The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mtpschool.mk, 2021-05-26 03:23:55

sar 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self – Report : SAR)
ปีการศกึ ษา 2563

โรงเรยี นบ้านโนนม่วงท่าพลบั พลา
กล่มุ เครอื ขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาท่ี 6
ตำบลราษฎร์เจรญิ อำเภอพยคั ฆภมู พิ สิ ัย จังหวัดมหาสารคาม

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ





คำนำ

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 ฉบับนี้ โรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลาได้
จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวงว่าด้วย การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ขอ้ 3 ท่ีระบุให้สถานศึกษาแต่ละ
แห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกำหนดพร้อมท้งั จัดทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาติดตามผลการดำเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
สถานศกึ ษาเปน็ ประจำทกุ ปี

เอกสารรายงานประจำปีของสถานศึกษาฉบับนี้ ประกอบด้วยส่วนสำคัญ คือ บทสรุปของผู้บริหาร
สถานศึกษาส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาส่วนที่ 3 สรุปผลการ
ประเมินและแนวทางการพัฒนา และสว่ นท่ี 4 ภาคผนวก

โรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลาขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรยี นที่มีสว่ นร่วมในการจัดทำเอกสารรายงานฉบับนี้ และหวังว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการกำหนด
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนเพื่อ
ประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

โรงเรยี นบ้านโนนมว่ งทา่ พลบั พลา
มถิ ุนายน 2564



สารบญั ข

เร่อื ง หน้า
บทสรปุ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา 1
สว่ นที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
1
1.1 ข้อมูลทัว่ ไป 1
1.2 ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศึกษา 5
1.3 ขอ้ มูลนกั เรียน 6
1.4 ผลการประเมินพฒั นาการ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั 7
1.5 ผลการประเมินระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 11
1.6 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) 14
1.7 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) 17
1.8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) 19
1.9 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย 20
1.10 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 21
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย 23
25
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ 27
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เี่ นน้ เดก็ เป็นสำคญั 28
สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมระดับการศึกษาปฐมวัย 30
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 31
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน 33
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 34
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน 35
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมิน และแนวทางการพฒั นา 37
ระดับการศึกษาปฐมวัย
ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
แผนงาน/แนวทางการพฒั นาเพื่อให้ได้คณุ ภาพที่สูงขึน้



1

บทสรุปของผู้บริหารสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลามงุ่ มั่นในการพฒั นาสถานศึกษา เป็นโรงเรยี นดมี คี ุณภาพของชุมชน
โดยแสวงหาการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วน พัฒนาศกั ยภาพครู บคุ ลากร ผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ลักษณะอันพึง
ประสงค์ บนพ้ืนฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 จัดการเรยี นการสอน
ระดับปฐมวยั – มธั ยมศึกษาตอนตน้ มีจำนวนนักเรยี นในระดับชน้ั อนบุ าล จำนวน 187 คน ระดบั ประถมศึกษา
96 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 46 คน รวมทั้งหมด 187 คน บุคลากรทั้งสิ้น 19 คน จำแนกเป็น
ผู้อำนวยการ 1 คน ครูผู้สอน 15 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน นักการ 2 คน ผลรายงานการประเมินคุณภาพ
ของตนเอง (SAR) ประจำปีการศกึ ษา 2563 เสนอตอ่ ต้นสังกดั มีผลประเมนิ ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดีเลิศ มีผล
การดำเนนิ งาน ดงั ต่อไปน้ี

โรงเรยี นบา้ นโนนม่วงท่าพลบั พลากำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านคุณภาพ
ผู้เรียน ด้านการบริหารจัดการ ด้านคุณภาพผู้สอน

