าง ๆ แลว้ ใชแ้ รง
ปัดหรือผา้ เชด็ แลว้ ใชน้ ้ามนั กา๊ ดหรือน้ายาลา้ งทาควมสะอาดยกเวน้ ขดลวด ชโลมน้ามนั กนั สนิมแยกเกบ็ ช้ินส่วน
ไวใ้ หเ้ ป็นระเบียบหรือรอการประกอบต่อไป

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 5/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

เริ่ม a

การแยกมอเตอร์จากเครื่องจกั รโหลด สามารถดงึ มเู่ ล่ออก
จากเพลาหรือเปลา่
ยงั

ปิ ดสวิทชไ์ ฟหรือ ดึงโดยใชเ้ ครื่องดดู มูเ่ ลช่ ่วย
ยงั
ดึงออกหรือเปล่า ใชไ้ ฟเป่ า
แลว้ ถอดน๊อตยดึ ฝาครอบดา้ นตรงขา้ มเพลาขบั ขอบรูมู่เล่
ปลดสาย

ขยบั มอเตอร์ออกจากเคร่ืองจกั รโหลด

การตอ่ ประกบั เพลา ตอ่ โดยตรง ถอดฝาครอบโดยแหยไ่ ขควงเขา้ ไปงดั ใชส้ ลกั แลว้ ใชค้ อ้ น
เป็ นชนิดใด ถอดหนา้ ประกบั ท้งั สองขา้ งพร้อมกนั ตอกตามรอแยก
เพือ่ ใหห้ ลวมตวั
เลอ่ื นมอเตอร์ออกจากฐานรอง สามารถหลดุ ออกได้
ไมไ่ ด้
ถอดสายพาน

การถอดมอเตอร์ ถอดฝาครอบใชส้ องมือประคอง

คลายสกรูยดึ ม่เู ล่ ถอดแผ่นบงั ลมออกดว้ ยมือท้งั ๒ขา้ ง
ดงึ มู่เล่ออก ดงึ ตวั น็อตหรือฝาครอบออก

ab

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 6/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

b

ดงึ ฝาครอบดา้ นเพลาพร้อมโรเตอร์ออก

ออกหรือเปลา่ ไมอ่ อก ใชไ้ ขควงหรือสลกั ชว่ ยในการถอด
ออก
คลายฝาครอบโดยใชค้ อ้ นไมต้ อก
ถอดโรเตอร์ออกจากฝาครอบ พนั -ซ่อมทาขดลวดโรเตอร์/สเตเตอร์ใหม่

ถอดออกหรือเปล่า

ถอดรองลน่ื แลว้ เกบ็ รักษาใหด้ ี
ทาความสะอาดช้นิ ส่วนที่ถอด
จดั และเกบ็ รักษาชิ้นส่วนที่ถอด
สิ้นสุด

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 7/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

4. รื้อขดลวดสเตเตอร์ และ โรเตอร์ ในกรณที ีข่ ดลวดเกดิ การซ๊อตหรือชารุดเสียหาย
4.1 การร้ือขดลวดและหาแบบการพนั สเตเตอร์
4.1.1 หาขอ้ มูลของขดลวดเดิมใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด
4.1.2 พจิ ารณาแผน่ ป้ายท่ตี ิดอยกู่ บั มอเตอร์และบนั ทกึ ขอ้ มลู และรายละเอยี ดต่างๆ
4.1.3 แบบการต่อวงจรของขดลวด
4.1.4 รายละเอียดของวสั ดุฉนวน
4.1.4.1 ฉนวนประเภทช้นั A ไดแ้ ก่ แถบผา้ ฝ้าย ไฟเบอร์ กระดาษชุบวานิช
ทนอุณหภูมิสูงสุดถึง 105 c
4.1.4.2 ฉนวนประเภทช้นั E ไดแ้ ก่ โพลิเอสเทอร์ เรซิน ทนอณุ หภูมสิ ูงสุด 120 c
4.1.4.3 ฉนวนประเภทช้นั B ไดแ้ ก่ อิบอ๊ กซ่ี ไมกา้ ใยแกว้ แอสเบสต๊อสอาบวานิช
แผน่ ไมกา้ ทนอณุ หภูมสิ ูงสุด 130 c
4.4.1.4 ฉนวนประเภทช้นั F ไดแ้ ก่ ใยแกว้ อาบวานิช แอสเบสตอ๊ สอาบวานิช
แผน่ ไมกา้ ทนอณุ หภูมิสูงสุด 155 c
4.1.4.5 โครงสร้างของโรเตอร์ตวั อกั ษรบนป้ายช่ือจะบอกประเภทดงั น้ี
- C : หมายถึงโรเตอร์ชนิดกรงกระรอกธรรมดา
- K1 : หมายถึงโรเตอร์ชนิดกรงกระรอกพเิ ศษช้นั ท่ี 1
- K2 : หมายถึงโรเตอร์ชนิดกรงกระรอกพเิ ศษช้นั ที่ 2
- W : หมายถึงโรเตอร์ชนิดพนั ขดลวด
- บอกค่าประมาณของโวลทเ์ ตจทุติยภูมิสูงสุด
- บอกค่าประมาณของกระแสทุติยภูมิสูงสุด
4.1.5 จานวนข้วั แม่เหลก็
- บอกจานวนคู่ข้วั ประกอบดว้ ยข้วั เหนือและข้วั ใตเ้ รียกวา่ สองข้วั
4.1.6 พิกดั กาลงั
- กาลงั งานสูงสุดที่มอเตอร์ทางานไดโ้ ดยไม่เกดิ ความเสียหายบอกไวใ้ น
หน่วย ของแรงมา้ ( HP ) หรือ กิโลวตั ต์ ( KW ) ในมอเตอร์รุ่นใหม่ๆ
4.1.7 พิกดั โวลทเ์ ตจ
- เป็นค่าศกั ดาไฟฟ้าท่ีป้อนเขา้ มอเตอร์ที่ทาใหก้ าลงั ของมอเตอร์ไดต้ รงตาม
กาหนดจะบอกไวใ้ นหน่วยโวลท์ ( V )
4.1.8 พิกดั ความถ่ี
- เป็นค่าความถ่ขี องระบบที่ทาใหพ้ กิ ดั กาลงั ของมอเตอร์ไดต้ รงตามกาหนด
บอกไวใ้ นหน่วยเฮิร์ตซ์ ( HZ )

