The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ช่างต่อเรือใยแก้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jui643, 2022-04-10 00:20:21

ช่างต่อเรือใยแก้ว

ช่างต่อเรือใยแก้ว

Keywords: ใยแก้ว,ต่อเรือใยแก้ว,ไฟเบอร์,fiber

๔๙

BARCOL HARDNESS CHECKED
CHEMICAL LAB.

๑. GEL TIME
การหา GEL TIME ของ RESIN SYSTEM ( RESIN + CATALYST + PROMOTER )

มีขั้นตอนตางๆ ดงั น้ี
๑. นาํ RESIN ( นํามาจาก SELF SERVICE MACHINE ) ใสห ลอดทดลอง
๒. นําหลอดทดลองไปจมุ ในนา้ํ มันทีก่ าํ ลงั รอ น ( ๑๐๐°C )
๓. จับเวลา และกวนตลอดเวลา
๔. หยุดกวนเม่ือ RESIN เรม่ิ กลายเปน SOFT GEL
๕. อานเวลาที่ไดค อื GEL POINT

GEL TIME จะขน้ึ อยูกับชนิดของ RESIN ปรมิ าณCATALYST และปริมาณPROMOTER

การหา GEL TIME

๕๐

100

90

80 GELTIME CURINGTIME MATURINGTIME

TEMPERATURE ( Celcius ) 70
EXOTHEMIC PEAK

60

50

40

30 GELPOINT
20

10

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 5.5 6

TIME ( hrs )

๒. EXOTHERMIC PEAK
การตรวจสอบคุณสมบัติของ RESIN SYSTEM หาจุด EXOTHERMIC PEAK มี

ขนั้ ตอน ดงั นี้
๑. ผสม RESIN SYSTEM ตามอัตราสวนที่กําหนด (ในท่ีน้ีใช RESIN ๑๐๐ กรัม

CATALYST ๒ กรมั และ PROMOTER ๑.๖ กรมั ) ใสใ นหลอดทดลอง กวนใหเขากนั
๒. นําไปแชใ นน้ําอุน (อุณหภูมิ ๒๕oC) ซ่ึงตอเขากับเคร่ืองมือวัดซ่ึงจะ PLOT กราฟ

ออกมาซง่ึ สามารถอา นคา GEL POINT และ EXOTHERMIC PEAK ได

๓. อตั ราสว น (RATIO)
การหาอัตราสวนของ RESIN : GLASS (R : G) ในแบบ (LAMINATE DRAWING)

จะกําหนดอัตราสวนมาให แผนกควบคุมคุณภาพจะเปนผูควบคุมอัตราสวนนี้ใหเปนไปตามท่ี
กําหนดไว
มีข้นั ตอนดังน้ี

๑. ตดั GRP. จากชน้ิ งานท่ี LAMINATE นําไปใสถ วยนิกเกลิ และชั่งนํ้าหนัก
๒. เผาในเตาอบทอี่ ุณหภมู ิ ๖๕๐oC (ไมเ กนิ ๑๒๐๐oC) จนไมมคี วนั
๓. พลิกช้ิน GRP. อกี ดา น นําเขา เตาเผาอีกคร้งั จนไมม คี วัน
๔.นําไปชั่งนํ้าหนักซ่ึงน้ําหนักท่ีไดเมื่อหักน้ําหนักถวยนิกเกิลก็คือน้ําหนักของใยแกว

(GLASS)
๕. สามารถหาอัตราสว น R : G ไดตามตัวอยาง

๕๑

ตวั อยางการหาอัตราสว น R : G

๑. ช่งั น้ําหนักชน้ิ GRP. ทต่ี ัดมาจากช้ินงาน (น้าํ หนัก R + G)

ได ๓๒.๘๕๐ กรัม

(ไมรวมนํา้ หนกั ถว ยนิกเกิล) = น้ําหนกั กอนเผา (นํา้ หนกั R + G)

๒. ชัง่ นาํ้ หนักหลังเผาได ๑๕.๕๑๔ กรมั = น้ําหนกั ใยแกว

(ไมร วมนาํ้ หนักถวย)

๓. นา้ํ หนัก RESIN = นาํ้ หนกั กอนเผา - นํ้าหนักหลงั เผา

= ๓๒.๘๕๐ กรมั - ๑๕.๕๑๔ กรมั

= ๑๗.๓๓๖ กรมั

๔. อตั ราสวน R : G = น้ําหนัก RESIN / น้าํ หนัก GLASS

= ๑๗.๓๓๖ / ๑๕.๕๑๕

= ๑.๑๑๗

๔. IMPREGNATION RATIO

การตรวจสอบการทํางานของเคร่ือง IMPREGNATOR กอนท่ีจะเร่ิมการ

LAMINATE ในแตล ะครัง้

เรม่ิ งาน พักเครอื่ ง เริ่มงาน เลิกงาน

๐๖๓๐ ๐๙๓๐ ๑๐๐๐ ๑๔๐๐

ตรวจสอบครงั้ ที่ ๑ ทําความสะอาด ตรวจสอบครงั้ ที่ ๒ ทําความสะอาด

มขี ้ันตอนการตรวจสอบดังนี้

๑. ตัดใยแกวท่ีเปยกชุมดวย RESIN จากเครื่อง IMPREGNATOR ขนาด ๑ ตาราง

เมตร

๒. นําไปชั่งน้ําหนัก (นํา้ หนัก R + G)