1. คณุ ภาพผ้เู รียน มุง่ เนน้ ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมีการวิเคราะหผ์ ลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนกำหนดค่าเปา้ หมายทางการเรียนโดยใช้ฐานขอ้ มูล 3 ปยี ้อน หลังและคา่ คะแนนพฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ ทั้ง
ผลการประเมินการอ่านการเขียนนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 จัดกิจกรรม/โครงการ
แผนการพฒั นา คือ แผนพัฒนาศักยภาพการศกึ ษาเพื่อยกระดับยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น RT NT และ
O-NET ใช้หลักการ “เหลียวหลังส่องผลงาน แลหน้าส่อง Test blue print คุ้นชินแนวข้อสอบ แนะ
คำตอบเพื่อพิชิต” ทำให้มีผล RT NT ผลคะแนนเฉลีย่ ทั้ง 3 ด้าน สูงกว่าระดับประเทศ ในปีการศึกษา 2563
ทางโรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลาไม่ได้ทำการทดสอบ O-NET ทั้ง 2 ระดับ คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แต่ยังมีการพัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน และสร้าง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิด
คำนวณ รวมทั้งมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศการส่อื สาร การค้นควา้ เพือ่ เพมิ่ พูนความรแู้ ละต่อยอดสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชนต์ ่อตนเองและ
การพฒั นาอาชพี มคี ณุ ลกั ษณะค่านิยมทีด่ ีมีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง มีความภาคภูมใิ จในท้องถ่ินและความเป็น
ไทยสามารถดำเนินชีวิตทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้อย่างมีความสุข ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
“โรงเรยี นดี วิถพี อเพยี ง เคยี งคู่คุณธรรม”

2. คุณภาพการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารคุณภาพของสถานศึกษา
ในโรงเรยี นบา้ นโนนมว่ งท่าพลบั พลา ดำเนนิ งานจากการวิเคราะหส์ ะท้อนปัญหาของผลการศึกษาท่ีผา่ นมา โดย
ใชข้ ้อมูลเป็นฐาน กำหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ อยา่ งชัดเจนในการดำเนินการพัฒนางานใหค้ รอบคลุมทั้ง
4 ฝ่ายอย่างเหมาะสม ในการดำเงินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพนักเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาทุก
กลุ่มเป้าหมายเชื่อมโยงกับชีวิตจริง การพัฒนาด้านงบประมาณและแผนด้วยการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประจำปี การดำเนินงานด้านพฒั นาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่ตรงตามความสามารถ
และเหมาะสมตามอตั รากำลัง การพัฒนาอาคารสถานท่ีจัดใหม้ ีสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ

2

การจัดการเรียนรู้กับบริบทของสถานศึกษา จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนด้านการบริหาร
จัดการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรยี น เพอ่ื ขับเคล่ือนตามนโยบายของสถานศกึ ษา ท่ีตรงตามความ
ต้องการของชุมชนและท้องถิ่น สนองวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้น
สังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่กำหนด ติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล ปรับปรุงพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ
นิเทศภายใน เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี่ส่วนร่วมในการวางแผน
ปรับปรุง ร่วมกันพัฒนาการจัดการศึกษา พัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพนักเรียน
เชื่อมโยงกับการดำเนินชีวิตจริงทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน มีแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมในยคุ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

3. คุณภาพครูและกระบวนการเรียนการสอน ให้มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนนิ งานตามโครงการ กิจกรรมที่หลากหลาย ที่มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการ
สอนเน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกกระบวนการคิด ปฏิบัติจรงิ นำไปสู่การเรียนรูท้ ีเ่ ขา้ ใจ
ลกึ ซ้งึ ยง่ั ยืนตามมาตรฐานตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศกึ ษา ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ ครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคลคล มีการตรวจสอบ การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบแล้วนำผล
มาพัฒนาปรบั ปรงุ ผเู้ รียน ครมู ีแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีสามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จรงิ มกี ารใช้สื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยี สือ่ NEW DLTV ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน และศกึ ษาแหลง่ การเรียนร้นู อกห้องเรียน ครูมกี ารเขา้ อบรมเพอ่ื
พัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรโู้ ดยจัดช่วั โมง PLC สัปดาหล์ ะ 2 ชั่วโมงเป็นชุมชนแห่งการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพและนำไปปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น ครูมีการบริหารจัดการช้ัน
เรยี นเชิงบวกเนน้ การปฏิสมั พันธ์ระหว่างครูกับนักเรยี น เดก็ รักการมาเรยี น จัดกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้
อยา่ งมคี วามสุข ใหเ้ ปน็ โรงเรียน นา่ อยู่ นกั เรียนอยากรู้ ครอู ยากสอน ดงั อัตลักษณ์ รกั โรงเรยี น เพยี รทำดี