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 8/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

4.1.9 กระแส หนา้ 9/21
-เป็นค่าโดยประมาณของกระแสขณะโหลดเตม็ ที่บอกไวใ้ นหน่วยแอมแปร์ (A)

4.1.10 ความเร็วรอบ
- เป็นค่าโดยประมาณจานวนรอบต่อนาที ( RPM ) ของมอเตอร์ขณะใชง้ าน
ท่ีพิกดั กาลงั

4.1.11 ขนาดกระแสขณะสตาร์ท
- เป็นค่าศกั ดาไฟฟ้าเต็มที่ต่อโดยตรงเขา้ ระบบรวมโหลดโดย
ไม่ลดศกั ดาลง
- หมายถึงค่าของอตั ราส่วนของกาลงั รวมโวลท์ แอมป์ ท่ีตอ้ งใชข้ ณะ
สตาร์ท ( KVA ) ต่อพิกดั กาลงั 1 กิโลวตั ต์ ( KW )
- ใชเ้ รียนลาดบั อกั ษรต้งั แต่ A - V

4.2 สญั ลกั ษณ์บอกรุ่นของมอเตอร์
- ข้ึนอยกู่ บั บริษทั ผผู้ ลิตเพ่ือแยกชนิดของช้นั มอเตอร์ต่างๆของบริษทั เอง
- ชื่อของบริษทั ผสู้ ร้าง ปี ท่ีทาการผลิต

4.3 การตรวจนบั จานวนร่องสลอ๊ ต
- นบั จานวนเพ่ือใชใ้ นการทารายละเอียดของขดลวดท่ีจะพนั
- บนั ทึกเก็บไวเ้ ป็นขอ้ มูล

4.4 วธิ ีร้ือขดลวดออกจากสลอ๊ ต
4.4.1 พจิ ารณาขดลวดวา่ สามารถดึง ร้ือ ออกไดท้ นั ทีหรือเปลา่
- ขดลวดไหมอ้ ยแู่ ลว้ สามารถร้ือออกไดท้ นั ที
4.4.2 ตรวจดูชนิดของฉนวนท่ีใช้
- ขดลวดยงั ไมไ่ หมย้ งั ไม่สามารถร้ือออกไดท้ นั ทตี อ้ งตรวจสอบชนิด
ของฉนวนที่ใช้
4.4.3 ชนิดฉนวน A หรือเปลา่
- มอเตอร์ทว่ั ๆไป จะเป็นชนิดฉนวน A, F, B, F เป็นส่วนใหญ่
4.4.4 การทาใหข้ ดลวดร้อนเพื่อใหว้ านิชที่ฉนวนออ่ นตวั ละลายออกในชนิดฉนวน A
- ใชก้ ารผา่ นกระแสไฟฟ้าเขา้ ขดลวดประมาณ 150-200 %ของกระแส
เตม็ พกิ ดั
- ใชห้ ลอดไฟอบโดยนาหลอดไฟต้งั แต่ 100 วตั ตข์ ้ึนไปหลายๆดวงใส่
ไวใ้ นสเตเตอร์แลว้ ปิ ดฝาครอบท้งั สองดา้ นอบความร้อนไวเ้ ป็น เวลานาน
4.4.5 การสุมไฟเผาขดลวดในชนิดฉนวน E B หรือ F
- ใชเ้ ตาอบท่ีอุณหภูมทิ ่ีตอ้ งการเพ่ือใหล้ ะลายวานิชของมอเตอร์น้นั ๆ

ผลิต 1 ก.ย..47

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

- ตดั ขดลวดดา้ นท่ีไมม่ กี ารต่อวงจรออก
- ตดั ขดลวดส่วนท่ีโผลอ่ อกมาจากช่องสลอ๊ ตดา้ นที่ไมม่ กี ารต่อวงจร
- ใชแ้ ท่งเหลก็ ขนาดเลก็ กวา่ ช่องสลอ๊ ตเลก็ นอ้ ยตอกดนั ขดลวดออก

