The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอนช่างเชื่อมไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rattt.001122, 2022-05-13 07:33:17

เอกสารประกอบการสอนช่างเชื่อมไฟฟ้า

เอกสารประกอบการสอนช่างเชื่อมไฟฟ้า

เอกสารประกอบการสอน

เรอื่ ง งานเชอื่ มไฟฟา้ ในทอ้ งถนิ่
กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี

สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4

นายวสันต์ เมืองจนั ทร์
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรยี นพบิ ลู มังสาหาร
อำเภอพบิ ูลมงั สาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
สงั กดั องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอบุ ลราชธานี

กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่
กระทรวงมหาดไทย

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นพิบลู มังสาหาร
สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี : สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ
รายวชิ า(เพิ่มเติม) ง30261 งานเชือ่ มโลหะ เวลา 40 คาบ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาความรทู้ ัว่ ไปเกยี่ วกับงานเชื่อมแกส๊ และเชื่อมไฟฟ้าเบอื้ งต้น ขั้นตอนและวิธีการทำงาน

การเตรยี มวสั ดุและอปุ กรณใ์ นการปฏบิ ตั งิ านเบื้องต้น การเลอื กใช้เคร่ืองมือใหเ้ หมาะสมกับงาน การ
ใชเ้ ครอ่ื งมือให้ถูกต้องและปลอดภยั

ศกึ ษา หลักการทำงาน การวางแผน วิธีทำงาน การแก้ปัญหาทเี่ กิดจากการทำงาน
ฝกึ และปฏบิ ตั กิ ารเชือ่ มแกส๊ งานเช่ือมเดนิ แนวทา่ ราบ และงานเชอื่ มเดินแนวต่อชนทา่ ราบ
ฝึกและปฏบิ ตั กิ ารเชอื่ มไฟฟ้า งานฝึกเรม่ิ ต้นอารค์ งานเช่ือมเดนิ แนวทา่ ราบ และงาน
เชอ่ื มตอ่ ชนท่าราบ และงานเช่อื มต่อชนตัวทีท่าขนานนอน
มีความสนใจ ต้งั ใจ เอาใจใส่ และสนกุ สนานกบั การทำงาน มนี ิสยั รกั การทำงาน ทำงาน
เองโดยไม่รอคำสง่ั แสวงหางานและวิธที ำงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ มคี วามรับผดิ ชอบ ความ
ประหยัด ขยัน อดทน ละเอียดถี่ถว้ น มรี ะเบียบ ซ่อื สัตย์ และพ่ึงตนเองได้ ตามแนวทฤษฎี
เศรษฐกิจพอเพยี ง
เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นเข้าใจทักษะ ประสบการณ์ในการเชื่อมแกส๊ – ไฟฟา้ มคี ุณธรรม จริยธรรมท่ี
ดี มีเจตคติทด่ี ีต่ออาชีพชา่ งเช่ือม และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

ผลการเรียนรู้
1. นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับความหมายความสำคญั ประโยชนก์ ารจำแนก

หลักการเชอื่ มไฟฟา้ -แก๊สเบ้ืองต้น
2. นกั เรียนสามารถเลือกใชเ้ ครอ่ื งมืออุปกรณใ์ นงานเชื่อมไฟฟา้ -แก๊สเบ้ืองตน้ เกบ็ รกั ษา

ซ่อมแซมเครื่องมืออุปกรณไ์ ด้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
3. นักเรยี นเลอื กแนวคดิ งานเชื่อมไฟฟา้ -แก๊สเบ้ืองตน้ จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ ได้อย่างถูกต้อง

เหมาะสม
4. นักเรยี นปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมคี ุณธรรมและมีคณุ ลักษณะท่ีดขี องผู้ประกอบอาชีพงานชา่ ง

นักเรียนรู้และเขา้ ใจ และเห็นคุณค่าการประหยัดพลังงานและอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม
5. นักเรยี นสามารถวิเคราะหข์ ้อมลู เพอ่ื วางแผนการปฏิบัติงานอยา่ งมกี ลยทุ ธ์
6. นกั เรียนสามารถปฏิบัติงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
7. นักเรยี นสามารถเลอื กและประยกุ ต์ใช้ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆในงานเชื่อมไดอ้ ย่าง

เหมาะสม
8. นักเรียนสามารถแก้ปัญหาในงานเชอ่ื มไฟฟา้ -แก๊สเบื้องต้นไดอ้ ย่างเปน็ ระบบและ

สรา้ งสรรค์
9. นกั เรียนมีคุณธรรมในการทำงานอย่างรอบคอบปลอดภัย

10. นกั เรียนสามารถนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นงานเช่ือมไฟฟ้า-แก๊สเบื้องตน้
และการดำรงชวี ติ อย่างเหมาะสม

11. นักเรยี นสามารถพฒั นาปรับปรงุ โครงงานได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
12. นกั เรียนสามารถติดต่อส่ือสาร สืบคน้ ข้อมูลเก่ียวกับงานเชือ่ มไฟฟ้า-แก๊สเบื้องตน้ ได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
13. นักเรียนใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศนำเสนอผลงานไดอ้ ย่างเหมาะสม
14. นักเรยี นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างงานอยา่ งมีจิตสำนึกและรบั ผดิ ชอบ
15. นักเรียนสามารถวางแผนการทำงานการเช่ือมไฟฟา้ -แก๊สเบื้องตน้ ได้อยา่ งมีกลยุทธ์

หลักการ
งานเชอ่ื มเป็นส่วนหนึง่ ของงานกอ่ สรา้ งและงานปรับปรงุ ซอ่ มแซมและงานอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ียวกับ

เหล็ก ไม่วา่ จะเป็นการเช่ือมต่อ การข้ึนรูปส่ิงต่าง ๆ งานเชื่อมจงึ มีความจำเป็นในการสรา้ งความ
เจรญิ ใหก้ บั มนุษย์เรา โดยเฉพาะในยุคโลกาภวิ ัตน์ท่โี ลหะเขา้ มามีบทบาทในงานก่อสรา้ งตา่ ง ๆ

งานเชอ่ื มโลหะด้วยแกส๊ และไฟฟา้ เป็นงานอาชพี ท่สี จุ ริตใช้ความรู้ความสามารถและ
ประสบการณ์ของช่างเชื่อมจึงจะทำใหง้ านเชื่อมประสพผลสำเร็จ การจดั การเรยี นการสอนกลุม่ สาระ
การเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี รายวชิ าเพิ่มเติม เร่อื ง ช่างเช่อื มไฟฟ้าในทอ้ งถ่ินเบื้องตน้ ใน
สถานศกึ ษาจงึ เปน็ การวางรากฐานงานอาชีพให้กบั นักเรยี นทม่ี คี วามสนใจและใฝฝ่ ันอย่างเป็นช่าง
เชอื่ ม นอกจากจะเป็นการฝกึ อาชพี แล้ว รายวิชาเพิม่ เตมิ เร่ือง ชา่ งเชื่อมไฟฟ้าในท้องถิ่น
ง30261 ช่างเชือ่ มโลหะ ยังสามารถฝกึ การทำงานให้กับนักเรยี นให้เป็นคนมีนิสัยรักการทำงาน
ทำงานเองโดยไม่รอคำสัง่ แสวงหางานและวิธที ำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีความรบั ผดิ ชอบ ความ
ประหยัด ขยนั อดทน ละเอยี ดถี่ถ้วน มรี ะเบียบ ซือ่ สตั ย์ และพง่ึ ตนเองได้ ตามแนวทฤษฎี
เศรษฐกิจพอเพียง ซงึ่ เปน็ การสรา้ งนักเรยี นให้เปน็ คนดี มีความรคู้ ู่คุณธรรม สามารถดำเนนิ ชีวติ ใน
อนาคตได้อยา่ งเปน็ สุข

โครงสร้าง
หลกั สตู ร รายวชิ า (เพิม่ เติม) ง30261 ชา่ งเชือ่ มโลหะ กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ

และเทคโนโลยี น้ีไดจ้ ัดประสบการณเ์ พอื่ ให้ผ้เู รียนเกดิ ความรู้ เกดิ ทกั ษะ ประสบการณ์ในการ
ทำงานและมคี ุณลักษณะที่ดใี นการทำงาน เพอ่ื เป็นพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ ซ่งึ มีโครงสร้าง
เนือ้ หา และเวลาเรียน ดงั น้ี

หน่วยที่ สาระการเรยี นรู้ ลกั ษณะ เวลาเรียน
(คาบ)
ปฐมนิเทศและทดสอบก่อนเรียน ทฤษฏี
ทฤษฏี 1
1 บทท่ี 1 การเสรมิ สร้างความปลอดภัย ทฤษฏแี ละปฏิบตั ิ
ทฤษฏีและปฏิบัติ 2
2 บทท่ี 2 งานประกอบและติดตั้งอุปกรณเ์ ชื่อมไฟฟ้า ทฤษฏีและปฏบิ ัติ
บทที่ 3 งานฝกึ เช่อื มเรมิ่ ตน้ อารค์ ทฤษฏีและปฏิบัติ 2
บทที่ 4 งานเชือ่ มเดนิ แนวท่าราบดว้ ยไฟฟ้า ทฤษฏีและปฏบิ ตั ิ 4
บทท่ี 5 งานเชอ่ื มต่อชนท่าราบดว้ ยไฟฟ้า ทฤษฏแี ละปฏบิ ตั ิ 4
บทที่ 6 งานเช่ือมต่อชนตัวทีท่าขนานนอนด้วยไฟฟา้ ทฤษฏีและปฏิบตั ิ 4
ทฤษฏแี ละปฏบิ ัติ 6
3 บทท่ี 7 งานประกอบและติดตัง้ อุปกรณ์เชอื่ มแกส๊ ทฤษฏแี ละปฏบิ ัติ
บทท่ี 8 งานปรบั เปลวไฟและงานสร้างบ่อหลอมละลาย ทฤษฏี 2
บทท่ี 9 งานเชื่อมเดินแนวท่าราบดว้ ยแก๊ส 4
บทที่ 10 งานเชื่อมเดินแนวต่อชนท่าราบดว้ ยแกส๊ 4
6
ทดสอบหลังเรยี น
1

แนวการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผสู้ อนต้องชแี้ จงให้ผูเ้ รียนเห็นถึงสภาพปญั หา ความสำคัญ

และประโยชน์ของการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสตู รนี้
2. การจดั ตารางเวลาเรียนควรยดื หยนุ่ ตามความเหมาะสมตามเน้อื หาที่เรยี นแตล่ ะคร้ัง
3. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยเนน้ กระบวนการกลุ่มซึ่งเป็นคณุ สมบัติทจ่ี ำเปน็ ของการอยู่

รว่ มกันในสังคม
4. จัดใหผ้ ู้เรยี นไดป้ ฏิบัตจิ รงิ จนเกดิ ทกั ษะและความชำนาญและใหม้ ีความขยนั อดทน
5. วสั ดุอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการจัดกจิ กรรม ใหเ้ นน้ ความประหยดั และเลอื กใช้วสั ดุทีเ่ หลอื ใช้หรือ

ท่ไี ดจ้ ากสงิ่ ของท่ชี ำรุด ของเก่าที่เลกิ ใช้
6. ให้ผู้เรยี นมีค่านิยมและเจนคตทิ ดี่ ีในการทำงาน โดยเฉพาะคา่ นยิ มในการอนรุ กั ษ์

สิง่ แวดลอ้ ม มุง่ พฒั นาท้องถิ่นใหเ้ จรญิ
7. จดั เชิญวิทยากรหรือผูป้ ระกอบการทม่ี ีความรูค้ วามสามารถในเน้อื หาของหลักสตู รมาให้

ความรแู้ ละนำผู้เรียนปฏิบตั จิ รงิ
8. มกี ารจัดแสดงผลงานของผเู้ รียนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความภาคภมู ิใจในผลงานของตนเอง

9. การทดสอบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ควรทดสอบโดยใช้ทั้งแบบวัดผลสมั ฤทธิด์ า้ นความรู้
และทกั ษะการปฏบิ ตั งิ าน

การวดั และประเมนิ ผล
ในการวัดผลประเมนิ ผลการจัดการเรยี นร้หู ลักสตู รสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและ

เทคโนโลยี : สาระ เร่อื ง งานเช่ือมไฟฟ้าในท้องถ่นิ รายวิชา (เพมิ่ เตมิ ) ง30261 ชา่ งเชื่อมโลหะ กล่มุ
สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี มีการวัดและประเมินผลดงั นี้

การทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบวัดทง้ั 3 ดา้ น ได้แก่ ด้านความรู้ ทกั ษะ
การปฏบิ ัติงาน และวัดคุณลักษณะในการปฏิบัตงิ าน เพื่อปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ และเพ่ือเป็น
การตดั สนิ ผลการเรียน

การวัดผลประเมินผลเพื่อปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้น้นั ผู้สอนประเมนิ ผลเม่อื สอนจบในแต่
ละบทเรียน ถา้ ผู้เรียนไมส่ ามารถผา่ นผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารสอนซ่อมเสริมและ
ประเมนิ ผลซำ้ อกี คร้ังหนึง่ ควรเน้นใหผ้ ้เู รยี นเป็นสำคญั และปฏบิ ัติเป็นกระบวนการตามผลการเรยี นรู้
ทค่ี าดหวังของแตล่ ะบทเรยี น ส่วนการวดั ผลประเมินผลเพ่ือตดั สนิ ผลการเรียนน้ันให้เลือกประเมิน
เฉพาะผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวังท่สี ำคัญให้ครอบคลุมท้งั ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย ด้านเวลา
เรียน ผ้เู รียนจะต้องมเี วลาเรียนอย่างน้อยรอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทง้ั หมด และผา่ นผลการเรยี นรู้
ที่คาดหวังรอ้ ยละ 85 ของจุดประสงคท์ ั้งหมด เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวดั ผลประเมินผลได้แก่ ข้อ
ทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนก่อนและหลงั การจดั การเรียนรู้ และแบบประเมนิ ผลการ
ปฏิบัตงิ านในทกุ บทเรยี น