3

สว่ นท่ี 1
ข้อมลู พ้ืนฐาน

1.1 ขอ้ มลู ท่ัวไป โรงเรียนบ้านโนนม่วงทา่ พลบั พลา
142 หมู่ 9 ต.ราษฎร์เจรญิ อ.พยัคฆภมู พิ ิสยั จ.มหาสารคาม
ชื่อโรงเรยี น สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
ทอี่ ยู่ 084 - 7909460
สงั กดั -
โทรศพั ท์ [email protected]
โทรสาร www.mtps.ac.th
E-mail อนบุ าลปที ่ี 1 ถึงระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
เวบ็ ไซต์
เปิดสอนระดับชั้น

1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1) จำนวนบคุ ลากร

บุคลากร ผบู้ ริหาร ข้าราชการครู ธรุ การ นักการภารโรง รวมทงั้ หมด

ปกี ารศกึ ษา 2563 1 15 1 2 19

ผบู้ รหิ าร ขา้ ราชการครู ธุรการ นกั การภารโรง

11% 5%
5%

79%

4

2) วุฒิการศกึ ษาสูงสุดของบคุ ลากร ปรญิ ญาตรี ต่ำกวา่ ปริญญาตรี รวม
วฒุ ิการศึกษา ปรญิ ญาเอก ปริญญาโท 12 2 19
จำนวน - 5

ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท ปริญญาตรี ต่ากว่าปริญญาตรี

11% 0%

26%

63%

3) สาขาวชิ าที่สำเรจ็ การศกึ ษาและภาระงานสอน จำนวน ภาระงานสอนเฉลยี่
(คน) (ช่ัวโมง/สัปดาห์)
ท่ี สาขาวชิ า 1
2 -
1 บรหิ ารการศกึ ษา 2 25
2 คณติ ศาสตร์ 1 25
3 วทิ ยาศาสตร์ 2 25
4 ภาษาไทย 1 25
5 ภาษาองั กฤษ 2 25
6 สงั คมศึกษา 3 25
7 ปฐมวยั 1 25
8 ประถมศึกษา 1 25
9 คอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 25
10 พลศึกษา

1.3 ข้อมูลนักเรียน (ขอ้ มลู ณ 10 มิถุนายน 2563) 5

ระดับชน้ั เรียน จำนวน จำนวนนกั เรียน รวม เฉลี่ยตอ่ ห้อง
ห้องเรยี น ชาย หญงิ 6
20 6
อ.1 1 4 2 19 20
45 19
อ.2 1 12 8 16 45
23 16
อ.3 1 9 10 19 23
11 19
รวม 3 25 20 15 11
12 15
ป.1 1 4 12 96 12
18 96
ป.2 1 12 11 15 18
13 15
ป.3 1 9 10 46 13
187 46
ป.4 1 6 5

ป.5 1 12 3

ป.6 1 8 4

รวม 6 51 45

ม.1 1 8 10

ม.2 1 7 8

ม.3 1 7 6

รวม 3 22 24

รวมท้งั หมด 12 98 89

เปรยี บเทยี บขอ้ มลู จานวนนักเรยี นปีการศึกษา 2561 - 2563

120

100

80

60

40

20

0 ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ปฐมวัย

ปี 2561 ปี 2562 ป2ี 563

6

1.4 ผลการประเมินพฒั นาการ ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย

นกั เรียนชนั้ อนุบาลปีท่ี 3 ที่เขา้ รับการประเมินจำนวน 19 คน

ผลการประเมนิ ของเด็กตามระดบั คณุ ภาพ

พฒั นาการ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

ดา้ นรา่ งกาย 19 100.00 0 0.00 0 0.00

ดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ 19 100.00 0 0.00 0 0.00

ดา้ นสตปิ ัญญา 19 100.00 0 0.00 0 0.00

ด้านสังคม 19 100.00 0 0.00 0 0.00

รอ้ ยละของผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็
ช้นั อนบุ าล 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