ดา้ นตรงขา้ ม
4.4.6 รักษาสภาพขดลวดเดิมไว้

- พยายามรกั ษาสภาพขนาดรูปทรงของขดลวดเดิมไวเ้ ป็นตวั อยา่ งใน
การวดั ขนาดแบบ เพื่อพนั ขดลวดใหม่
4.4.7 ตรวจสอบจานวนรอบและขนาดของขดลวด
- ตรวจนบั จานวนรอบของขดลวดเดิม
- ตรวจขนาดของขดลวดที่ใช้ บางคร้ังในแต่ละขดจะใชข้ นาดและจานวนรอบ
ไม่เท่ากนั
- ตรวจดูน้ายาที่อาบของขดลวดเดิมท่ีใช้
4.4.8 ชงั่ น้าหนกั ของขดลวด
- การชงั่ น้าหนกั ของขดลวดเดิมเพ่อื ช่วยการตรวจสอบการข้ึนรูปของขดลวด
ใหม่ได้
4.4.9 ทาความสะอาดช่องสลอ๊ ต
- ใชล้ มเป่ า แปรง น้ายา กระดาษทราย ทาความสะอาดช่องสลอ๊ ตตรวจดู
การผดิ รูปของแผน่ เหลก็ ช่องสลอ๊ ต
4.5 ตรวจพธิ ีการพนั ขดลวด
4.5.1 การพนั ขดลวดซ่ึงวางขดลวดสองขดลงในสลอ๊ ตเดียวกนั เรียกวา่ พนั
แบบช้นั ขดคู่
4.5.2 การพนั ขดลวดซ่ึงวางขดลวดเดี่ยวลงในช่องสลอ๊ ตเด่ียวกนั เรียกว่าพนั
แบบช้นั ขดเด่ียว
4.5.3 การพนั ขดลวดตามลกั ษณะการพนั ขดลวดยงั แยกเป็นการพนั แบบแลป
และแบบเชน
4.6 ตรวจจานวนขดลวดท่ีต่ออนุกรมในวงจร
4.6.1 นบั จานวนขดลวดท่ีใชส้ ร้างข้วั เหนือและข้วั ใตข้ องมอเตอร์
4.6.2 การต่ออนุกรมของขดลวดจะข้ึนอยกู่ บั ชนิดการพนั ขดลวด เช่น ชนิดเชน
ชนิดแลป
4.7 ตรวจระยะพชิ ของขดลวด
4.7.1 ระยะพิชจะตอ้ งพิจารณาจากการลงช่องสลอ๊ ตของขดลวดท้งั สองดา้ น
ว่าห่างออกไป กี่สลอ๊ ต

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 10/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

4.7.2 ระยะพิชจะตอ้ งพิจารณาจากการพนั ขดลวดชนิดไหน
4.8 การตรวจการต่อวงจรของขดลวด

4.8.1 ขดลวดสเตเตอร์จะตอ้ งต่อกนั เพอื่ สร้างสนามแมเ่ หลก็ หมุนข้ึนในช่องอากาศ
ของสเตเตอร์
4.8.2 ตอ้ งบนั ทึกพิธีต่อขดลวดของเดิมไวเ้ มื่อพนั ขดลวดใหม่จะไดไ้ ม่สบั สน
4.9 การตรวจชนิดของฉนวน
4.9.1 ดูวสั ดุท่ีใชท้ าฉนวนหุม้ ขดลวดว่าเป็นชนิดใด
4.9.2 ดูว่าหุม้ ฉนวนกี่ช้นั
4.10 ตรวจส่วนท่ีเกิดความเสียหาย
4.10.1 ดูความเสียหายของขดลวดบางคร้ังอาจไม่ตอ้ งถอดออกจากสลอ๊ ตท้งั หมด

ซ่อมแซมแค่บางส่วนบางจุดเท่าน้นั
4.10.2 ดูสภาพ รูปร่าง รูปทรง ของขดลวดและส่วนประกอบต่างๆท่ีซ่อมแซมได้

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 11/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

เร่ิมตน้ แผนภูมริ ะบุข้ันตอนการร้ือขดลวด a

ดูวา่ ร้ือขดลวดออก ได้ ตรวจดขู นาดและ
ไดท้ นั ทีหรือเปลา่ จานวนรอบของ

ไมไ่ ด้ ขดลวด
ตรวจดูชนิดของช้นั ฉนวน วดั น้าหนกั ของแตล่ ะขด

ช้นั ฉนวน A ใช่ ทาใหข้ ดลวดร้อนโดยใชห้ ลอดไฟ ตรวจดฉู นวนกบั สล๊อต
หรือเปล่า อบหรือผ่านกระแสเขา้ ขดลวด
ทาความสะอาดช่องสล๊อต
ไมใ่ ช่ ไมไ่ ด้
ดูว่าสลอ๊ ตเสียรูป
เผาขดลวดโดยใชไ้ ม้ หรือเปล่า

ไม่ได้ ดูว่าขดลวดพอจะร้ือ ไมด่ ี
ออกไดห้ รือยงั
แกไ้ ขการเสียรูปของ
ดูว่าขดลวดพอจะร้ือ ได้
ออกไดห้ รือยงั ดี สลอ๊ ต