คำแนะนำการใชเ้ อกสารประกอบการสอน
รายวิชา (เพิ่มเตมิ ) ง30261 ช่างเช่ือมโลหะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เอกสารเล่มนเ้ี ปน็ เอกสารประกอบการเรียนการสอน สำหรบั ครูผู้สอนและนักเรียนที่เลือก
เรียนรายวิชา งานเช่อื มแก๊ส – ไฟฟา้ เบอ้ื งตน้ กอ่ นการนำไปใชค้ วรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. ครผู สู้ อนต้องศึกษาเอกสารหลักสตู ร สาระเน้อื หา กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล เพื่อวางแผนในการจดั การเรียนรู้

2. ครูผสู้ อนควรมีความรู้และประสบการณ์ในงานเชอื่ มแก๊ส – ไฟฟ้าเบื้องต้นพอที่จะ
ดำเนนิ การเรยี นการสอนได้

3. ควรเชิญวทิ ยากรที่มคี วามรคู้ วามชำนาญในงานเชื่อมแก๊ส – ไฟฟ้ามานำนักเรียนในการ
ปฏบิ ตั งิ าน

4. ให้ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั จิ ริงครบทุกบทเรียน
5. ครผู ้สู อนควรนำแนวทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพยี งมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย
มงุ่ เน้นการประหยัดและคุณธรรมจริยธรรมในการปฏบิ ตั ิงาน
6. การจัดการเรยี นการสอนควรยดึ ความปลอดภยั ในการทำงานเป็นสำคัญ
7. ใช้วสั ดุและอุปกรณ์ท่ีหาได้ในทอ้ งถิน่ หรอื ของเกา่ ท่เี ลิกใชโ้ ดยมุง่ เน้นความปลอดภยั และ
อนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
8. ควรนำผ้เู รียนศกึ ษานอกสถานท่ใี นสถานประกอบการเพ่ือปลูกฝังนิสัยรกั การทำงานและมี
เจนคตทิ ี่ดีต่อการประกอบอาชีพช่างเชอื่ งแก๊ส – ไฟฟา้
9. ควรมกี ารจดั แสดงผลงานเพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ช่ืนชมผลงานของตนเองและวิจารณผ์ ลงานของ
ผอู้ ืน่ เพื่อปรับปรุงแกไ้ ขผลงานให้ดีย่งิ ข้ึน

หน่วยที่ 1
พื้นฐานงานความปลอดภัยในงานเชื่อม

บทที่ 1 การเสริมสรา้ งความปลอดภยั ในงานเชื่อมแก๊สไฟฟา้

บทท่ี 1
การเสริมสร้างความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊สไฟฟา้

สาระสำคัญ
1. ความปลอดภยั ในการทำงานอตุ สาหกรรมถอื วา่ เปน็ ปัจจัยท่ีสำคญั อย่างย่งิ ที่จะนำไปสู่

ความสำเร็จในการดำเนนิ งานอตุ สาหกรรม เพราะความปลอดภัยจะนำไปสู่การเพิม่ ผลผลติ ลดตน้ ทนุ
ลดอุบตั ิภัย เกิดผลกำไรสูงสดุ กอ่ ใหเ้ กดิ คุณภาพชีวติ ทด่ี ีข้ึน

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายเก่ียวกับความปลอดภยั ได้
2. บอกสาเหตุการเกดิ อุบัตเิ หตไุ ด้
3. บอกวธิ กี ารป้องกนั อนั ตรายจากการปฏบิ ัตงิ านเชื่อมแก๊สได้
4. บอกวิธกี ารป้องกันอนั ตรายจากการปฏบิ ตั ิงานเช่ือมไฟฟา้ ได้

เน้อื หา
1. การปฐมนเิ ทศ
2. การเสรมิ สร้างความปลอดภัย
2.1 ความหมายของความปลอดภยั
2.2 สาเหตกุ ารเกดิ อบุ ัตเิ หตุ
2.3 ความปลอดภัยในงานเชือ่ มแก๊ส
2.4 ความปลอดภยั ในงานเชอื่ มไฟฟ้า

1. การปฐมนเิ ทศ
1.1 วชิ างานเชอ่ื มแกส๊ - ไฟฟ้าเบือ้ งต้น ( ง. 40261) เป็นวิชาภาคทฤษฏี และปฏบิ ตั ิ ได้แบ่ง

เนอ้ื หาออกเป็น 3 หน่วยการเรยี น 10 แผนการสอน ใช้เวลาเรยี น 2 คาบตอ่ สปั ดาห์ หรอื เท่ากับ 40
คาบ / ภาคเรยี น หน่วยการเรยี นประกอบด้วย

(1) หน่วยพ้นื ฐานความปลอดภัย
(2) หนว่ ยพื้นฐานงานเชอื่ มแก๊ส
(3) หนว่ ยพ้นื ฐานงานเช่ือมไฟฟา้
1.2 นักเรียนจะต้องมเี วลาเรียนอย่างน้อย 80 เปอร์เซน็ ต์ ของเวลาเรยี นทั้งหมดจึงจะมสี ิทธิ
สอบ ถา้ เวลาเรยี นไม่ครบ 80 เปอร์เซน็ ต์ จะไม่มสี ิทธสิ อบปลายภาค
1.3 คะแนนได้มาจากคะแนนปฏิบัติกิจกรรมระหว่างภาค 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ คะแนนปลายภาค
20 เปอรเ์ ซน็ ต์
1.4 การวดั ผลดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณสมบตั ิอนั พงึ ประสงค์จะต้องผ่านเกณฑ์ ถา้
ไมผ่ า่ นจะต้องแก้ไขปรบั ปรุง

2. การเสรมิ สรา้ งความปลอดภัย
2.1 ความหมายของความปลอดภยั
การเกิดอุบตั ิเหตุในการทำงานแต่ละคร้งั มิใช่เกิดข้นึ จากโชคชะตาหรือเคราะห์กรรมของ

แต่ละบุคคล หากเกิดขึน้ โดยมีสาเหตทุ ่ีชี้ชัดลงไปได้ การเสรมิ สร้างความปลอดภยั ในการทำงานจะ
เกิดข้นึ ได้โดยการแก้ไขป้องกันที่ “สาเหตขุ องอบุ ัติเหตุ” ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมก่อนท่ีจะได้
ศึกษาถงึ สาเหตุของอบุ ัตเิ หตุและการป้องกันต่อไป สมควรท่ีจะได้รับทราบคำจำกดั ความของคำต่าง ๆ
ท่เี ก่ียวข้องกนั ดังน้ี

ภยั (Hazard) เป็นสภาพการณ์ซ่งึ มีแนวโน้มท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ ตอ่ บุคคลหรือความ
เสียหายตอ่ ทรัพยส์ นิ หรอื วัสดหุ รือกระทบกระเทือนต่อขีดความสามรถในการปฏบิ ตั ิงานปกติของ
บคุ คล

อนั ตราย (Danger) หมายถงึ ระดบั ความรนุ แรงทเี่ ป็นผลการตอ่ เน่ืองมาจากภัย (Hazard)
อันตรายจากภัยอาจจะมรี ะดับสงู หรอื มากน้อยก็ได้ ขึน้ อยู่กบั มาตรการ การป้องกนั เช่น การทำงานบน
ทส่ี งู สภาพการณ์เชน่ น้ถี ือไดว้ า่ เป็นภยั ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บถงึ ตายได้หากมกี ารพลัดตกลงมา
ในกรณนี ้ีถือได้ว่ามีอนั ตรายอยู่ในระดับหนึง่ หากแต่อนั ตรายจะลดน้อยลงถ้าผู้ปฏิบัตงิ านใชส้ ายนริ ภยั
ขณะทำงาน เพราะโอกาสของการพลัดตกและก่อให้เกิดการบาดเจ็บจะลดนอ้ ยลง

ความเสียหาย (Demage) เปน็ ความรนุ แรงของการบาดเจ็บหรือความสญู เสยี ทางด้าน
กายภาพ หรือความเสยี หายที่เกิดข้ึนต่อการปฏบิ ัติงาน หรือความเสียหายทางด้านการเงนิ ท่ีเกดิ ขนึ้
เนือ่ งจากขาดการควบคุมภยั

ความปลอดภัย (Safety) โดยปกติทวั่ ๆ ไปหมายถงึ “การปราศจากภัย” ซงึ่ ในทางปฏบิ ัติ
เปน็ ไปไม่ได้จะขจัดภัยทุกชนดิ ให้หมดไปโดยสิน้ เชงิ ความปลอดภัยจงึ ให้รวมถงึ การปราศจากอันตราย
ทม่ี ีโอกาสจะเกิดข้ึนด้วย

อบุ ตั เิ หตุ (Accident) หมายถึงเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้นึ โดยมิได้วางแผนลว่ งหนา้ ซงึ่ ก่อให้เกิดการ
บาดเจบ็ พกิ าร หรือตาย และทำให้ทรัพยส์ นิ ไดร้ บั ความเสยี หาย

สรปุ วา่ ความปลอดภัยหมายถึง การปราศจากอุบตั ภิ ัยอนั ตรายต่าง ๆของบคุ คลและทรัพย์สิน
ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสยี หายหรือไดร้ ับอนั ตรายใด ๆ มคี วามสุขในการทำงาน

2.2 สาเหตกุ ารเกิดอุบัติเหตุ
สาเหตกุ ารเกิดอบุ ตั เิ หตุน้นั สามารถจำแนกได้ดังน้ี
(1) สาเหตจุ ากบคุ คล หมายถงึ การเกดิ อบุ ัตเิ หตุทเี่ กิดจากการกระทำของบคุ คลอาจ

เกดิ จากการกระทำโดยประมาท หรือรเู้ ท่าไม่ถึงการณก์ ็ได้
(2) สาเหตุท่ีเกิดจากสภาพเครื่องจักร หมายถงึ การเกิดอุบัติเหตุทีเ่ กดิ จากสภาพของ

เคร่ืองจักรเช่น เครือ่ งจักรอาจเกดิ จากการชำรดุ เสือ่ มสภาพของอปุ กรณ์ หรือการประกอบตดิ ตง้ั
เคร่อื งจักรที่ไม่ได้มาตรฐาน ขาดการบำรุงรักษาที่ถกู วิธี

(3) สาเหตทุ ่ีเกดิ จากสภาพแวดลอ้ ม หมายถึง การเกิดอุบัตเิ หตุที่เกิดจาก
สภาพแวดล้อมท่ีไม่เอื้อต่อสภาพการทำงานเช่น ฝนตก เกบ็ วสั ดไุ มเ่ ป็นระเบยี บเป็นต้น

2.3 ความปลอดภัยในงานเช่ือมแก๊ส
1. ผู้ปฏิบัตงิ านเชอ่ื มแก๊สตอ้ งสวมชุดปฏบิ ัตงิ านใหเ้ รียบร้อย
2. ชดุ ปฏบิ ตั งิ านต้องปราศจากสารไวไฟ หรือเช้อื เพลิง
3. ผู้ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมแก๊สต้องสวมแว่นตาเช่ือมแก๊สทกุ คร้ัง
4. เลนส์ของแวน่ ตาเชอ่ื มแก๊สตอ้ งมีความสามารถกรองแสงไดเ้ หมาะสม ก่อนจดุ เปลว

ไฟผู้ปฏบิ ัติงานต้องตรวจสอบปริมาณแก๊สท่อี อกมาจากหัวทพิ ไม่ควรมาก หรอื น้อยเกนิ ไป
5. บรเิ วณทีป่ ฏบิ ัติงานต้องไม่มวี ัสดตุ ิดไฟง่าย ถ้าหลีกเล่ียงไม่ไดค้ วรหาวิธีป้องกนั และ

ควรวางแผนอย่างรดั กุม
6. อย่าให้ทอ่ แก๊สเปื้อนน้ำมันหรอื จารบี โดยเฉพาะบริเวณคอขวดและบริเวณปดิ เปดิ แก๊ส

เพราะนำ้ มนั หรือจารบีอาจทำปฏกิ ิริยากับแก๊สที่รั่วซึมออกมาทำให้ลุกติดไฟและระเบดิ ได้
7. ขณะจดุ เปลวไฟหรือปรับเปลวอย่าหนั เปลวไฟไปหาบุคคลอืน่
8. อย่าเปดิ ล้นิ แก๊สเชอื้ เพลิงที่หัวจับเชื่อม (Torch Welding) ทิง้ ไว้ขณะไมไ่ ด้เชื่อมเพราะ

เปน็ การส้นิ เปลืองแก๊สเช้อื เพลิงโดยเปลา่ ประโยชน์
9. เมื่อนักเรียนพบอุปกรณ์เชอื่ มแก๊สชำรดุ ต้องรบี แจง้ ใหค้ รูทราบเพ่ือซ่อมหรือเปลีย่ น

อุปกรณ์ ไม่ควรซอ่ มเองโดยไมไ่ ด้รบั คำแนะนำจากครู
10. อยา่ จุดเปลวไฟที่หวั จบั เชอ่ื ม (Torch Welding) ทงิ้ ไว้โดยไม่มผี ู้ปฏิบัตงิ านเช่ือม
11. อยา่ เช่อื มในบริเวณห้องแคบ ๆ ที่ไมม่ ีอากาศถ่ายเทได้สะดวกอาจขาดออกซิเจนหายใจ