100 ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ ดา้ นสติปัญญา ดา้ นสงั คม
90 100 100 100 100
80 0 0 0 0
70 0 0 0 0
60
50
40
30
20
10
0

ดี
พอใช้
ปรบั ปรุง

ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

7

1.5 ผลการประเมนิ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (ข้อมลู ณ 9 เมษายน 2564)

1) ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษา (ข้อมลู ณ 9 เมษายน 2564)

100 ศลิ ปะ
90 สังคมศึกษาฯ
80 ภาษาไทย
70
60
50
40
30
20
10
0

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ ประวัติศาสตร์
สขุ ศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี ภาษาอังกฤษ

8

2) ผลประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รอ้ ยละของนกั เรียนท่มี ีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
จาแนกตามระดับคุณภาพ ปีการศึกษา 2563

ม.3 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00
ม.2
ม.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ป.6 82.61 100.00 18.18 33.33 50.00 68.42 60.00 46.15
ป.5 13.04 0.00 81.82 66.67 50.00 15.79 20.00 46.15
ป.4 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 15.79 20.00 7.69
ป.3 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ป.2
ป.1

0.00

ป.1
ดเี่ ย่ียม 75.00
ดี 25.00
ผา่ น 0.00
ไมผ่ ่าน 0.00

9

3) ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน

รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน
จาแนกตามระดบั คุณภาพ ปกี ารศกึ ษา 2563

ม.3

ม.2

ม.1

ป.6

ป.5

ป.4

ป.3

ป.2

ป.1

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ด่ีเย่ียม 56.25 73.91 100.00 36.36 33.33 25.00 31.58 53.33 53.85
ดี 37.50 13.04 0.00 63.64 66.67 75.00 47.37 40.00 7.69
ผา่ น 6.25 8.70 0.00 0.00 0.00 0.00 21.05 6.67 38.46
ไม่ผา่ น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

10

4) ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 5 ดา้ น ปีการศกึ ษา 2563
ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 5 ด้าน ปีการศกึ ษา 2563

จานวน ันกเ ีรยน (คน) 160
140
120 การคิด การแก้ปญั หา การใชท้ ักษะชวี ติ การใช้เทคโนโลยี
100 143 143 143 143
80
60 0000
40
20

0
การสื่อสาร

ผ่าน 143
ไม่ผ่าน 0

5) ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ปีการศกึ ษา 2563

รอ้ ยละของผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ปีการศกึ ษา 2563

100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ผ่าน 100 100 100 100 100 100 100 100 100
ไม่ผา่ น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

11

1.6 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รียน (Reading Test : RT)

1) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
คะแนนเฉลย่ี ร้อยละผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น (RT)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

90 การอ่านออกเสียง การอา่ นร้เู รอื่ ง รวม 2 สมรรถนะ
80 79.6 80.26 79.93
70 78.33 74.22 76.28
60 74.14 71.86 73.02
50 ระ1ดบั โรงเรียน
40 ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดบั ประเทศ ชุดขอ้ มลู 4
30
20
10
0

ระดบั โรงเรียน

ระดบั เขตพ้นื ท่ี

ระดบั ประเทศ

ชุดข้อมูล4

คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของจานวนนกั เรียนท่มี ีผลการประเมินความสามารถ
ด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศกึ ษา 2562 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

10 10 10

10

8

6 555 การอา่ นออกเสียง
การอ่านรเู้ รอ่ื ง
4 รวม 2 สมรรถนะ

2 000 000

0 ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ดีมาก

12

2) ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2563

2.1) เปรยี บเทยี บผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รียน (RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1

และรอ้ ยละของผลตา่ งระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 - 2563

สมรรถนะ ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา รอ้ ยละของผลต่าง
2562 2563 ระว่างปกี ารศึกษา