ได้ ส้ินสุด
ตดั ขดลวดดา้ นที่ไมม่ ีการต่อวงจร

ใชแ้ ท่งเหล็กแหยท่ ี่ช่องสล๊อตดา้ นที่ตดั และ
ตอกตน้ ขดลวดออกมา

พยายามรักษาขดลวดใหอ้ ยใู่ นสภาพเดิม
มากที่สุด

ตรวจดูฉนวนของขดลวด

หาขอ้ มลู ทาแบบข้นึ รูปขดลวด

a

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 12/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

5. การทาความสะอาดสเตเตอร์ (ในกรณขี ดลวดไม่เสีย)

5.1 สาเหตุท่ีเกิดจากคราบน้าจืด คราบน้าทะเล คราบน้าเกลอื
5.11 นาสเตเตอร์ท่ีตอ้ งการทาความสะอาดเขา้ ตูล้ า้ งทาความสะอาด
5.1.2 ใชเ้ ครื่องฉีดน้าร้อนกาลงั ดนั สูงฉีดลา้ งจนสิ่งสกปรกออก
5.1.3 ใชล้ มเป่ าสเตเตอร์ท่ีทาความสะอาดแลว้ ไล่น้าที่ทาความสะอาดออกใหห้ มด
5.1.4 นาเขา้ ตูอ้ บความร้อนจนสเตเตอร์แหง้ แลว้ ปลอ่ ยใหส้ เตเตอร์เยน็
5.1.5 ใชเ้ คร่ืองวดั ค่าฉนวนของตวั นาเมกเกอร์โอทม์ วดั ค่า ค่าท่ีไดต้ อ้ งไมต่ ่ากว่า
1 เมกเกอร์โอทม์
5.1.6 นาสเตเตอร์ท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนไปเคลอื บน้ายาวานิช
5.1.7 นาสตเตอร์เขา้ ตูอ้ บความร้อนจนน้ายาวานิชแหง้
5.1.8 ปลอ่ ยใหส้ เตเตอร์เยน็ และนามาวดั ค่าฉนวนอกี คร้ัง
5.1.9 สเตเตอร์ท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนแลว้ พร้อมประกอบใชง้ าน

5.2 การทาความสะอาดสเตเตอร์ท่ีเกิดจากคราบน้ามนั คราบเขม่าฝ่ นุ
5.2.1 นาสเตเตอร์ท่ีตอ้ งการทาความสะอาดเขา้ ตูล้ า้ งทาความสะอาด
5.2.2 ใชน้ ้ายาลา้ งอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดแหง้ ชา้ ลา้ งทาความสะอาด
5.2.3 ใชล้ มเป่ าสเตเตอร์ที่ทาความสะอาดแลว้ ใหแ้ หง้
5.2.4 นาเขา้ ตูอ้ บความร้อนจนสเตเตอร์แหง้ แลว้ ปล่อยใหส้ เตเตอร์เยน็ วดั ค่าฉนวน
5.2.5 นาสเตเตอร์ท่ีผา่ นการวดั ฉนวนไปเคลอื บนายาวานิช
5.2.6 นาสเตเตอร์เขา้ อบความร้อนจนน้ายาวานิชแหง้
5.2.7 ปล่อยใหส้ เตเตอร์เยน็ และนาไปวดั ค่าฉนวนอีกคร้ัง
5.2.8 สเตเตอร์ท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนแลว้ พร้อมประกอบใชง้ าน

6. ตดั ฉนวนรองขดลวด และกระดาษครอบ
6.1 ฉนวนรองขดลวดในสลอ๊ ตใชต้ ามขนาดของร่องสลอ๊ ต
6.2 ฉนวนหุม้ ขดลวดจะตอ้ งมคี วามยาวกว่าร่องสลอ๊ ตประมาณ 20 – 40 ม.ม.
6.3 ชนิดของฉนวนใชก้ ระดาษแข็ง กระดาษฉาบไมร่า หรือพวกแผน่ ฟิ ลม์ แลว้ แต่ชนิดงาน
6.4 การพบั กระดาษฉนวนครอบสลอ๊ ตโดยพบั กระดาษฉนวนหุม้ สลอ๊ ตใหม้ ีขนาดพอดีสวมเขา้ กบั
ความกวา้ งของช่อง สลอ๊ ตแลว้ ใส่ลงครอบบนลวดตวั นาในสลอ๊ ต

7. การทาแบบพนั ขดลวด และพนั ลวด

- ไดแ้ บบจากขดลวดที่คงสภาพเดิม
- ไดจ้ ากขดลวดเดิมที่วดั ความยาวของ 1 รอบของขดลวดเดิม
7.1 การสร้างแบบพนั ขดลวด
7.1.1 การพนั แบบแลป็ ใชแ้ กนข้ึนแบบขนาดเดียวกนั มจี านวนแบบเท่ากบั จานวนขดลวดที่

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 13/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

ต่ออนุกรมกนั และมแี ผน่ ปิ ดขา้ งเท่ากบั จานวนขดลวดท่ีต่ออนุกรมบวกหน่ึงเสมอ
7.1.2 การพนั แบบเชน ใชแ้ บบข้นึ รูปขนาดต่างกนั จากเลก็ ไปใหญ่มีจานวนแบบเท่ากบั