หรอื เกิดการระเบดิ ได้
12. อยา่ ใชม้ ือจับชิน้ งานที่ร้อนหลังการเช่ือม ควรใช้คีมคีบเหลก็ รอ้ นจบั
13. อยา่ จดุ เปลวไฟจากเพ่ือนท่ีกำลงั ปฏิบตั งิ านเช่ือม อาจเกิดอันตรายได้
14. หา้ มหยอกล้อกันขณะทีก่ ำลังปฏบิ ัตงิ านเช่ือมแก๊ส
15. เมื่อปฏบิ ตั งิ านเชอ่ื มตะกว่ั โครเมยี ม แมงกานีส สงั กะสี หรือเหลก็ อาบสังกะสจี ะต้องมี

ระบบป้องกัน หรือมีเคร่ืองดูดควัน หรือมีการถ่ายเทอากาศไดด้ ี

16. ถ้าจำเป็นตอ้ งเชอ่ื มโลหะทบี่ รรจสุ ารติดไฟอยภู่ ายในทอ่ ทบ่ี รรจุ ต้องนำสารติดไฟออก
จากท่อ หรือถังบรรจุใหห้ มด และถ้าไม่ม่ันใจควรเตมิ แก๊สเฉ่ือยเพื่อลดปรมิ าณออกซเิ จนในโลหะเพอ่ื
ปอ้ งกันสารติดไฟ

17. ควรแยกแก็สไวไฟหา่ งจากสารลุกไหม้ เช่น น้ำมัน อย่างน้อย 6 เมตร
18. ระวงั สายแก๊สดึงท่อออกซิเจนและทอ่ แกส็ ลม้
19. ไม่ควรกระแทกทอ่ แก๊สออกซเิ จนแรง ๆ อาจทำให้ทอ่ ออกซิเจนรา้ วและเกิดการระเบดิ
ได้
20. การเคลือ่ นยา้ ยท่อออกซิเจนทุกคร้ังควรมฝี าครอบวาลว์ เพอ่ื ปอ้ งกนั วาล์วชำรุด
21. ถา้ ต้องการตรวจรอยร่ัวต่าง ๆของแก๊ส ควรใช้นำสบ่ตู รวจสอบ หา้ มใชเ้ ปลวไฟ
ตรวจสอบ
22. เม่อื ปฏิบัตงิ านทเ่ี สีย่ งต่อการเกิดอุบัตเิ หตคุ วรไดร้ บั คำแนะนำจากอาจารย์ผ้สู อนก่อน

2.4 ความปลอดภัยในงานเชื่อมไฟฟา้
1. การแตง่ กายสำหรับผู้ปฏิบตั งิ านเชอ่ื มไฟฟ้า ควรสวมเสอ้ื แขนยาว และควรใช้ผ้าท่ีติด

ไฟยาก การสวมใส่เสือ้ แขนยาวเพ่อื ป้องกันแสงและรังสีกระทบกับผวิ หนงั โดยตรง ซงึ่ เม่ือถูกแสงมาก
ๆ อาจทำใหผ้ วิ หนงั ไหมห้ รอื มีอาการปวดร้อนได้ การแต่งกายชา่ งเชือ่ มไฟฟา้ น้ีถือว่าสำคัญมากท่ีช่าง
เชอื่ มทกุ คนจะมองขา้ มไม่ได้เลย

2. ขณะปฏิบัตงิ านเช่ือมไฟฟา้ จะต้องระวงั ไฟฟา้ ดดู สาเหตุเกิดจากอปุ กรณ์ชำรดุ หรอื
บางคร้ังมือหรืออวยั วะร่างกายแตะท้ังสองข้วั พรอ้ มกันทำใหเ้ กิดไฟฟา้ ดดู ได้

3. ในทีเ่ ปียกช้ืนเม่ือจำเป็นต้องปฏบิ ัตงิ านเชอ่ื ม ควรปฏิบตั ิงานดว้ ยความระมัดระวงั
4. จัดหาเคร่อื งดบั เพลิงประจำไว้ในโรงฝึกงานเสมอ และติดตง้ั ไวใ้ นที่หยบิ ใช้ไดโ้ ดยเรว็ เม่อื
เกิดเหตุจำเป็น
5. การปฏิบัตงิ านในโรงฝกึ งานทุกคร้งั จะตอ้ งสวมชุดฝึกงานตามทีโ่ รงฝกึ งานกำหนด และ
สวมรองเท้านิรภยั
6. จดั เกบ็ เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ในโรงฝกึ งานให้เปน็ สดั สว่ น มรี ะเบยี บ หยิบง่าย
7. การปฏิบัตงิ านเชอื่ มไฟฟา้ ทุกครง้ั ต้องสวมหนา้ กาก ไม่ควรสวมแว่นตาชนดิ กรองแสงเพราะ
หนา้ กากป้องกันสะเก็ดไฟความรอ้ น และรังสีได้ดี
8. จัดหาเครื่องดบั เพลงิ ประจำไว้ในโรงฝึกงานเสมอ และติดตงั้ ไวใ้ นที่ ๆ สามารถหยบิ ใช้ได้
รวดเรว็ เมื่อเกิดเหตจุ ำเป็น
9. เมือ่ ตอ่ สายไฟเชอ่ื ม ควรต่อทกุ จุดให้แน่น จากประสบการณ์ท่ีพบ ว่าชา่ งเชอ่ื มสว่ นมากจะ
ชอบเกี่ยวสายไฟจะทำใหร้ อบตอ่ ร้อน กระแสไฟฟา้ เดินไมส่ ะดวก
10. เม่อื เชื่อมชิ้นงานเสร็จใหม่ ๆชิ้นงานจะร้อน ไม่ควรใช้มือจบั โดยตรง ควรใชค้ มี คีบเหล็ก
รอ้ นจับช้นิ งาน
11. การปฏิบตั งิ านเช่อื มทใ่ี กลว้ สั ดทุ ่ีตดิ ไฟง่าย ควรมีระบบป้องกัน หรือควรมีเพ่ือนรว่ ม
ปฏบิ ตั งิ านด้วย เพ่อื สังเกตการณป์ ฏิบตั งิ าน เพราะเม่ือผปู้ ฏิบัติงานเชื่อมแลว้ จะไม่สามารถสังเกตรอบ
ทิศการปฏบิ ัติงานได้ เม่ือเกิดไฟไหม้ขนึ้ จะได้ชว่ ยกนั ดับไฟไดท้ ัน

12. การปฏิบตั งิ านเชอ่ื มทไ่ี ม่ใชเ่ หล็ก เช่น สังกะสี โลหะผสมทีม่ ีแคดเมียม ทองแดง เหล็กท่มี ี
ออกไซด์ ควรมอี ุปกรณป์ ้องกันด้วย หรอื ปฏบิ ตั ิงานเชื่อมท่ีโล่งท่ีมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก

แบบทดสอบท้ายบทเรียน

เรือ่ ง การเสริมสรา้ งความปลอดภยั

คำชี้แจง จงทำเคร่ืองหมายกากบาท ( X ) ข้อที่ถกู ต้องท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว

1. วิชาเช่ือมและโลหะแผ่นมีก่ีหนว่ ย 6. ถุงมือหนงั สำหรับงานเชอ่ื มแก็สทำมาจากอะไร

ก. 1 หนว่ ยกติ ข. 2 หนว่ ยกติ ก. ผา้ ไนลอนท์ ข. ผ้าฝ้าย

ค. 3 หน่วยกติ ง. 4 หนว่ ยกิต ค. หนงั สตั ว์ ง. ยางพารา

2. ถา้ นกั เรียนมเี วลาเรยี นนอ้ ยกวา่ 80 % 7. เส้อื คลุมหนงั สวมใส่เพื่อป้องกันอะไร

นักเรยี นจะมีผลการเรียนอยา่ งไร ก. รังส,ี ความรอ้ น

ก. มส. ข. ขส. ข. สะเกด็ ไฟ,เปลวไฟ

ค. ขร. ง. มผ. ค. เปลวไฟ,ความรอ้ น

3. ขอ้ ใดมิใชค่ วามปลอดภัยในงานโลหะแผ่น ง. ความรอ้ น,สะเกด็ ไฟ

ก. จะเคลื่อนยา้ ยวสั ดจุ ะต้องสวมถงุ มือทุกคร้ัง 8. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้อง

ข. สวมหนา้ กากทุกครง้ั เม่ือปฏบิ ตั ิงาน ก. จบั ชิ้นงานเช่ือมขณะยงั รอ้ น ตอ้ งใช้คมี คบ

ค. การใช้เคร่อื งตดั ต้องระวังน้วิ มอื จับ

ง. เมอื่ ตดั ชน้ิ งานเสร็จอยา่ เอามือลูบรอยตดั ข. อย่าเชื่อมใกล้วัสดุไวไฟ

4. เมื่อเคลือ่ นยา้ ยวสั ดุโลหะแผน่ ขอ้ ใดกล่าว ค. ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมไฟฟ้าทุกครัง้ ไม้ตอ้ งสวม

ถูกต้อง หนา้ กากเชื่อมไฟฟ้าก็ได้

ก. สวมถุงมือทกุ ครั้งท่ยี กโลหะแผน่ ง. ปฏิบตั งิ านเชื่อมไฟฟา้ ต้องสวมถงุ มอื ,เสือ้

ข. สวมแว่นตาทุกครง้ั ท่ียกโลหะแผน่ หนงั ทุกครง้ั

ค. ยกโลหะแผ่นบาง นำ้ หนักเบานดิ เดยี ว ไม่ 9. ขอ้ ใดมิใช่หน้าทข่ี องหน้ากากเช่ือมไฟฟา้

ต้องสวมถงุ มอื ก็ได้ ก. ปอ้ งกันสะเก็ดไฟ

ง. สวมหมวกนิรภัยทุกครัง้ ท่ยี กโลหะแผ่น ข. ปอ้ งกนั รังสี

5. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้อง ค. ปอ้ งกนั ความร้อน

ก.ไม่สวมแวน่ ตาเชอื่ มแก็สขณะปฏิบัติงาน ง. ป้องกันเสียง

ข. ผู้ปฏบิ ตั งิ านเช่ือมแก็สตอ้ งสวมแวน่ ตา 10. วิชางานเชอื่ มและโลหะแผน่ เบื้องตน้ ใชเ้ วลา

ค. บรเิ วณปฏิบัตงิ านตอ้ งไม่มสี ารไวไฟอยู่ใกล้ เรียนอาทติ ย์ละกี่ชัว่ โมง

ๆ ก. 1 ชว่ั โมง ข. 2 ชว่ั โมง

ง. ไม่หยอกล้อกนั ในขณะปฏบิ ตั ิงานเชือ่ ม ค. 3 ชวั่ โมง ง. 4 ช่ัวโมง

แบบเฉลยแบบทดสอบทา้ ยบทเรียน
1ข
2ค
3ข
4ก
5ก
6ค
7ง
8ค
9ค
10 ง

หนว่ ยที่ 2
งานเช่อื มไฟฟา้ ในท้องถิ่น

บทท่ี 2 งานประกอบและติดตง้ั อุปกรณ์เชื่อมไฟฟา้
บทท่ี 3 งานฝึกเร่ิมต้นอาร์ค
บทที่ 4 งานเช่ือมเดินแนวทา่ ราบด้วยไฟฟ้า
บทที่ 5 งานเชื่อมต่อชนท่าราบด้วยไฟฟ้า
บทท่ี 6 งานเชื่อมต่อชนตัวทที ่าขนานนอนดว้ ยไฟฟา้

บทท่ี 2
งานประกอบและติดต้งั อุปกรณ์เช่อื มไฟฟ้า
สาระสำคัญ
การเชือ่ มไฟฟา้ เปน็ กระบวนการเช่อื มท่ีได้รบั ความนิยมและแพร่หลายในปัจจุบนั การเชื่อม
ไฟฟา้ สามารถเชอ่ื มไดท้ ้ังโลหะที่เป็นเหล็ก และดลหะไมใ่ ช่เหล็ก สำหรบั คุณภาพของผู้ปฏบิ ัตงิ าน
เช่ือม คณุ ภาพเคร่ืองเชื่อม คุณภาพลวดเชอื่ ม คณุ ภาพวิธีการและเทคนิคการเช่อื ม ย่อมมี
อทิ ธิพลต่อประสิทธิภาพของแนวเช่ือม

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธบิ ายความหมายของกระบวนการเช่ือมไฟฟ้าได้
2. อธิบายอทิ ธพิ ลกระแสไฟฟ้าสำหรบั งานเช่อื มไฟฟา้ ได้
3. บอกช่ือเครื่องมือและอปุ กรณ์สำหรับงานเชื่อมไฟฟ้าได้
4. บอกหน้าทเี่ ครอื่ งมือและอุปกรณ์สำหรับงานเชือ่ มไฟฟ้าได้
5. บอกประเภทของเครื่องเช่ือมไฟฟ้าได้
6. ปฏบิ ตั งิ านประกอบและติดต้ังอปุ กรณเ์ ชือ่ มไฟฟ้าได้

เนอื้ หา
1. หลักการเชือ่ มไฟฟา้
2. เครอื่ งมือและอุปกรณ์งานเช่ือมไฟฟา้
3. ปฏบิ ตั ิงานประกอบและติดตัง้ อุปกรณ์เช่อื มไฟฟา้
- ใบงานท่ี 6 งานประกอบและตดิ ต้งั อปุ กรณเ์ ช่อื มไฟฟ้า

หลกั การเชอื่ มไฟฟ้า
การเช่อื มไฟฟ้า (Arc Welding) การเชื่อมโลหะด้วยฟา้ มีมานานแล้ว โดยใชส้ ำหรบั การ

เชื่อมซ่อมแซมชิ้นส่วนโลหะทีช่ ำรุดหรือประกอบชนิ้ สว่ นเข้าดว้ ยกนั ซง่ึ ระยะแรกนั้นคณุ ภาพแนว
เชื่อมยงั ไม่ดนี กั ปจั จบุ ันเทคโนโลยีการเชอื่ มได้กา้ วหน้าไปมาก มีการปรบั ปรุงทง้ั ด้านกลวธิ ีการเชอ่ื ม
และคณุ ภาพของรอยเช่ือม นอกจากน้นั ยังมีการคิดค้นขบวนการเช่ือมไฟฟ้าท่ีแปลกใหม่มากมาย
อาทิเชน่ การเชอื่ มแบบมิก การเชื่อมแบบทิก การเชื่อมแบบใตฟ้ ลั๊กซ์ และอน่ื ๆ