๓. นําน้ําหนักในขอ ๔.๒ (น้ําหนัก R + G) หักดวยน้ําหนักของใยแกว (นํ้าหนักของ

ใยแกว ทราบไดจ ากชนดิ ของใยแกวนนั้ ๆ (เชน DF 1400 นํา้ หนักใยแกว = ๑,๔๐๐ กรมั ตอ ๑ ตาราง

เมตร) จะไดน ้าํ หนกั ของ RESIN

๔. จะไดอัตราสวน G : R นําไปเปรียบเทียบกับอัตราสวนที่กําหนดไวในแบบ โดย

ปกตอิ ตั ราสวนที่เครอ่ื งจะตอ งต่าํ กวาคาทก่ี าํ หนดไวใ นแบบ

เชน ในแบบกําหนดอัตราสวน G : R = ๑ : ๑.๑๕ ที่เครื่อง PREGNATOR ควรจะมีอัตราสวน G : R

ประมาณ ๑ : (๐.๙ – ๑) เพราะจะตองเผื่อปริมาณ RESIN ที่ตกคาง (EXTRA RESIN) อยูในเคร่ือง

ในขณะ LAMINATE

๕๒

ตวั อยางการทดสอบ
ในแบบ (DRAWING) กาํ หนดอัตราสว น G : R = ๑ : ๑.๕, GLASS TYPE = DF 1400
๑. ตัดใยแกวท่ีเปยกชุมดวย RESIN จากเครื่อง IMPREGNATOR (WETTED GLASS)
ขนาด ๑ ตารางเมตร นําไปชัง่ น้ําหนัก (น้ําหนกั G + R) ได ๒,๘๐๐ กรมั

๒. นํ้าหนกั RESIN = น้าํ หนกั (G + R) – นํา้ หนักใยแกว
๓. ฉะนั้นอตั ราสวน G : R = ๒,๘๐๐ - ๑,๔๐๐ กรัม
= ๑,๔๐๐ กรัม
= น้ําหนกั ใยแกว / นาํ้ หนัก RESIN
= ๑,๔๐๐ / ๑,๔๐๐
= ๑:๑

TECHNOLOGY LAB.
(การทดสอบคุณสมบตั ิทางกล)
ตัด GRP. ของช้ินงานที่ตองการทดสอบขนาด ๑ ตารางเมตร (ไดจากการ LAMINATE
เกินออกไปจากขนาดของช้ินงานจริง) นําไปตัดเปนชิ้นทดสอบ (SPECIMEN) รูปราง และขนาด
ตาง ๆ ตามมาตรฐานของ ASTM. เพ่ือทดสอบคุณสมบัติทางกล (MECHANICAL PROPERTIES)
ตาง ๆ ดังน้ี
๑. FLEXURAL TEST
๒.TENSILE TEST
๓. INTERLAMINAR SHEAR TEST
กอนการทดสอบตาง ๆ จะตองนําช้ินทดสอบไปอบท่ีอุณหภูมิ ๘๐๐C เปนเวลา ๓ ชั่วโมง
เพื่อหลีกเลี่ยงกรณีท่ีชิ้นทดสอบจะอยูในสภาวะกอนการจับตัว (POST CURING) โดยรายละเอียด
การทดสอบตาง ๆ เปน ไปตามมาตรฐาน ASTM.

๕๓

บทที่ ๗
ขอ ควรระมดั ระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน
ชางในแผนก GRP. ท้ังหมดจะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัย
( SAFETY REGULATIONS ) โดยเครงครัด ซ่ึงจะเนนเกี่ยวกับ การใชเครื่องมือ และเคร่ืองใช
( INSTRUMENTS AND TOOLS ) ทจ่ี ะชวยปกปอ งผูป ฏบิ ัติงาน
๑. ระบบสําหรับการดูดสารระเหย ( ORGANIC VAPORS EXTRACTION ) จะตอง
นํามาใชในระหวางการ LAMINATE ในกรณีท่ีไมมีระบบดังกลาวชาง GRP. จะตองสวมหนากาก
ปองกนั สารพษิ ( ANTI - ORGANIC VAPORS MASKS )
๒. ในระหวางกรรมวิธี TRIMMING, การขัด ( SANDING OR EMERY FILLING )
ชา ง GRP. ทกุ นายจะตองใชแวน ตา ( GLASSES ) และหนากากกระดาษ ( PAPER MASKS )
๓. ในระหวาง LAMINATE ชา ง GRP. จะตองสวมถุงมอื ยาง ( RUBBER GLOVES )
๔. ชาง GRP. ทุกคนจะตองสวมหมวกนิรภัย ในระหวางการปฏิบัติงานท่ีตองการความ
ปลอดภัยจากการตกกระแทก
๕. ตอ งสวมรองเทา SAFETY ตลอดเวลา


Click to View FlipBook Version