จานวนขดลวดท่ีตอ้ งการต่ออนุกรมกนั ในวงจรและมีแผน่ ปิ ดขา้ งขนาดต่างๆกนั
มีจานวนมากกวา่ ขดลวดต่ออนุกรมอยหู่ น่ึง แต่มสี องแผน่ ใหญ่สุดมีขนาดเท่ากนั
7.1.3 วสั ดุท่ีใชเ้ ป็นแบบควรเป็นไมเ้ น้ือแข็ง ส่วนแผน่ ประกบขา้ งใชว้ สั ดุที่เหมาะสม
7.2 การพนั ขดลวด
7.2.1 ใส่แบบข้ึนรูปลงบนแกนของเครื่องพนั ขดลวด
7.2.2 ใส่ตวั บงั คบั แบบกวดสลกั ยดึ ใหแ้ น่น
7.2.3 เริ่มพนั ลวดโดยใหป้ ลายขา้ งหน่ึงพนั ยดึ กบั แผน่ ประกบขา้ ง
7.2.4 พนั ขดลวดใหไ้ ดจ้ านวนรอบท่ีตอ้ งการเท่ากบั จานวนรอบของเดิมเมอื่ ไดร้ อบครบ
7.2.5 ตามจานวนทาการมดั ดว้ ยดา้ ยเพื่อกนั ลวดคลายตวั
7.2.6 เมื่อไดข้ ดลวดตามจาท่ีตอ้ งการใหถ้ อดแบบพนั ออก
7.3 การเตรียมใส่ขดลวด
7.3.1 วดั มิติต่าง ๆ ของแกนสเตเตอร์
7.3.1.1 วดั เสน้ ผา้ ศูนยก์ ลางภายนอกของแกนสเตเตอร์
7.3.1.2 วดั เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางภายในของแกนสเตเตอร์
7.3.1.3 วดั ความลกึ ของช่องสลอ๊ ตท้งั สองดา้ น
7.3.1.4 วดั ระยะความยาวของแกนสเตเตอร์
7.3.2 วดั มิติต่าง ๆ ของช่องสลอ๊ ต
7.3.2.1 ใชค้ าลิปเปอร์ เวอร์เนียร์ในการวดั โดยตรงหรือ
7.3.2.2 ใชก้ ระดาษแผน่ หนาปิ ดดา้ นหนา้ สลอ๊ ตแลว้ ใชค้ อ้ นตอกกระดาษใหร้ ูปรอย

สลอ็ ตติด บนนกระดาษแลว้ วดั บนกระดาษ
7.3.2.3 ประสานกบั จนท.แผนกมาตรฐาน กองควบคุมคุณภาพ อจปร.อร.มาร่วมตรวจ

สอบช่องสล๊อต
7.3.3 การออกแบบข้นึ รูปขดลวด

7.3.3.1 ไดจ้ ากขดลวดที่คงสภาพของเดิม
7.3.3.2 ไดจ้ ากขดลวดเดิมท่ีวดั ความยาวของ 1 รอบของขดลวด

8. การนาขดลวดลงในช่องสล๊อต
8.1 ตรวจดูการต่อปลายสายของขดลวดถกู ตอ้ งหรือไม่
8.2 กาหนดดา้ นท่ีจะตอ้ งต่อวงจร
8.3 จดั วางกระดาษนาร่องเพอื่ ลงขดลวด
8.4 ลงขดลวดดา้ นลา่ งเรียงกนั ไปจนมีระยะคุมพชี ของขดลวด

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 14/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

8.5 ใชไ้ มห้ รือวสั ดุบางๆจดั เรียงเสน้ ลวดทีละเสน้ อยา่ งเป็นระเบียบ หนา้ 15/21
8.6 ใชก้ ระดาษวางกนั เป็นฉนวนก้นั ช้นั ระหว่างขดลวด
8.7 ลงขดลวดดา้ นบนลงในช่องสลอ๊ ตดว้ ยความระมดั ระวงั อยา่ ใหเ้ กิดการขดู ขีด

กบั ร่องสลอ๊ ต
8.8 พบั กระดาษครอบสลอ๊ ตใส่ขอ้ บนขดลวดดา้ นบน
8.9 ทาการปิ ดปากสลอ๊ ตดว้ ยไมห้ รือแผน่ แบเกอร์ไลท์

9. ทาการต่อวงจรแล้วบดั กรี
- จดั วางปลายสายของขดลวดใหส้ ะดวกและเป็นระเบียบ
- ทาเคร่ืองหมายของตน้ ปลายของขดลวด
9.1 การตรวจสอบการพนั ขดลวดข้นั สุดทา้ ย
9.1.1 ดูขอ้ มูลท่ีบนั ทึกไวก้ ่อนถอดร้ือขดลวด
9.1.2 ดูแบบการต่อวงจรของขดลวด
9.1.3 ต่อวงจรเขา้ ชวั่ คราวเพื่อกาหนดข้วั
9.1.4 ต่อวงจรใหเ้ รียบร้อยถาวรแลว้ ทาการบดั กรี
9.2 การตรวจสอบการลงขดลวดข้นั สุดทา้ ย
9.2.1 ตรวจสอบวงจรวา่ เชื่อมติดต่อกนั โดยตลอดท้งั วงจร
9.2.2 วดั ค่าความตา้ นทานของขอลวดดา้ ยมนั ติมเิ ตอร์
9.2.3 ทาการทดสอบข้วั แมเ่ หลก็ เพอื่ ตรวจว่าการลงขดลวดในสเตเตอร์ถกู ตอ้ งทา
ใหเ้ กิดการหมนุ ของสนามแม่เหลก็ ข้ึนไดห้ รือเปล่าตามวิธีปฏบิ ตั ิของช่าง
รง.ซ่อมเครื่องไฟฟ้าและชุบโลหะ กฟฟ.อจปร.อร.
9.2.4 การทดสอบความตา้ นทานของฉนวนโดยใชเ้ มกเกอร์โอหม์ ตอ้ งอ่านค่า
ความตา้ นทานต้งั แต่ 1 M Ω ข้ึนไป
9.2.5 การต่อวงจรโดยถาวร โดยเชื่อมต่อปลายสายต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอก
โดยการบดั กรี