ความหมายของการเชื่อมโลหะ
การเชือ่ มโลหะ (Welding) หมายถงึ ขบวนการท่ใี ช้ในการต่อโลหะให้ติดกนั โดยการให้

ความรอ้ นแก่บริเวณเช่ือมจนโลหะหลอมละลายประสานเป็นเน้อื เดยี วกนั โดยใชเ้ นอ้ื ของโลหะท่จี ะ
นำมาเชอื่ มต่อประสานกันโดยตรงหรอื อาจจะใชล้ วดเช่อื มเติมก็ได้

ขบวนการเช่ือมไฟฟา้ ท่ีจะกลา่ วถึงตอ่ ไปน้ีคือ การเช่อื มไฟฟ้าดว้ ยลวดเชื่อมมฟี ลั๊กซ์ หรือ
เรยี กวา่ การเช่ือมด้วยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลก๊ั ซ์ ซง่ึ เปน็ กระบวนการเช่ือมท่ใี ชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลาย เน่ืองจาก
ตน้ ทุนต่ำ งานทเี่ ช่ือมดว้ ยกระบวนการนไี้ ดแ้ ก่ ท่อสง่ แก็ส ท่อสง่ น้ำมนั งานโครงสรา้ ง งานชา่ งกล
เกษตร และอนื่ ๆ ข้อดขี องขบวนการเชือ่ มน้ีคือ สามารถเช่ือมได้ท้งั โลหะท่ีเป็นเหล็ก และโลหะที่
ไมใ่ ชเ่ หล็กที่มีความหนาตั้งแต่ 1.2 มม. ข้นึ ไป และสามารถเช่อื มไดท้ ุกทา่ เชอื่ ม

หลักการเชอ่ื มไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุม้ ฟลัก๊ ซ์

รูปที่ 6.1 การเช่ือมไฟฟ้าดว้ ยลวดเชื่อมหุม้ ฟลกั๊ ซ์

การเชื่อมโลหะดว้ ยลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลั๊กซ์ คอื กรรมวิธกี ารต่อโลหะให้ตดิ กนั ซ่ึงไดร้ บั ความร้อน
จากการอารค์ ระหว่างลวดเช่ือมไฟฟ้า (Electrode) กบั ช้ินงาน ความร้อนทีเ่ กิดจากการอาร์คสงู
ประมาณ 3,316 องศาเซนเซียส เพือ่ หลอมโลหะใหต้ ดิ กัน โดยโลหะแกนลวดเช่ือมทำหนา้ ท่เี ป็น
ตัวนำกระแสไฟฟ้าและละลายเปน็ เน้อื โลหะเดยี วกัน สว่ นฟลกั๊ ซท์ ่หี ุ้มลวดเชอ่ื มจะไดร้ ับความร้อนและ
หลอมละลายปกคลมุ รอยเช่อื มเอาไว้เพื่อป้องกันอากาศภายนอกเข้ามาทำปฏกิ ิริยากบั รอยเช่ือม
พร้อมทั้งช่วยลดอัตราการเย็นตวั ของรอยเชอ่ื มอกี ดว้ ย เม่ือเยน็ ตวั แล้วฟล๊กั ซจ์ ะแขง็ และเปราะเหมือน
แก้วเรียกวา่ “สแลก” (Slag)

รูปท่ี 6.2 ลวดเชื่อมหุ้มฟลัก๊ ซ์ (Shield Metal Arc Welding)

1. การเชือ่ มไฟฟ้าด้วยลวดเช่อื มหุ้มฟลกั๊ ซ์ (Shield Metal Arc Welding)
1.1 การเช่ือมด้วยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลั๊กซ์ (Shield Metal Arc Welding) ในกระบวนการ

เชอ่ื มไฟฟ้าหุม้ ฟลั๊กซ์ นนั้ จะใช้ความรอ้ นจากการอาร์คหลอมละลายชน้ิ งาน และปลาวของลวดเช่อื ม
เป็นแนวเช่ือม บริเวณบอ่ หลอมละลายนนั้ จะมีก๊าซปกคลุม (Gas Shield) ซ่งึ เกดิ จากฟลก๊ั ซท์ ่ีหลอม
ละลายปอ้ งกันไม่ให้ก๊าซออกซิเจน และก๊าซไนโตรเจนในอากาศเข้าไปทำปฏกิ ริ ิยากับโลหะหลอม
ละลาย และควบคุมการอาร์ค ฟลัก๊ ซ์ทหี่ ลอมละลายจะลอยข้ึนมาปกคลุมแนวเชอ่ื มไว้เรียกว่า
“สแลก” (Slag)

โลหะที่สามารถเชื่อมไฟฟ้าดว้ ยกระบวนการน้ีมหี ลายชนิดเช่น เหลก็ เหนยี ว เหลก็ หล่อ
สแตนเลส เหล็กผสมตำ่ ฯลฯ

1.2 กระแสไฟเชื่อม (Welding Current) กระแสไฟท่ีใช้ในการเชื่อมไฟฟ้ามี 2 ชนิดคอื
1. กระแสไฟฟ้าสลับ (Alternating Current ; AC)
2. กระแสไฟฟ้าตรง (Directing Current ; DC)

กระแสไฟฟา้ สลบั (Alternating Current ; AC) ในการเชือ่ มไฟฟ้าน้ัน เครอื่ งเชื่อมไฟฟ้า
จะเป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้าสลับ ซง่ึ กระแสไฟจะมีทศิ ทางการเคลื่อนท่ีสลบั กันเปน็ คล่ืน โดยใน 1
ไซเคลิ (Cycle) จะมกี ระแสไหลผา่ น 0 (ศูนย)์ จำนวน 2 ครงั้ ผ่านคลื่นบวก (+) 1 ครั้ง และคล่นื ลบ (-
) 1 ครั้ง โดยในชว่ งคลื่นบวกอิเล็คตรอนจะไหลไปในทศิ ทางหน่ึง และในชว่ งคล่ืนลบ (-) อเิ ลค็ ตรอน
จะไหลไปในทิศทางตรงกันข้ามกับท่ีไหลในชว่ งคลน่ื บวก ปกติกระแสจะมีความถี่ 50 ไซเคิล ซ่ึง
หมายความว่าใน 1 วนิ าที กระแสจะไหล 50 รอบ

กระแสไฟฟ้าตรง (Directing Current ; DC) กระแสไฟเชื่อมชนิดกระแสตรง เป็นกระแส
ที่มีอเิ ล็คตรอนเคล่อื นที่ในทศิ ทางตามยาวของตวั นำในทิศทางเดยี วกนั เทา่ น้นั การเคลือ่ นทขี่ อง
อเิ ล็คตรอนเหมือนกับการเคลื่อนที่ของนำ้ ประปาภายในทอ่ กระแสไฟฟ้าตรงจะไหลจากข้วั หน่ึงไป
ตลอด โดยไม่มีการเปลีย่ นแปลงขว้ั

ชนิดของแรงเคลอื่ น (Type Of Voltage)

1. แรงเคล่ือนวงจรเปิด (Open Circuit Voltage) แรงเคลือ่ นวงจรเปดิ จะวัดได้เมื่อเครื่อง
เชื่อมเปดิ แตไ่ ม่มีการอาร์ค ซ่งึ จะมีค่าคงที่ เม่อื เปิดเคร่ืองเชอ่ื มเพื่อจะทำการเชื่อม สามารถอ่าน
คา่ แรงเคล่ือนได้ทีห่ น้าปดั ของโวลต์มเิ ตอร์ ซึ่งแรงเคลื่อนน้ีจะเป็นแรงเคล่อื นวงจรเปิดทีเ่ กดิ ข้ึน
ระหว่างข้วั ของเครื่องเชอ่ื ม เคร่อื งเชื่อมมาตรฐานควรมีแรงเคลือ่ นวงจรเปิดประมาณ 70 - 80
โวลตถ์ า้ นอ้ ยกว่าน้จี ะทำใหก้ ารเรมิ่ ตน้ อาร์คช้า แต่ถา้ มากกว่านอี้ าจเกิดอนั ตรายต่อผปู้ ฏบิ ตั งิ านได้

2. แรงเคลือ่ นอารค์ (Arc Voltage) แรงเคล่อื นวงจรเปิดจะเปลีย่ นเปน็ แรงเคล่อื นอาร์ค
เมื่อการอาร์คเกิดข้ึน โดยทแ่ี รงเคล่ือนอาร์คจะขน้ึ อยกู่ ับชนิดของลวดเชื่อม และระยะอาร์ค เช่น
ระยะอาร์คลดลง กระแสไฟจะเพิ่มขึน้ แตแ่ รงเคลอื่ นจะลดลง และระยะอาร์คเพ่ิมข้นึ กระแสไฟจะ
ลดลง แต่แรงเคล่อื นอาร์คจะเพิ่มข้นึ

เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นกระบวนการเช่ือมไฟฟา้
ในการเช่อื มไฟฟา้ จะมีเครื่องมือและอปุ กรณ์ที่จำเปน็ ตอ้ งใชอ้ ยู่หลายอยา่ งดว้ ยกนั สามารถ

แบ่งออกได้ดังน้ี
1. อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการป้องกัน (Protective Equipment)
2. เครือ่ งมือและอุปกรณท์ ี่ใช้ในการเชือ่ ม (Welding Equipment)
1. อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการป้องกัน (Protective Equipment)ในการปฏบิ ัติการเช่ือมไฟฟ้า

จำเป็นทจ่ี ะต้องมีอุปกรณช์ ่วยปอ้ งกนั อนั ตราย ดังนี้
1.1 หนา้ กากเชอื่ มไฟฟ้า (Welding Helmet) เป็นลกั ษณะโลก่ ำบังสะเก็ดไฟ แสงสว่าง

จา้ และรงั สีที่มีอันตรายต่อผิวหนงั และตา ทำจากวสั ดทุ สี่ ามารถทนความรอ้ น และไม่เกิดการลกุ
ไหม้เมื่อถูกสะเก็ดไฟ ด้านหน้ามชี ่องสเ่ี หลีย่ มไว้ใส่กระจกกรองแสง หนา้ กากเชื่อมโดยท่ัวไปแบง่
ออกเป็น 2 แบบ คือหน้ากากเชอื่ มแบบมือถือ และหน้ากากเช่ือมแบบสวมศรีษะ

หน้ากากเชือ่ มแบบมือถือ หน้ากากเชื่อมแบบสวมศรีษะ

รปู ท่ี 6.3 แสดงหนา้ กากเช่ือมไฟฟ้า

กระจกกรองแสง (Filter Lens) เป็นกระจกสีเขยี วหรือน้ำเงนิ สามารถดูดซับรังสี
อลั ตราไวโอเลต และรังสีอนิ ฟาเรดไดป้ ระมาณ 99.5 - 99.75 % ขนาดของกระจกกรองแสงคือ
50 X 108 มม. สำหรับความเขม้ ของกระจกกรองแสงนั้น สามารถเลอื กใช้ตามขนาดของลวดเชื่อม
และกระบวนการเช่อื มแต่ละประเภทดังน้ี

การเชื่อมด้วยลวดเชอ่ื มหุ้มฟลั๊กซน์ ้ันจะใช้กระจกกรองแสงเบอร์ 10 - 14 เมอ่ื ใช้ขนาด
ลวดเชอื่ มเส้นผ่าศูนยก์ ลาง 3 - 10 มม.

การเชอื่ มทกิ (T I G) ใช้กระจกกรองแสงเบอร์ 11 - 12
การเชือ่ มมกิ (MIG) ใชก้ ระจกกรองแสงเบอร์ 11 - 12
การเช่อื มแบบคาร์บอนด์ (Carbon Arc Welding) ใชก้ ระจกกรองแสงเบอร์ 14
1.2 แวน่ ตากันสแลก (Goggles) เปน้ แวน่ ตาท่ใี ช้สวมเพ่อื ป้องกันอันตรายจากประกายไฟ
และสแลกท่ีเกาะ พร้อมท้ังสามารถลดความเข้มของรังสใี ห้อยใู่ นขนาดทเ่ี หมาะสม

รูปท่ี 6.4 แวน่ ตากนั สแลก (Goggles)
1.3 ถงุ มอื (Leather Welding Gloves) จะใชใ้ นการป้องกนั ความร้อนและรังสีจากการ
อาร์คท่จี ะทำอนั ตรายต่อผวิ หนงั

รปู ที่ 6.5 ถงุ มือหนงั (Leather Welding Gloves)

2. เคร่อื งมือและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในกระบวนการเชื่อมไฟฟา้ ในกระบวนการเชอื่ มไฟฟ้าเชอ่ื ม
ไฟฟ้าจะต้องมเี ครื่องมือและอุปกรณอ์ ันจำเปน็ ทใี่ ชใ้ นการเชื่อม สามารถพจิ ารณาไดด้ ังต่อไปนี้

2.1 เครอ่ื งเช่อื มไฟฟ้า (Welding Machine) คอื อปุ กรณท์ ท่ี ำหนา้ ท่เี ป็นแหลง่ ต้น
กำเนิดพลังงานจากกระแสไฟฟ้าสำหลบั การเช่อื ม ปัจจุบนั เคร่อื งเชอื่ มไฟฟา้ ได้พัฒนาให้มี
ประสิทธภิ าพสูงขึ้น มีประสทิ ธภิ าพการเชื่อมท่ตี อ่ เน่ือง 100 มขี นาดเลก็ และน้ำหนักเบา ดังนั้นผู้
ไช้เครอ่ื งเชื่อมต้องเลือกให้เหมาะสม กบั การนำไปใช้งาน เราสามารถแบ่งประเภทของเครอ่ื งเช่ือมได้
2 ประเภทดงั น้ี

1) เครอื่ งเชอื่ มไฟฟา้ แบบหม้อแปลง (welding transformers)
2) เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้าแบบเจนเนอเรเตอร์(Welding Generator)
1) เครอ่ื งเช่ือมแบบหม้อแปลง ประกอบดว้ ย
1.1 เครอ่ื งเช่ือมไฟฟ้าแบบหมอ้ แปลงกระแสสลบั นยิ มใช้ทัว่ ไปเนอื่ งจากราคาถูก
สามารถจา่ ยกระแสไฟเช่อื มไดเ้ ฉพาะไฟกระแสสลบั (AC) ทำใหม้ ีข้อจำกัดในด้านการเช่ือมโลหะ
บางประเภท เชน่ ไมส่ ามารถเชอ่ื มอะลูมิเนียมได้ หลกั การของเครอ่ื งเชื่อมชนดิ นี้จะเหมือนกบั หมอ้
แปลงไฟฟ้าคือ จะมีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นเขา้ ทางขดลวดปฐมภมู ิ และผ่านออกทางขดลวดทตุ ยิ ภมู ิ
ทำให้เกดิ สนามแม่เหล็ก การปรับกระแสไฟเช่ือมโดยการหมนุ ปรับขดลวด

รูปท่ี 6.6 เคร่ืองเช่ือมไฟฟ้าแบบหม้อแปลงกระแสสลับ
1.2 เครอื่ งเช่ือมไฟฟ้าแบบหม้อแปลงมีเครือ่ งเรียงกระแส หลกั การทำงานของเคร่อื ง
เชือ่ มไฟฟ้าชนิดน้ี จะเหมือนแบบหมอ้ แปลงไฟฟ้าแตไ่ ม่สามารถแปลงกระแสไฟฟา้ กระแสสลับ (AC)
เป็นกระแสตรง (DC) ได้โดยใชเ้ รคติไฟเออ(Rectifier)สามารถเช่อื มโลหะได้หลายชนิด

รปู ท่ี 6.7 เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้าแบบหม้อแปลงมเี คร่อื งเรยี งกระแส

1.3 เคร่ืองเช่ือมไฟฟ้าแบบอินเวอรเ์ ตอร์ เป็นเคร่ืองเช่อื มทมี่ หี ลักการทำงานมชี ดุ เรียง
กระแส แลงกระแส A C เปน็ D C มชี ดุ ควบคุม Welding Refectifier With Inverter แปลง

ไฟฟ้า D C เปน็ A C แปลงความถส่ี ูง 5 กิโลเฮริ ต์ ถึง 25 กิโลเฮริ ต์ และมชี ดุ เรียงกระแส กรอง
กระเสให้เรยี บและแปลงกระแสไฟกลบั เปน็ D C เครอ่ื งเช่ือมจงึ มีขนาดเลก็ น้ำหนกั เบา มี
ประสทิ ธภิ าพการเชื่อมสงู ประหยัดกระแสไฟฟ้า สามารถเคลอื่ นย้ายสะดวก

รปู ท่ี 6.8 เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบอนิ เวอร์เตอร์
2.2 หัวจบั ลวดเช่ือม (Electrod Holder) ใชจ้ ับลวดเชือ่ ม และเปน็ มือถือขณะทำการ
เชอ่ื มพร้อมทั้งเปน็ ตวั นำกระแสไฟฟ้าจากสายเช่ือมผ่านไปสู่ลวดเช่อื ม

รูปที่ 6.9 หัวจับลวดเช่ือม (Electrode Holder)
2.3 สายเชื่อม (Cable) ทำหนา้ ทใี่ หก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่านจากเครื่องเชอ่ื มไปสู่บริเวณ
อารค์ เพ่ือให้ครบวงจรในการปฏบิ ตั ิงาน สายเช่อื มมอี ยู่ด้วยกัน 2 สายคอื

- สายเชื่อม (Electrode Cable) จะตอ่ เขา้ กบั หัวจับลวดเชือ่ ม
- สายดนิ (Ground Cable) จะตอ่ เข้ากบั คมี จับสายดนิ (Ground Clamp)

รูปท่ี 6.10 สายไฟเชอื่ ม (Cable)

2.4 ข้อตอ่ สายเช่ือม (Cable Connectors) ใชใ้ นการต่อสายดนิ และสายเชื่อม เข้ากบั
เครอื่ งเชื่อม หรือใช้สำหรับต่อสายเชื่อมเมอ่ื ต้องการเพิ่มความยาวในการใช้ข้อต่อสายเชื่อมหรอื
อุปกรณ์ต่อสายเชื่อมทุก ๆ จุดจะต้องต่อให้แนน่ เพราะถ้าขอ้ ต่อหลวมจะทำใหเ้ กิดความต้านทาน
ไฟฟา้ และความร้อนข้นึ ซง่ึ อาจจะเป็นอันตรายต่อสายเชื่อมและอุปกรณ์อน่ื ๆ ซงึ่ จะมผี ลตอ่ การเชอ่ื ม
ได้

รูปท่ี 6.11 ข้อต่อสายเช่ือม (Cable Connectors)
2.5 อปุ กรณ์ตอ่ สายดินกบั ชิ้นงาน (Ground Connectors) ทำหน้าทใี่ หก้ ระแสไฟฟา้
ไหลจากเคร่ืองเชอ่ื มไปสชู่ น้ิ งาน จงึ เปน็ ตวั นำไฟฟ้า และจับยึดชิ้นงานไดอ้ ย่างม่ันคง ดงั นน้ั บรเิ วณท่ี
อปุ กรณ์ตอ่ สายดินจับยดึ จะต้องสะอาด และใหก้ ระแสไฟไหลผา่ นไดส้ ะดวก

รปู ที่ 6.12 อปุ กรณ์ต่อสายดนิ กับชิ้นงาน
2.6 คีมจับช้นิ งาน (Pliers) เป็นคีมทม่ี ีด้ามยาวจะใชเ้ ม่ือตอ้ งการเคล่อื นย้ายหรอื นำ
ชน้ิ งานมาประกอบกันขณะช้ินงานยงั ร้อน

รูปที่ 6.13 คีมคีบจบั ชิ้นงาน (Pliers)
2.7 อปุ กรณ์ทำความสะอาดช้นิ งาน (Cleaning Tool) ไดแ้ ก่

2.7.1 แปรงลวด (Brush) ใช้ทำความสะอาดแนวเช่อื ม ขัดสนมิ และขัดทำความ
สะอาดรอยเช่อื ม

รปู ท่ี 1.15 แปรงลวด (Brush)

2.7.2 ค้อนเคาะสแลก (Chipping Hammer) ใช้สำหรับเคาะสแลกรอยเช่อื ม

รปู ท่ี 1.16 ค้อนเคาะสแลก (Chipping Hammer)
สรปุ ท้ายบทเรียน

การเช่ือมด้วยลวดเชอ่ื มหุ้มฟล๊ักซ์ เปน็ การเช่อื มที่ได้รับความนยิ มเปน้ อย่างมาก สามารถ
เชอ่ื มโลหะไดเ้ กอื บทุกชนิด วธิ กี ารเชื่อมกระทำไดโ้ ดยง่ายไมย่ ุ่งยาก เครื่องมืออปุ กรณ์มีอยู่ทว่ั ไปจะมี
ให้เลือกใช้ได้หลายชนิด ขนึ้ อยู่กบั ลักษณะของงานแต่ละประเภท ดงั นี้

1. เคร่ืองมือมาตรฐานสำหรับใช้ในการเชื่อมไฟฟ้าที่สำคญั ประกอบด้วย เคร่ืองเช่ือม สาย
เช่อื ม หัวจับลวดเชอ่ื ม ลวดเช่อื ม และชนิ้ งานที่ใช้สำหรบั เช่อื ม

2. อุปกรณป์ ้องกันอันตราย ได้แก่ หน้ากาก ถงุ มือหนัง
3. อปุ กรณ์ทำความสะอาด ได้แก่ แปรงลวด และค้อนเคาะสแลก

ปฏบิ ัตงิ านประกอบและตดิ ตั้งอุปกรณ์เช่ือมไฟฟ้า
- ใบงานท่ี 6. งานประกอบและตดิ ตง้ั อปุ กรณเ์ ช่อื มไฟฟ้า

ใบงานที่ 6 หนว่ ยท่ี 3

อุตสาหกรรม วิชา ง. 40261 งานเชอื่ มแกส๊ - ไฟฟ้าเบือ้ งตน้ สอนครัง้ ที่ 6
พ.ม. ชื่องาน งานประกอบและติดต้งั อุปกรณเ์ ชื่อมไฟฟา้ จำนวน 4 ชั่วโมง

จุดประสงค์การเรยี นการสอน รายการสอน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

1. จัดเตรียมเคร่อื งมอื และอุปกรณง์ าน 1. งานประกอบ และตดิ ต้งั สายเชอื่ ม หวั จับ

เชอ่ื มได้ ลวดเชอื่ ม

2. บอกช่อื เคร่ืองมอื และอุปกรณส์ ำหรบั 2. เปดิ - ปดิ และปรับกระแสไฟฟ้าเชือ่ มได้

งานเชอ่ื มไฟฟา้ ได้

3. สามารถเปดิ - ปดิ และปรบั

กระแสไฟฟา้ เชอ่ื มได้

4. ปฏบิ ตั ิงานได้ถูกต้อง และปลอดภยั

รปู ที่ 6.14 งานประกอบและตดิ ตัง้ อปุ กรณเ์ ช่ือมไฟฟา้

เคร่อื งมือ / อุปกรณ์ ข้อควรระวงั

1. เครอ่ื งเชอ่ื มไฟฟา้ AC และ DC 1. การตอ่ สายเชอื่ มตามข้อตอ่ ต่าง ๆ ต้องต่อ

2. สายเชอื่ ม สายดนิ หัวจับลวดเชอ่ื มไฟฟา้ ใหแ้ นน่ เพอ่ื ป้องกันการเกิดความร้อน

3. คมี คบี จับชิ้นงาน 2. อยา่ ปรบั กระแสไฟขณะทำการเชือ่ ม

4. แปรงลวด 3. ควรตรวจดูใหแ้ น่ใจวา่ สายดนิ และหวั เชอ่ื ม

5. คอ้ นเคาะสแลก ไมอ่ ารค์ ก่อนเปดิ เคร่อื งเชือ่ มทำงาน

6. ถุงมอื หนัง เสือ้ หนงั

7. หนา้ กากเชอ่ื มไฟฟ้า

ลำดบั ขั้นตอนการทำงาน

1. จดั เตรยี มเคร่ืองมือ และอปุ กรณ์

2. ประกอบสายเช่ือมเขา้ กับหัวจับลวดเช่อื มและติดตงั้ สายเช่อื มเข้ากบั เคร่ืองเชื่อมไฟฟา้

3. ประกอบสายดินและติดตง้ั สายดนิ กบั เคร่ืองเชื่อมไฟฟา้

4. ฝกึ ปฏบิ ัตเิ ปิด - ปดิ เคร่ืองเช่ือม และปรบั ตั้งกระแสไฟ

การประเมนิ ผล
1. การสังเกตข้นั ตอนการปฏิบัติงาน
2. ตรวจผลการปฏิบัตงิ าน

เลขที่

ชือ่ - สกุล แบบประเมินการปฏิบัติงานใบงานที่ 6
เร่อื ง งานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์เช่ือมไฟฟ้า
1 2 2 2 2 1 10 การเตรียมเคร่ืองมอื

บอกชอ่ื เครอื่ งมือและหน้าที่ ผลการ
ประเมนิ
อธิบายวธิ ีการปรบั กระแสไฟ
เกชาอ่ื รมเปิด - ปิด และปรบั
กกราระปแสระไฟกเอชบ่ืออมุปกรณ์

ความปลอดภัย

รวม

ผ่าน

ไม่ผ่าน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการปฏบิ ตั งิ านใบงานที่ 6

เรื่อง งานประกอบและตดิ ต้ังอปุ กรณเ์ ชื่อมไฟฟา้

การเตรยี มเคร่ืองมือ

1. เตรียมเคร่ืองมือครบถว้ นและถูกต้อง 1 คะแนน

บอกชื่อเคร่ืองมอื และหนา้ ที่ คะแนน
คะแนน
1. บอกชอ่ื และหนา้ ท่เี คร่ืองมือได้ถกู ต้องครบถว้ น 1.5
คะแนน
2. บอกช่ือและหน้าท่ีเครื่องมือไม่ถกู ต้องบางสว่ น 0.5 คะแนน

อธบิ ายวิธกี ารปรับกระแสไฟฟา้ เช่อื ม คะแนน
คะแนน
1. อธิบายวิธกี ารปรบั กระแสไฟฟา้ เชื่อมได้ถูกต้องครบถ้วน 1.5
คะแนน
2. อธิบายวิธกี ารปรับกระแสไฟฟา้ เชอื่ มได้ถูกต้องเพยี ง 0.5 คะแนน

บางสว่ น คะแนน
คะแนน
การเปิด - ปิด และปรับกระแสไฟฟา้ เช่อื ม

1. การเปดิ - ปดิ และปรับกระแสไฟฟ้าเชอ่ื มได้ถูกต้อง 2

2. การเปิด - ปิด และปรับกระแสไฟฟา้ เช่อื มไม่ถูกตอ้ ง 0

การประกอบอุปกรณ์

1. ประกอบอปุ กรณ์เชอ่ื มไฟฟา้ ได้ถูกต้องครบถ้วน 2

2. ประกอบอุปกรณ์เช่ือมไฟฟา้ ไม่ถกู ตอ้ งและไม่ครบถว้ น 0

ความปลอดภัย

1. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความปลอดภยั 1

2. ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภยั ไมถ่ ูกวธิ ี 0

แบทดสอบหลงั บทเรียน
เรอ่ื ง งานประกอบและติดตั้งอปุ กรณ์เช่อื มไฟฟา้
คำช้ีแจง จงทำเคร่อื งหมายกากบาท ( X ) ข้อทถี่ กู ต้องท่ีสดุ เพียงขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้อง 5. กระแสไฟเชือ่ มมีดว้ ยกนั 2 ชนิด ข้อใดกลา่ ว