10 พนั ผ้าหวั ท้ายเกบ็ งาน
10.1 ทาการพนั ผา้ แถบใยแกว้ รอบขดลวดท้งั สองดา้ น
10.2 ตรวจสอบวงจรวดั ค่าความตา้ นทานและค่าฉนวนของขดลวดพร้อมท่ีจะทาการ
ชุบน้ายา

11 ตรวจสอบส่วนต่าง ๆ ของโรเตอร์
11.1 โรเตอร์แบบกรงกระรอกจะไมม่ กี ารพนั ขดลวดตวั นา
11.2 ขดลวดตวั นาของโรเตอร์จะถกู ฉีดไวใ้ นแกนเหลก็ ที่เซาะเป็นร่องซ่ึงส่วนมากจะ
ใชอ้ ลูมเิ นียมเป็นตวั นา

ผลิต 1 ก.ย..47

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

11.3 ทาการต่อตวั นาหวั ทา้ ยดว้ ยอลมู เิ นียมเช่นกนั บางชนิดกใ็ ชท้ องแดงเป็นตวั นาแลว้ แต่
การผลติ ของผสู้ ร้าง

11.4 โรเตอร์ส่วนมากจะไม่ค่อยเสียแต่ก็มบี า้ งซ่ึงบางคร้ังเราอาจสงั เกตเห็นดว้ ยตาเปลา่
ไดโ้ ดยอาจมีรอยแตกหรือรอยร้าวตามบริเวณหวั หรือทา้ ยของรอยต่อของตวั นา

12. การตรวจสอบโรเตอร์
12.1 โดยการนาโรเตอร์ข้ึนวางบนกราวเลอร์แลว้ ทาการหมนุ ตวั โรเตอร์ไปรอบๆโดย
สงั เกตุค่าของกระแสแอมเิ ตอร์ที่ต่อไวใ้ นวงจรของกราวเลอร์
12.2 โรเตอร์ที่ดีจะมคี ่ากระแสคงที่ในขณะท่ีหมุนโรเตอร์ไปรอบๆ
12.3 โรเตอร์ที่ดีจะไมเ่ กิดความร้อนท่ีตวั โรเตอร์ขณะอยบู่ นกราวเลอร์

13. การซ่อมทาโรเตอร์ ( ในกรณที โี่ รเตอร์เสีย )
13.1 ทาการไสร่องสลอ๊ ตโรเตอร์ตามแนวตวั นาเก่า
13.2 ทาตวั นาข้ึนมาใหมโ่ ดยใชแ้ ผน่ ทองแดงซ่ึงมีขนาดเท่าร่องสลอ๊ ตที่ไสมาใส่ลงใน
ร่องสลอ๊ ตโดยใหม้ ีความยาวเลยปากสลอ๊ ตเลก็ นอ้ ย
13.4 ทาการต่อตวั นาท่ีลงใหม่ดว้ ยการประสานเงินท้งั สองดา้ น
13.5 ส่งโรเตอร์ท่ีทาการซ่อมทาเสร็จแลว้ ไปหาบาลานซ์

14 วธิ กี ารปฏบิ ตั กิ ารชุบนา้ ยาเคลือบฉนวน ในการชุบนา้ ยาเคลอื บฉนวนมวี ธิ กี ารเคลอื บ 2 วธิ ีคือ
- วธิ ีเคลือบแหง้ ดว้ ยอากาศ
- วิธีเคลือบแหง้ ดว้ ยการอบความร้อน
14.1 วิธีเคลอื บแหง้ ดว้ ยอากาศ ในการเคลือบแหง้ ดว้ ยอากาศน้ี ใชส้ าหรับงาน พนั ขดลวดใหม่
เชน่ การเคลือบขดลวด สเตเตอร์ และโรเตอร์ของมอเตอร์ โดยมขี ้นั ตอนในการเคลอื บดงั น้ี
14.1.1 นาสเตเตอร์ท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนเขา้ ตูอ้ บความร้อนเพื่อไล่ระบบความช้ืน
14.1.2 ปล่อยสเตเตอร์ท่ีตอ้ งการเคลือบน้ายาวานิชใหเ้ ยน็
14.1.3 นาสเตเตอร์ที่ตอ้ งการเคลือบน้ายาวานิช วางในถาดเคลอื บ
14.1.4 ใชน้ ้ายาวานิชชนิดแหง้ ดว้ ยอากาศเคลอื บสเตเตอร์ใหท้ ว่ั ปล่อยใหน้ ้ายา
วานิชแหง้ ( ประมาณ 24 ชวั่ โมง )
14.1.5 ใชเ้ มกเกอร์โอหม์ วดั ค่าฉนวนของสเตเตอร์ใหไ้ ดต้ ามเกณฑ์
14.1.6 นาสเตเตอร์ที่ผา่ นการตรวจไปประกอบเขา้ ชดุ เคร่ือง
ขอ้ ควรระวงั ในการเคลือบน้ายาชนิดแหง้ ดว้ ยอากาศไมค่ วรนาไปอบความร้อนหลงั จาก
เคลือบน้ายาวานิชแลว้ จะทาใหน้ ้ายาวานิชท่ีเคลอื บ ทาปฏิกิริยากบั ความร้อนทาใหว้ านิช
พองตวั และเป็นฟองอากาศ