ก. อย่าเชอ่ื มใกล้วัสดุไวไฟ ถกู ต้อง

ข. จบั ชน้ิ งานรอ้ นหลังการเช่ือมต้องใชค้ ีมคีบ ก . กระสลับและกระแสโคง้

จบั ชิน้ งาน ข. กระสลับและกระแสตรง

ค. ปฏิบตั งิ านเช่อื มไฟฟา้ ทุกครงั้ ไมต่ ้องสวม ค. กระแสลบและกระบวก

หน้ากากเช่อื มไฟฟ้าก็ได้ ง. กระแสตรงและกระแสลบ

ง. ปฏบิ ัติงานเชอ่ื มไฟฟา้ ต้องสวมถงุ มือ เสื้อ 6. เครื่องเช่อื มทีม่ ี Duty cycle 60 % แสดงวา่

หนงั ทกุ ครง้ั เคร่อื งเช่ือมนั้นมีประสทิ ธภิ าพเป็นอย่างไร

2. ขอ้ ใดมิใชห่ น้าทีข่ องหนา้ กากเชอื่ มไฟฟา้ ก. ทำงานต่อเนอื่ งได้ 4 นาที

ก. ป้องกนั เสยี ง ข. ป้องกนั รงั สี ข. ทำงานตอ่ เนอ่ื งได้ 4 นาที หยดุ พกั 6 นาที

ค. ป้องกนั สะเก็ดไฟ ค. ทำงานต่อเนอื่ งได้ 6 นาที หยุดพัก 4 นาที

ง. ปอ้ งกันความรอ้ น ง. ทำงานต่อเนอื่ งได้ 40 นาที หยุดพัก 60

3. ระบบไฟฟ้าแรงตำ่ โดยท่ัวไปมี 2 ระบบ นาที

อะไรบ้าง 7. ขอ้ ใดมิใชอ่ ปุ กรณ์ป้องกันสำหรับงานเช่อื ม

ก. ระบบ1เฟส2สาย,ระบบ3เฟส4สาย ไฟฟา้

ข. ระบบ1เฟส3สาย,ระบบ3เฟส3สาย ก. ถงุ มอื หนัง

ค. ระบบ2เฟส2สาย,ระบบ3เฟส3สาย ข. คอ้ นเคาะเหล็ก

ง. ระบบ2เฟส3สาย,ระบบ3เฟส4สาย ค. รองเทา้ หวั เหล็ก

4. ถา้ เครอ่ื งเชื่อมทีน่ ักเรยี นซื้อมาจะใช้ไฟระดับ ง. หนา้ กากเชอ่ื มไฟฟ้า

แรงดนั 380 โวลต์ 3 เฟส นักเรยี นจะมีวิธกี ารต่อ 8. เคร่ืองเช่ือมไฟฟา้ แบบอนิ เวอร์เตอร์มีลักษณะ

สายไฟอย่างไร เด่นเปน็ อย่างไร

ก. ตอ่ สาย N 3 เสน้ ก. มีประสทิ ธภิ าพการเชอื่ มตำ่

ข. ตอ่ สายทม่ี ไี ฟทัง้ 3 เสน้ คอื L1,L2,L3 ข. นำ้ หนกั เบามีประสทิ ธภิ าพการเช่ือมสงู

ค. ต่อสายทม่ี เี พียงเฟสเดยี ว ค. น้ำหนักเบามปี ระสิทธิภาพการเช่ือมสงู

ง. ต่อสาย N 1 เสน้ และอีก 2 สายตอ่ กับสาย ง. ไมเ่ หมาะสำหรับงานเคลอ่ื นยา้ ยบ่อย ๆ

ทมี่ ีไฟ

9. ขอ้ ใดมิใชอ่ ปุ กรณ์งานเช่ือมไฟฟ้า 10. เครือ่ งเชื่อมกระแสตรง ขับเคลอื่ นด้วย
ก. สายเช่ือมไฟฟ้า มอเตอรห์ รอื เครื่องยนตเ์ ปน็ เครื่องเช่ือมแบบใด
ข. หัวจับลวดเชอื่ ม
ค. ค้อนเคาะเหล็ก ก. เครื่องเชอ่ื มอินเวอรเ์ ตอร์
ง. ประแจเลอ่ื น ข. เครอ่ื งเชอ่ื มแบบเจนเนอเรเตอร์
ค. เครอ่ื งเช่อื มแบบหม้อแปลงกระแสสลบั
ง. เครื่องเชอ่ื มแบบมีเครอ่ื งเสียงกระแส

แบบเฉลยแบบทดสอบหลังบทเรยี น
เรอื่ ง งานประกอบและติดตั้งอปุ กรณ์เชอื่ มไฟฟ้า

1ค
2ก
3ก
4ข
5ข
6ค
7ค
8ข
9ง
10 ข

บทที่ 3
งานฝกึ เชื่อมเร่ิมตน้ อาร์ค

สาระสำคญั
การฝกึ เร่ิมตน้ อารค์ ด้วยลวดเช่ือมหมุ้ ฟล๊ักซ์ เปน็ เทคนิคการฝึกอยา่ งหนง่ึ สำหรับผู้เริ่มฝึกหดั

เชือ่ มไฟฟ้า ถ้ามีเทคนคิ การเร่ิมตน้ อาร์คดี และมีเทคนคิ การควบคมุ แนวเชอ่ื มดี จะเป็นปัจจัยการ
นำไปสู่คณุ ภาพแนวเชอ่ื มทด่ี ี การรจู้ กั วิธกี ารเลอื กใช้ลวดเชือ่ มนำมาซึง่ ประสทิ ธภิ าพการเชื่อมโลหะ

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกชนิดของลวดเชอื่ มไฟฟ้าได้
2. บอกส่วนประกอบของฟลก๊ั ซแ์ ละหน้าทขี่ องฟลก๊ั ซ์ได้
3. จำแนกประเภทของลวดเชือ่ มได้
4. บอกมาตรฐานของลวดเช่ือมได้
5. บอกวธิ กี ารเลอื กลวดเชอ่ื มได้
6. ปฏิบัติงานฝกึ เชอื่ มเร่ิมต้นอารค์ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและปลอดภัย
7. ปรับกระแสไฟฟ้าได้
8. ควบคุมระยะอาร์คได้
9. ควบคมุ มมุ ลวดเชื่อมได้

เน้ือหา.
1. วสั ดลุ วดเชอื่ มไฟฟ้า
2. ปฏิบตั ิงานฝกึ เชื่อมเร่ิมต้นอาร์ค
3. งานฝกึ เช่อื มเร่มิ ตน้ อาร์ค

วสั ดลุ วดเชื่อมไฟฟา้
1. ลวดเช่ือมไฟฟา้ (Electrodes) ลวดเชอื่ มไฟฟ้าน้ีจะทำหนา้ ทเ่ี ป็นตัวอารค์ กับโลหะทำ

ให้เกิดความร้อนสูงจนกระทัง่ โลหะงานหลอมละลาย ในขณะเดยี วกนั ตวั มันเองกจ็ ะหลอมละลาย
และจะเติมลงบนเน้ือโลหะเช่ือม และเมอื่ เย็นตวั ลงจะแข็งตัวกลายเป็นแนวเชอื่ มเพือ่ ให้ไดแ้ นวเชอ่ื มที่
แข็งแรง เน้ือโลหะรวมตวั เป็นเน้ือเดยี วกนั กับลวดเชือ่ มและโลหะงาน ลวดเชอ่ื มที่จะนำมาเชอ่ื ม
จะต้องเปน็ โลหะชนดิ เดียวกับโลหะงาน ลวดเชอ่ื มไฟฟา้ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื

(1) ลวดเชือ่ มไฟฟ้าชนดิ เปลอื ย (Bare Electrode)
(2) ลวดเช่ือมไฟฟ้าชนิดหุ้มฟลก๊ั ซ์ (Flux Covered Electorde)
1. ลวดเชื่อมเปลือย (Bare Electrode) ลวดเชอ่ื มเปลือยจะเป็นแกนเหล็กซ่งึ ไม่มีฟลก๊ั ซ์
หมุ้ เปน็ ลวดเชอ่ื มท่นี ยิ มใชก้ ับกระบวนการเช่ือมขั้นสูง ที่ต้องการแกส็ ปกป้องแนวเชือ่ มในขณะเช่อื ม
โลหะ ซง่ึ กระบวนการเชื่อมด้วยลวดเชอื่ มเปลอื ยไดแ้ ก่ กระบวนการเชือ่ ม GTAW (TIG), GMAW
(MIG / MAG), FCAW เปน็ ตน้

รปู ที่ 7.1 แสดงลวดเชื่อมเปลือย (Bare Electrode)
2. ลวดเชื่อมไฟฟ้าหุ้มฟลกั๊ ซ์ (Flux Covered Electrode) ลวดเชอื่ มของขบวนการ
เช่อื มไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลัก๊ ซ์ ลวดเช่อื มท่ีใชจ้ ะเป็นลวดเชอื่ มหมุ้ ฟล๊ักซ์สำหรบั เชื่อมดว้ ยมือมี
ลักษณะเปน็ เสน้ หรือเป็นแท่ง มขี นาดความยาวแกนลวดเชอื่ มดังน้ี 200, 250, 300, 350, 400,
450, 500 600 และ 700 มิลลเิ มตร มีขนาดความโตของแกนลวดเชอื่ มซ่งึ วดั เปน็ เสน้ ผ่าศูนย์กลาง
ของลวดเชอ่ื มดงั นี้ 2, 2.5, 3.2, 4, 5, 6, และ 8 มิลลเิ มตร ลวดเช่อื มหุม้ ฟล๊ักซโ์ ดยทวั่ ไป
ประกอบด้วยส่วนสำคญั 2 ส่วนคือ (1) แกนลวดเชอ่ื ม (2) ฟล๊ักซ์หรือสารพอกหุ้ม

รูปที่ 7.2 แสดงลวดเชอ่ื มไฟฟา้ หุ้มฟลั๊กซ์ (Flux Covered Electrode)

รปู ที่ 7.3 โครงสร้างของลวดเช่อื มหุ้มฟล๊ักซ์
2.1 แกนลวดเช่ือม สำหรบั แกนลวดเชือ่ มทำจากโลหะชนิดตา่ ง ๆ จำแนกไดด้ ังนี้
เหลก็ กลา้ (Mild Steel) เหลก็ กลา้ ผสมต่ำ (Low Alloy Steel) เหลก็ กล้าโครเมียมนิกเกิล
(Nickel Chrome Steel) อลูมิเนียม, บรอนซต์ ะกัว่ บรอนซฟ์ อสฟอรสั
2.2 ฟล๊ักซ์ (Flux) ฟลัก๊ ซ์ท่ใี ช้หุ้มแกนลวดเชื่อมประกอบดว้ ยแรธ่ าตหุ ลายชนดิ ด้วยกัน
เชน่ ใยแรเ่ ฟลดส์ ปาร์ (Feldspar) สเตททลิ (Steatite) ไทเทเนียมไดออกไซด์ (Titanium
Dioxide)
แคลเซยี มคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) และอลูมนิ า ส่วนวสั ดทุ ่ที ำใหเ้ กดิ แก็สคารบ์ อนไฮ
เดรต ประกอบด้วยกระดาษ ฝา้ ย ขเ้ี ล่อื ย เซลลโู ลส
หน้าทขี่ องฟลัก๊ ซ์ เม่ือมีการเช่ือมเกดิ ข้ึน ฟลกั๊ ซท์ ี่ใช้พอกหมุ้ ลวดเช่ือมจะหลอมละลาย
พรอ้ มกบั ลวดเชื่อมและทำหน้าทดี่ งั นี้
(1) ชว่ ยใหเ้ กดิ ระบบการอาร์คที่ดี

1.1 การอาร์คเรยี บสม่ำเสมอ
1.2 จุดประกายการอาร์คได้งา่ ยขนึ้
1.3 ช่วยใหค้ ุณสมบัตกิ ารเช่ือมดีข้ึน
(2) ช่วยในการสรา้ งสแลก
2.1 ช่วยใหห้ ยดนำ้ โลหะดีขึน้
2.2 ชว่ ยปอ้ งกันออกซิเจนในอากาศเข้ารวมตวั กับแนวเชอ่ื มขณะท่ีกำลังเชือ่ ม
2.3 ช่วยปกคลุมแนวเชอ่ื มเพ่ือไมใ่ ห้แนวเชื่อมเยน็ ตวั เรว็ เกินไป
2.4 ช่วยใหเ้ กิดเกลด็ แนวเชือ่ มที่เรยี บและมีผิวมัน
2.5 ช่วยดึงส่งิ สกปรกในบ่อหลอมละลายขึ้นมารวมตัวกนั เป็นสแลก
(3) ชว่ ยในการสร้างแกส็ ป้องกนั บอ่ หลอมละลาย
3.1 ได้จากสารออรแ์ กนิค
3.2 ไดจ้ ากสารตาร์บอเนต
(4) ชว่ ยเตมิ และรักษาสมบัติของธาตทุ ่ีผสมอยู่ และชว่ ยให้แนวเช่อื มมีสมบตั ิตามต้องการ
คุณสมบตั ขิ องฟล๊ักซ์ทีด่ ี
1. มคี วามถว่ งจำเพาะตำ่ เพื่อใหส้ ามารถลอยตัวข้นึ มาจากน้ำโลหะเหลวได้
2. จะต้องมีอุณหภูมิการหลอมละลายเมื่อเกิดการอาร์ค
3. เม่ือหลอมละลายจะเกิดกลมุ่ ควนั ซึง่ เป็นแกส็ ชนดิ หนึง่ เพ่อื ป้องกนั และขบั ไลแ่ กส็ จาก
ภายนอกไมใ่ หเ้ ข้าไปทำใหเ้ กิดผลเสียต่อแนวเช่ือม
4. ต้องหุ้มแกนลวดได้แน่น ไม่แตกหรือหหลุดจากแกนลวดไดง้ า่ ย