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 16/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

14.2 วธิ ีเคลือบแหง้ ดว้ ยการอบความร้อนแบ่งการเคลือบเป็น 2 แบบคือ

- การเคลอื บน้ายาวานิชแบบสูญญากาศ
- การเคลอื บน้ายาวานิชแบบจุ่มชิน้ งานลงในถงั ชุบวานิช
14.2.1 การเคลือบน้ายาวานิชแบบสูญญากาศ ในการเคลือบน้ายาแบบสูญญากาศจะตอ้ งใชถ้ งั
ขนาดใหญ่เท่ากนั จานวน 2 ถงั ถงั ใบที่ 1 เป็นถงั เก็บน้ายาวานิช ถงั ใบที่ 2 เป็นถงั ชุบ ชิ้นงานมเี ครื่องทา
สูญญากาศจานวน 1 เครื่อง ในการชุบน้ายาแบบสูญญากาศ มขี ้นั ตอนการชุบดงั น้ี

14.2.1.1 นาช้ินงานที่ผา่ นการวดั ค่าฉนวนลงในถงั ชุบชิ้นงาน
14.2.1.2 ปิ ดฝาถงั ชุบชิ้นงานเปิ ดลนิ้ วาลว์ ถงั เกบ็ น้ายาปล่อยน้ายาจากถงั เก็บ

ใหน้ ้ายาไหลมาถงั ชุบช้ินงานจนท่วมช้ินงาน
14.2.1.3 ปิ ดล้ินวาลว์ ถงั น้ายาวานิชเดินเคร่ืองสูญญากาศ
14.2.1.4 น้ายาวานิชจะแทรกเขา้ ไปในตวั นาทุกจุด ปลอ่ ยไว้ ประมาณ 30 นาที
14.2.1.5 หยดุ เดินเครื่องเปิ ดลิ้นวาลว์ ถงั เกบ็ น้ายา (อากาศจะเขา้ ไปแทนในถงั ชุบ

ชิ้นงานน้ายาวานิชจะไหลกบั มายงั ที่เดิม)
14.2.1.6 เปิ ดฝาถงั ชุบช้ินงานนาช้ินงานมาอบความร้อน
14.2.1.7 ปิ ดฝาถงั ชุบชิ้นงาน เปิ ดวาลว์ ลน้ิ ลม ดนั น้ายาจากถงั ชุบ

มายงั ถงั เก็บวานิชเดิม จนน้ายาหมดถงั
14.2.1.8 ปิ ดล้ินวาลว์ ถงั เกบ็ น้ายาวานิช น้ายาวานิชจะอยสู่ ภาพเดิม
14.2.1.9 นาช้ินงานที่อบความร้อนจนน้ายาแหง้ มาวดั ค่าฉนวน
14.2.1.10 นาชิ้นงานที่ผา่ นการวดั ค่าฉนวนไปประกอบเขา้ ชุดเครื่อง
หมายเหตุ ในการเคลอื บน้ายาวานิชแบบสูญญากาศจะตอ้ งใชน้ ้ายาวานิชเป็นจานวนมากตาม
ลกั ษณะของถงั ชุบและขนาดของชิ้นงานในการชุบ

14.2.2 การเคลือบน้ายาวานิชแบบจุ่มช้ินงานลงในถงั ชุบวานิช ในการชุบน้ายาแบบน้ีจาเป็น
จะตอ้ งสร้างถงั ชุบน้ายาวานิชข้ึนเองตามขนาดความโตของชิ้นงานท่ีตอ้ งการเคลือบ น้ายาวานิช ในการเคลอื บ
น้ายาวานิชชนิดจุ่มช้ินงานลงในถงั ชุบมีข้นั ตอนดงั น้ี

14.2.2.1 นาช้ินงานท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนไปอบความร้อน พอประมาณ
14.2.2.2 นาชิ้นงานท่ีร้อนพอประมาณจุ่มลงในถงั วานิชจนท่วมช้ินงาน
14.2.2.3 ปล่อยทิ้งไวจ้ นน้ายาแทรกซึมเขา้ ไปในชิ้นงาน
14.2.2.4 นาชิ้นงานออกถงั ชุบ ปล่อยใหน้ ้ายาวานิชไหลออกจากชิ้นงาน
14.2.2.5 นาชิ้นงานเขา้ ตูอ้ บความร้อน อบจนน้ายาวานิชเคลือบแหง้