1.3 หลกั การเลือกลวดเชื่อมไฟฟา้

การเลือกลวดเชอ่ื มไฟฟ้าเหมาะสมกบั งานท่ีจะเช่อื มเป็นส่ิงที่สำคัญมาก โดยปกตแิ ล้ว

รอยตอ่ เชื่อมทด่ี จี ะข้นึ อยูก่ ับการเลือกใชล้ วดเช่อื มทเ่ี หมาะสม หลกั การเลอื กใช้ลวดเชื่อมท่ีจะต้อง

พจิ ารณาตามองค์ประกอบต่อไปน้ี

(1) กระบวนการเช่อื ม (2) ชนิดของโลหะงาน

(3) สมบัตทิ างกลทีต่ ้องการ (4) สมบัตทิ างเคมี

(5) ตำแหนง่ การเช่อื ม (6) ความหนาของชน้ิ งาน

(7) ตำแหน่งทา่ เชื่อม (8) ชนิดกระแสไฟเชือ่ ม

สรุปทา้ ยหน่วย
ลวดเชื่อมไฟฟ้านจี้ ะทำหนา้ ทเี่ ป็นตวั อาร์คกบั โลหะ ทำใหเ้ กิดความรอ้ นสูงจนกระทงั่ โลหะ

งานหลอมละลาย ในขณะเดียวกนั ตวั มนั เองกจ็ ะหลอมละลายและเตมิ ลงบนเนื้อโลหะเชอ่ื ม เม่ือเย็น
ลงจะแข็งตัวกลายเป็นแนวเชือ่ มเพื่อให้ได้แนวเชื่อมทีแ่ ข็งแรง เนือ้ โลหะรวมตัวเปน็ เนอื้ เดยี วกนั ลวด
เชือ่ มและโลหะงานทีจ่ ะนำมาเชือ่ มจะต้องเปน็ โลหะชนดิ เดียวกับลวดเชอ่ื มไฟฟา้ แบ่งออกเป็น 2
ชนิดดงั น้คี อื (1) ลวดเชื่อมชนิดเปลือย (Bare Electrode) (2) ลวดเชื่อมชนดิ ห้มุ ฟลั๊กซ์ (Flux
covered Electrode)

ปฏบิ ตั งิ านฝกึ เชอื่ มเรม่ิ ต้นอาร์ค
- ใบงานที่ 7 งานฝกึ เชื่อมเริ่มตน้ อาร์ค

ใบงานท่ี 7 หน่วยท่ี 3

อตุ สาหกรรม วชิ า งานเช่ือมไฟฟ้าเบ้อื งตน้ สอนครงั้ ที่ 7
พ.ม. ชือ่ งาน งานฝกึ เช่ือมเร่ิมตน้ อาร์ค
จำนวน 6

ชว่ั โมง

จุดประสงค์การเรยี นการสอน รายการสอน

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. เพือ่ ปรบั กระแสไฟฟา้ ได้ 1. การปฏิบัตงิ านฝึกเรม่ิ ตน้ อารค์ ด้วยลวด

2. ปฏิบัติการอาร์คช่วงสั้น ๆ ได้ เช่ือมหมุ้ ฟลกั๊ ซ์

3. ควบคมุ ระยะอาร์คได้ 2. ความปลอดภัยระหว่างการปฏบิ ัติงาน

4. ควบคมุ มมุ ลวดเช่อื มได้ เช่ือม

5. ปฏิบัตงิ านดว้ ยความปลอดภยั

รปู ท่ี 7.4 งานฝึกเชื่อมเริ่มต้นอาร์ค

เครื่องมือ / อุปกรณ์ วสั ดุ

1. เครอ่ื งเช่อื มไฟฟ้า AC และ DC 1. เหล็กแผน่ ขนาด 100 X 100 X 9
2. สายเช่อื ม, สายดิน, หวั จบั ลวดเชื่อมไฟฟา้ มิลลิเมตร
3. คมี คีบจบั ช้นิ งานร้อน
4. แปรงลวด 2. ลวดเช่ือมไฟฟ้าขนาด 2.6 มิลลิเมตร
5. คอ้ นเคาะสแลก
6. ถงุ มือหนัง เสอ้ื หนัง ข้อควรระวัง
7. หน้ากากเชือ่ มไฟฟา้ 1. เชอ่ื มทุกครงั้ ต้องปดิ หนา้ กากกันแสงก่อน
เกิดการอาร์ค หา้ มแสงเชื่อมเข้าตาโดยเดด็ ขาด
2. ระวงั ชน้ิ งานร้อน ตอ้ งสวมถุงมอื ทกุ คร้งั
และใชค้ ีมคีบจับเหล็กร้อนเสมอ
3. ควบคมุ ระยะอาร์ค ความเรว็ และมมุ
ของลวดเช่ือมใหพ้ อเหมาะ

ลำดับขั้นตอนการทำงาน

1. เตรยี มเครื่องมือ อุปกรณ์ วสั ดุ
2. ร่างแบบโดยใช้เหลก็ ขีด และตอกนำศูนย์ให้เป็นรอย

รปู ท่ี 7.5 แสดงการตอกนำศูนยใ์ ห้เป็นรอย

3. ปฏบิ ัติงานเช่อื มเร่ิมต้นอาร์คดว้ ยลวดเชือ่ มหมุ้ ฟล๊ักซ์ โดยการเช่อื มเป็นชว่ งสั้น ๆ

รูปท่ี 7.6 เชอ่ื มเปน็ ช่วงสน้ั ๆ
4. ทำความสะอาดชิ้นงานหลงั การเชือ่ มเสร็จ
5. สง่ ครตู รวจ

การประเมิน
1. การสังเกตขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
2. ตรวจผลการปฏบิ ตั ิงาน

เลขท่ี

ชื่อ - สกุล แบบประเมินการปฏบิ ตั ิงานใบงานที่ 7
เรอ่ื ง งานฝึกเชื่อมเริ่มตน้ อารค์
1 2 2 2 2 1 10 การเตรยี มเคร่ืองมือ
การปรับกระแสไฟ
ขนาดแนวเชื่อม ผลการ
ความสะอาดของแนวเช่ือม ประเมิน
ความสมบรู ณข์ องแนวเชื่อม
ความปลอดภัย
รวม
ผ่าน
ไมผ่ ่าน

แบบประเมินการปฏิบตั ิงานใบงานที่ 7
เรอ่ื ง งานฝึกเช่ือมเริ่มตน้ อารค์

การเตรียมเครอื่ งมือ

1. เตรยี มเครอ่ื งครบถ้วนและถูกต้อง 1 คะแนน
คะแนน
2. เตรียมเครอื่ งมือไม่ถูกต้อง 0
คะแนน
การปรับกระแสไฟ
คะแนน
1. ปรับตั้งกระแสไฟฟา้ ได้เหมาะสมกบั ชนิดของลวดเชอ่ื ม 2
คะแนน
และความหนาของชิ้นงาน
คะแนน
2. ปรับตัง้ กระแสไฟฟ้าไม่ถูกต้อง 0
คะแนน
ขนาดของแนวเชื่อม คะแนน

1. ความกว้างของแนวเชอ่ื มไม่เกิน 8 มม. และสงู ไม่เกนิ 2 คะแนน
คะแนน
3 มม.
คะแนน
2. ความกวา้ งของแนวเกนิ 8 มม. และสงู เกนิ 3 มม. 0
คะแนน
ความสะอาดของแนวเช่อื ม

1. ความสะอาดของแนวเชอ่ื มและช้นิ งาน 2

2. ไม่มีความสะอาดของแนวเชอื่ มและช้นิ งาน 0

ความสมบูรณ์ของแนวเช่อื ม

1. แนวเชอ่ื มมคี วามสมบรู ณ์ไมม่ ขี ้อบกพร่อง 2

2. แนวเชือ่ มมขี ้อบกพร่องมากกว่า 30 % 0

ความปลอดภยั

1. การปฏิบตั งิ านมีความปลอดภยั ทำงานดว้ ยความ 2

ระมัดระวงั

2. ทำงานด้วยความประมาท ไม่สนใจเรือ่ งความปลอดภัย 2

รวม 10 คะแนน

แบบทดสอบหลังบทเรียน

เรอ่ื ง งานฝกึ เช่ือมเร่ิมตน้ อารค์

คำชี้แจง จงทำเครือ่ งหมายกากบาท ( X ) ข้อทีถ่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดียว

1.ลวดเชื่อมไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ข้อใด

กล่าวถูกต้อง 5. มาตรฐาน AWS เป็นมาตรฐานเกยี่ วกบั การ

ก. ลวดเชอื่ มเปลือยและลวดเช่ือมหมุ้ ฟลักซ์ เช่อื มของประเทศใด

ข. ลวดเชื่อมเหลก็ เหนียว และลวดเชอ่ื ม ก. ประเทศไทย ค. ประเทศเยอรมัน

เหลก็ หลอ่ ข. ประเทศญ่ปี ่นุ ง. ประเทศอเมริกาช

ค. ลวดเชือ่ มทองแดง และลวดเชื่อม 6. ISO เปน็ มาตรฐานสากลย่อมาจากอะไร

ทองเหลือง ก. International Social Organizing

ง. ลวดเช่ือมที่เปน็ เหล็กและลวดเชอื่ มไม่ใช่ ข. International Standard Oxigen

เหล็ก ค. Internal Social Oganization

2. ความโตของแกนลวดเชอื่ มขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ง. InternationStandard Oganization

ก. เสน้ ผ่าศูนย์กลางต้งั แต่ 2 มิลลิเมตรถึง 10 7. DIN เป็นมาตรฐานของประเทศใด

มิลลเิ มตร ก. ไทย ข. ญปี่ นุ่

ข. เส้นผ่าศนู ย์กลางต้ังแต่3.2 มลิ ลเิ มตรถึง ค. เยอรมนั ง. อเมริกา

10 มิลลิเมตร 8. TIS เป็นมาตรฐานของประเทศใด

ค. เสน้ ผ่าศนู ย์กลางตัง้ แต่ 4 มลิ ลเิ มตรถึง 10 ก.ไทย ข. ญ่ีปนุ่

มลิ ลเิ มตร ค. อเมรกิ า ค. เยอรมนั

ง. เส้นผา่ ศูนยก์ ลางต้ังแต่2.6 มลิ ลิเมตร 9. มาตรฐานลวดเชอ่ื มของ AWS E 6013

ถงึ 4 มลิ ลเิ มตร คำวา่ E หมายถงึ อะไร

3. ขอ้ ใดมิใชห่ นา้ ทขี่ องฟลักซ์ ก. ลวดเช่ือมแกส็

ก. ชว่ ยในการสร้างแสลก ข. ลวดเช่ือมไฟฟ้าหมุ้ ฟลักซ์

ข. ชว่ ยใหเ้ กดิ ระบบอาร์คทดี่ ี ค. ลวดเชอ่ื มเปลือย ง. ลวดเชื่อมเหล็กหลอ่

ค. ชว่ ยให้การอารค์ ยากข้ึน 10. จากข้อ 9 คำวา่ 60 หมายถงึ อะไร

ง. ชว่ ยใหก้ ารสร้างแก็สปกปอ้ งบ่อหลอม ก. คา่ ของสารพอกหุ้ม

ละลาย ข. คา่ ของชนิดกระแสไฟฟ้า

4. ขอ้ ใดมิใช่คณุ สมบัตขิ องฟลักซ์ทด่ี ี ค. ค่าความต้านทานแรงดึง

ก. มีความถ่วงจำเพาะต่ำ ง. ค่าความแขง็ แรง

ข. แตกหรอื หลดุ จากแกนลวดเช่อื มได้ง่าย

ค. เมือ่ เกิดการหลอมละลายจะเกิดเปน็ แกส็

ป้องกนั

ง. มจี ุดหลอมละลายเม่ือเกดิ การอารค์

แบบเฉลยแบบทดสอบหลังบทเรยี น
เรอ่ื ง งานฝึกเช่ือมเรม่ิ ตน้ อาร์ค

1ก
2ก
3ค
4ข
5ง
6ง
7ค
8ก
9ข
10 ค

บทที่ 4
งานเชือ่ มเดินแนวทา่ ราบดว้ ยไฟฟ้า
สาระสำคัญ
การปฏิบัตงิ านเช่ือมเดนิ แนวท่าราบ เป็นการปฏบิ ตั ิงานฝึกเช่อื มเดินแนวขนั้ พืน้ ฐาน เปน็
ตำแหน่งทา่ เชื่อมที่ฝึกง่าย เหมาะสำหรบั ผู้ปฏบิ ตั ิที่กำลงั ฝกึ หดั งานเชื่อมไฟฟ้า ทักษะทไี ด้จากการฝึก
จะเนน้ การสร้างบ่อหลอม การควบคมุ มมุ ลวดเชื่อม การควบคมุ ความเร็วของลวดเชอ่ื ม การควบคมุ
ระยะอารค์ ตลอดจนการป้องกันอากาศ ไมใ่ หร้ วมตวั กับแนวเช่ือมซงึ เปน็ สาเหตหุ น่งึ ท่ีทำใหแ้ นวเช่ือม
มขี ้อบกพร่องบนแนวเชื่อม เทคนิคการเชื่อมไฟฟา้ เหล่านจ้ี ะตอ้ งใช้เวลาฝึกฝนซำ้ แล้วซำ้ อีกจงึ จะเกดิ
ทักษะความชำนาญ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกข้อบกพร่องในแนวเชื่อมไฟฟ้าได้
2.อธิบายสาเหตแุ ละวิธแี ก้ไขข้อบกพรอ่ งในแนวเชือ่ มได้
3.สามารถปฏบิ ัติงานเช่อื มเดิมแนวทา่ ราบด้วยไฟฟ้าได้
4.สามารถควบคุมระยะอาร์คและบ่อหลอมละลายได้

เนอ้ื หา
1.ข้อบกพร่องในแนวเชื่อมไฟฟา้
2.ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมเดินแนวท่าราบด้วยไฟฟ้า
-ใบงานท่ี 8. งานเชือ่ มเดนิ แนวท่าราบดว้ ยไฟฟ้า

ขอ้ บกพร่องในแนวเชื่อมไฟฟา้
ข้อบกพร่องในแนวเชอื่ ม หมายถงึ สภาพอนั ไม่พงึ ประสงคท์ ี่เกิดข้ึนบนแนวเช่ือม ซงึ่

มอี ทิ ธิพลต่อคุณภาพแนวเชือ่ ม ความแข็งแรง นกั เรยี นผู้ปฏิบัตงิ านเช่อื มไฟฟา้ จะต้องมีความร้เู ก่ียวกบั
ขอ้ บกพร่องในแนวเช่ือมไฟฟ้า เม่ือปฏบิ ตั ิงานเชอื่ มไฟฟา้ และมีข้อบกพร่องของแนวเชอ่ื มเกิดขน้ึ จะได้
ทราบว่าขอ้ บกพร่องนน้ั เปน็ ข้อบกพร่องชนดิ ใด มสี าเหตมุ าจากอะไร และมวี ิธีแก้ไขอยา่ งไรซึ่งต่อไปน้ี
จะกลา่ วถึงรายละเอยี ดของข้อบกพร่องขนั้ พ้ืนฐานสำหรบั งานเชอ่ื มไฟฟ้า ดงั ตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 ข้อบกพร้องในแนวเช่อื ม

ข้อบกพร่อง สาเหตุ วธิ แี ก้ไข

1.สภาพล้นแนว (Overlap) -กระแสไฟน้อย -ปรบั กระแสไฟให้ถกู ต้อง

-มมุ ลวดเช่อื มไมถ่ ูกต้อง -มมุ ลวดเชือ่ มใหถ้ ูกต้อง

-ความเรว็ ในการเช่ือมไม่ถูกต้อง -ความเรว็ ในการเชอ่ื มให้

-ระยะอาร์คไม่ถูกต้อง เหมาะสม

-ระยะอารค์ ให้ถกู ต้อง

รูปท8่ี .1 แสดงลักษณะสภาพลน้
แนวของแนวเชอื่ ม

2.การแหว่งขอบแนว -ปรบั ต้ังกรแสไฟเชอื่ มสูงเกนิ ไป -ปรับตัง้ กระแสไฟให้ถูกตอ้ ง
(Undercut)
-ความเร็วในการเชือ่ มเร็วเกินไป -ความเร็วในการเชื่อมให้
รูปที่ 8.2 แสดงลักษณะของการ
แหวง่ ขอบแนว -ระยะอาร์คหา่ งเกนิ ไป พอเหมาะ

-ลวดเชอื่ มผิดขนาด -ใช้ระยะอาร์คให้ถกู ต้อง

-มุมลวดเชอ่ื มไมถ่ ูกต้อง -เลือกขนาดลวดเชอ่ื มให้

-สว่ ยลวดเชอื่ มไม่ถกู วธิ ี ถูกต้อง

-ทำมุมลวดเช่อื มให้ถกู ต้อง

-ส่วยลวดเชอื่ มใหถ้ กู ต้อง

3.เมด็ โลหะแตกกระเดน็ มาก -ต้ังกระแสไฟเช่ือมสูงเกินไป -ปรบั ต้งั กระแสไฟใหถ้ ูกตอ้ ง
(Excessive Spatter) -ระยะอาร์คห่างมากเกินไป -ระยะอารค์ ใหเ้ หมาะสม
-เกิดการหนีของเปลวอารค์ -ลดการหนีของเปลวอารค์ ให้
รูปที่ 8.3 แสดงลักษณะของเมด็ -ขั้วไฟท่ีใช้กับลวดเช่ือมไม่ นอ้ ยที่สุด
โลหะแตกกระเด็นมาก ถูกต้อง -ตอ่ ขวั้ ไฟให้ถูก
-เลือกลวดเช่ือมให้เหมาะสม
กบั ช้ินงาน

ข้อบกพร่อง สาเหตุ วธิ ีแกไ้ ข
4. เชื่อมไม่เปน็ แนว - ปรบั ต้ังกระแสไฟสูงเกินไป - ปรับตง้ั กระแสไฟให้
ถกู ต้อง
( Poor Appearance) - ความเรว็ ในการเชื่อมเร็ว - ใช้ความเร็วในการเช่อื ม
เกนิ ไป ให้เหมาะสม
รูปท่ี 8.4 แสดงการเชือ่ มไม่เป็นแนว - ระยะอาร์คห่างเกนิ ไป - ระยะอาร์คให้ถูกต้อง
5. การบิดงอ ( Distortion) - มมุ ลวดเชอื่ มไม่ถูกต้อง - ปรบั มุมลวดเชอื่ มให้
ถูกต้อง
รูปท่ี 8.5 แสดงการบิดงอของชิ้นงาน - การหดตวั ของโลหะ
6. สแลกฝังใน (Slag Inclusion) - การจบั ยดึ งานไม่ถูกวธิ ี - เชอื่ มระยะสัน้ ๆ
- แนวเชอื่ มได้รับความร้อนสูง - จบั ยึดชิ้นงานให้แน่น
รปู ที่ 8.6 แสดงลกั ษณะสแลกฝังใน - การบากหนา้ งานไม่ถูกต้อง - ใช้ความเรว็ ในการเดนิ
ของแนวเชอ่ื ม ลวดเช่ือม โดยใช้ลวด
- ตงั้ กระแสต่ำเกินไป เชื่อมทมี่ ีการซมึ ลึกปาน
- ระยะอาร์คสัน้ เกนิ ไป กลาง
- ความเร็วในการเชอื่ มไม่ - หลกี เลยี่ งการตอ่ แผ่น
ถกู ต้อง งานทม่ี ชี ่องห่างเกินไป
- มุมลวดเชอ่ื มผิด
- ต้ังกระแสเช่ือมให้
เหมาะสม
- ระยะอาร์คให้ถูกตอ้ ง
- ความเรว็ ในการเช่อื มให้
เหมาะสม
- มุมลวดเช่ือมให้ถกู ต้อง
เพ่ือป้องกนั โลหะทห่ี ลอม
ละลายปกคลุมสแลก

ข้อบกพรอ่ ง สาเหตุ วธิ แี กไ้ ข

7. การซมึ ลกึ ไมส่ มบูรณ์ - เดนิ ลวดเช่ือมเร็วเกินไป - ปรบั ความเรว็ ในการเช่อื มให้
(Incomplete - ลวดเชื่อมโตเกนิ ไป เหมาะสม
- ต้ังกระแสไฟต่ำเกินไป - เลอ่ื กลวดเช่ือมใหเ้ หมาะสม
Penetration) - ช้ินงานสกปรก - ทำความสะอาดช้ินงานให้
- รอยตอ่ ชดิ เกินไป สะอาด

รูปท่ี 8.7 แสดงการซึมลึกไม่ - ลดความร้อนโดยการยกลวด
สมบรู ณ์ เชอื่ มและจ่อลงบนชิ้นงาน
สลับกันหลายคร้ังท่ีปลายแนว
8. แอง่ ปลายแนวเช่ือม (Crater) - ความรอ้ นสะสมมาก เชอื่ มใหเ้ ตม็
- งานเช่อื มร้อนเกินไป - ปรบั มมุ ลวดเชื่อมให้ถูกต้อง
- มุมลวดเชอื่ มไม่ถูกต้อง - ส่ายลวดเชือ่ มให้ถูกวธิ ี
- การสา่ ยลวดเชื่อมไม่ถูกวิธี
- ปรับระยะอาร์คให้ถูกต้อง
รูปที่ 8.8 แสดงลักษณะแอง่ - ระยะอาร์คสัน้ เกินไป - ปรบั ความเร็วในการเชื่อมให้
ปลายแนวเช่ือม - ความเร็วในการเชื่อมไม่ เหมาะสม
เหมาะสม - ปรบั มมุ ลวดเช่อื มให้ถูกต้อง
9. รูพรุน (Porosity) - มุมลวดเชอ่ื มผดิ

รปู ที่ 9.9 แสดงลักษณะรูพรนุ ใน
แนวเชื่อม

สรุปทา้ ยบท
ขอ้ บกพร่องในแนวเชือ่ ม เป็นสภาพอันไม่พึงประสงคท์ ีจ่ ะใหเ้ กิดข้นึ บนแนวเชอ่ื ม นำมาซง่ึ

ความไม่สมบูรณ์ของแนวเชื่อม ซ่งึ เปน็ ผลใหค้ ุณภาพของแนวเช่ือมลดลง ส่วนผลต่อคณุ ภาพของ
ผูป้ ฏิบัติงานเชอ่ื มและผลิตภัณฑ์ลดลง นอกจากนน้ั ยงั สง่ ผลกระทบทางอ้อม เชน่ ตอ้ งเสียเวลา
ซอ่ มแซมแนวเชอ่ื ม เสยี คา่ ใช้จ่ายมากขึน้

ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมเดนิ แนวท่าราบด้วยไฟฟ้า

- ใบงานท่ี 8. งานเชอื่ มเดนิ แนวท่าราบด้วยไฟฟ้า

ใบงานท่ี 8 หน่วยท่ี 3

อุตสาหกรรม วชิ า งานเชื่อมไฟฟา้ เบ้ืองต้น สอนครง้ั ท่ี 8
พ.ม. ชือ่ งาน งานเชื่อมเดินแนวท่าราบด้วยไฟฟ้า จำนวน 4

ชั่วโมง

จดุ ประสงค์การเรยี นการสอน รายการสอน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

1. จดั เตรยี มเครอื่ งมอื และอุปกรณ์ได้ 1. การเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์

2. เพอ่ื มที กั ษะการปฏบิ ัติงานเช่ือมไฟฟ้า 2. ปฏิบตั ิงานเช่ือมเดินแนวท่าราบดว้ ยไฟฟา้

เดินแนวทา่ ราบได้

3. การปรับตั้งกระแสไฟฟ้าเชอ่ื มได้

4. อธบิ ายข้นั ตอนการฝกึ ปฏบิ ตั งิ านเช่อื ม

ไฟฟ้าเดนิ แนวท่าราบได้

5. ปฏิบัตงิ านด้วยความปลอดภยั

6. มที กั ษะในการควบคุมระยะอารค์ และ

ความเร็วในการเชอ่ื มโลหะ

รูปที่ 8.10 แสดงงานเช่อื มเดินแนวท่าราบด้วยไฟฟ้า

เครอ่ื งมอื / อุปกรณ์ วัสดุ

1. เครื่องเชอ่ื มไฟฟ้า AC และ DC 1. เหล็กแผน่ ขนาด 100 X 180 X 9 มม.

2. สายเช่ือม, สายดนิ , หัวจบั ลวดเชอ่ื มไฟฟ้า จำนวน 1 แผน่

3. คีมคีบจบั ช้นิ งานร้อน 2. ลวดเช่อื มไฟฟา้ E 6013 ขนาด 2.6

4. แปรงลวด มม.จำนวน 3 เสน้

5. ถงุ มอื หนงั

6. หน้ากากเช่อื มไฟฟ้า ข้อควรระวัง
7. ค้อนเคาะสแลก 1. เชอื่ มทกุ คร้งั ตอ้ งใช้หน้ากากเชื่อมไฟฟ้า

เพื่อป้องแสงเชื่อมเข้าตาทุกครง้ั

2. ระวังช้ินงานร้อน ตอ้ งสวมถุงมอื ทกุ ครัง้

และใชค่ ีมคบี เหล็กร้อนเสมอ

3. ควบคมุ ระยะอาร์ค ความเร็ว และมมุ

ของลวดเช่ือมใหพ้ อเหมาะ

ลำดับขนั้ ตอนการทำงาน

1. เตรยี มเครอื่ งมือ อุปกรณ์ และวสั ดุให้ครบ

2. แบ่งชิ้นงานออกเปน็ 5 สว่ น รา่ งแบบโดยใชเ้ หล็กนำศนู ย์ตอกใหเ้ ป็นรอยตามเส้นทรี่ า่ งไว้

รปู ท่ี 8.11 แสดงการรา่ งแบบโดยใชเ้ หล็กนำศูนยต์ อกให้เป็นรอยตามเส้นทีร่ า่ งไว้

3. ปฏบิ ตั งิ านเช่ือมเดินแนวทา่ ราบด้วยไฟฟ้าตามท่คี รูสาธติ ให้นักเรียนดู
4. ใช้คอ้ นเคาะสแลกออก ทำความสะอาดชิ้นงานดว้ ยแปรงลวด
5. สง่ ครตู รวจ

การประเมิน
1. สงั เกตขั้นตอนการทำงาน
2. ตรวจผลการปฏิบัตงิ าน

เลขท่ี

ชือ่ - สกุล แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานใบงานท่ี 8
เรอ่ื ง งานเช่ือมเดินแนวท่าราบดว้ ยไฟฟ้า
1 2 1 2 2 1 1 10 การเตรียมเครื่องมือ

ลำดบั ข้นั ตอนการ ผลการ
กทาำรงปานรับกระแสไฟ ประเมนิ
เคชวื่อามมสมบรู ณ์ของแนว
เขชนอื่ ามดของแนวเชือ่ ม

ความสวยงาม
ความปลอดภัย
รวม

ผา่ น

ไม่ผ่าน


Click to View FlipBook Version