( ถา้ ตอ้ งการเคลอื บวานิชใหห้ นา นาช้ินงานไปชุบน้ายาวานิชอีกคร้ัง )
14.2.2.6ใชเ้ มกเกอร์โอห์มวดั ค่าฉนวน ( ไม่ต่ากว่า 1 เมกโอหม์ )

14.2.2.7นาช้ินงานท่ีผา่ นการวดั ค่าฉนวนไปประกอบชุดเคร่ือง

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 17/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

14.3 การอบแหง้
14.3.1 อบดว้ ยแสงอนิ ฟาเรดใชห้ ลาย ๆ ดวงส่องไปที่ขดลวดในเตาอบ
14.3.2 อบดว้ ยเตาไฟฟ้า ใส่ขอลวดในเตาไฟฟ้าที่ใหค้ วามรอ้ นสูง
14.3.3 อบแหง้ โดยใชก้ ระแสไฟฟ้าเป็นการผา่ นกระแสไฟฟ้าเขา้ ไปในขดลวดโดยตรงทาใหข้ อลวด

เกิดความร้อนภายในขอลวดเอง
14.4 การตรวจสอบขดลวดและฉนวนข้นั สุดทา้ ย
14.4.1 ประสานกบั จนท.แผนกมาตรฐานควบคุมคุณภาพ อจปร.อร.ร่วมกนั วดั ค่าความตา้ นทาน
ของขดลวดและฉนวน
14.4.2 การจดั ค่าความตา้ นทานของขดลวดและฉนวนตอ้ งวดั ไดไ้ ม่ตา่ กว่า มาตรฐาน(2MΩ)
ถา้ ต่ากว่า ตอ้ งนาขดลวดและฉนวนไปอบต่อจนค่าความตา้ นทานเพ่มิ ข้นึ เกิดค่ามาตรฐาน
14.4.3 ตรวจสอบโดยรวมและนาไปประกอบเขา้ ชุดมอเตอร์ต่อไป

15. เปลย่ี นบอลและทาการประกอบ
15.1 ถอดโดยใชเ้ ครื่องมือที่มเี ฉพาะงานเช่นเหลก็ ดดู สองขาหรือชนิดสามขาตามแต่เฉพาะงาน
15.2.ถอดโดยใชเ้ หลก็ ดูดที่เป็นระบบไฮโดรริกในกรณีที่มคี วามแน่นมากๆ
15.3 การประกอบบอลอาจใชค้ อ้ นหรือไฮโดรริกในการประกอบอย่างใดอย่างหน่ึงแลว้ แต่สภาพของงานน้นั ๆ

16. การประกอบมอเตอร์ ข้นั ตอนต่างๆกลบั กบั การถอดมอเตร์
16.1 ใส่บอลแบร่ิงที่เพลาท้งั สองดา้ น
16.2 ใส่แผน่ บงั ลมดา้ นเพลาขบั ถา้ มี
16.3 ใส่แผน่ ฝาครอบดา้ นเพลาขบั
16.4 ประกอบโรเตอร์เขา้ กบั ฝาครอบ
16.5 นาโรเตอร์ใส่ในสเตเตอร์ระวงั อยา่ ใหข้ ูดกบั ขดลวดใส่สลกั คลมุ ฝาครอบไวก้ บั
สเตเตอร์อยา่ งหลวมๆ
16.6 ใส่ฝาครอบอีกดา้ นใชค้ อ้ นเคาะเบาๆโดยรอบใส่สลกั แลว้ ขนั สลกั ใหแ้ น่นท้งั สองดา้ น
16.7 ตรวจสอบสภาพและทาการทดลอง

ผลิต 1 ก.ย..47 หนา้ 18/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสสลับ (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

17. ทาการทดลอง หนา้ 19/21
17.1 ต่อไฟเขา้ ตามพกิ ดั ของมอเตอร์ท่ีทาการซ่อมทา
17.2 ตรวจสอบกระแสไฟแต่ละเฟสโดยใชแ้ อมมิเตอร์
17.3 ตรวจสอบรอบหมนุ ของมอเตอร์โดยใชเ้ ครื่องมอื วดั รอบ
17.4 ส่งทดสอบโหลดพร้อมอุปกรณ์ประกอบ เช่น พดั น้า และอนื่ เป็นตน้

18. ยกลงประกอบในเรือ
18.1 แจง้ แผนกแรงงานทาการยกมอเตอร์ลงเรือ
18.2 ทาการประกอบมอเตอร์เขา้ แท่น
18.3 แจง้ แผนกท่ีเกยี่ วขอ้ งทาการประกอบอุปกรณ์ร่วม
18.4 ต่อสายไฟเขา้ มอเตอร์
18.5 ทาการทดลอง

ผลิต 1 ก.ย..47

การซ่อมทามอเตอร์กระแสส

ผลิต 1 ก.ย..47

สลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

หนา้ 20/21

การซ่อมทามอเตอร์กระแสส

ผลิต 1 ก.ย..47

สลบั (1 - 50HP ขนึ้ ไป)

หนา้ 21/21


Click to View FlipBook Version