การอ่านออกเสยี ง 70.80 79.6 8.80

การอ่านร้เู รือ่ ง 74.90 80.26 5.36

รวม 2 สมรรถนะ 72.85 79.93 7.08

2.2) เปรยี บเทยี บผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
และรอ้ ยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2563 จำแนกตามร้อยละของระดบั คุณภาพ

ผลการประเมินการอา่ นออกเสยี ง

ปรบั ปรุง 0
0

พอใช้ 0 20

ดี 35
33

ดมี าก 45
67

0 10 20 30 40 50 60 70 80

รอ้ ยละของจานวนนกั เรียนปกี ารศึกษา 2562 รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นปีการศกึ ษา 2563

ผลการประเมนิ การอา่ นรู้เรอ่ื ง 13

ปรบั ปรุง 0 80
0

พอใช้ 0 10

ดี 30
33

ดมี าก 60
67

0 10 20 30 40 50 60 70

ร้อยละของจานวนนกั เรียนปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียนปีการศกึ ษา 2563

ผลการประเมนิ รวมท้งั 2 สมรรถนะ

ปรบั ปรงุ 0
0

พอใช้ 0 5

ดี 55
33

ดีมาก 40
67

0 10 20 30 40 50 60 70 80

ร้อยละของจานวนนักเรยี นปีการศึกษา 2562 ร้อยละของจานวนนักเรยี นปกี ารศึกษา 2563

14

1.7 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ
(National Test: NT)

1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3
ปกี ารศกึ ษา 2563

คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

60 45.17 48.5
40.47 43.97
51.82
34 39.93
50 43.87 47.46
40
30

20

10

0 ดา้ นภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ รวมทั้ง 2 ดา้ น
43.87 34 39.93
ระดับโรงเรียน 51.82 45.17 48.5
ระดับเขตพนื้ ท่ี 47.46 40.47 43.97
รวมทง้ั 2 ด้าน

ระดบั โรงเรยี น ระดับเขตพ้ืนที่ รวมท้ัง 2 ดา้ น

คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของจานวนนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถ
พ้นื ฐานของนกั เรยี นระดับชาติ (NT)

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

100 87.5

90

80

70 62.5
56.25
60

50

40 31.25
12.5
30 6.25 25
6.25 6.25
20
ปรบั ปรงุ
10 6.25
00
0

ดมี าก ดี พอใช้
ดา้ นภาษาไทย รวมทงั้ 2 ด้าน
ดา้ นคณิตศาสตร์

15

2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2562 - 2563
2.1) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT)

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 และรอ้ ยละของผลตา่ งระหว่างปกี ารศึกษา 2562 – 2563

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา รอ้ ยละของผลตา่ ง
2562 2563 ระวา่ งปีการศกึ ษา
ดา้ นภาษาไทย 43.00 43.87
ด้านคณิตศาสตร์ 59.00 34.00 +0.87
รวมความสามารถเฉล่ียทงั้ 2 ด้าน 51.00 38.93 -25.00
-12.07

2.2) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) และรอ้ ยละของ
ผลต่างระหว่างปีการศกึ ษา 2562 - 2563 จำแนกตามรอ้ ยละของระดับคณุ ภาพ

ดา้ นภาษาไทย

ปรบั ปรุง 6.25
14.29
พอใช้ 14.29 62.5
71.43

ดี 31.25

ดมี าก 0
0

0 10 20 30 40 50 60 70 80
ร้อยละของจานวนนักเรยี นปกี ารศกึ ษา2563 ร้อยละของจานวนนกั เรียนปีการศึกษา2562

16

ดา้ นคณติ ศาสตร์

ปรบั ปรงุ 0 25
พอใช้
ดี 28.57 56.25
ดมี าก 60
0 12.5
42.86

6.25
28.57

10 20 30 40 50
รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นปีการศกึ ษา2563 ร้อยละของจานวนนกั เรยี นปีการศึกษา2562

1.8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) 17

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 คะแนนรวมเฉล่ยี
0
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) 0
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 0
0
คะแนนเฉ ่ีลย 1
0.9
0.8 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
0.7 0 0 0 0
0.6 0 0 0 0
0.5 0 0 0 0
0.4 0 0 0 0
0.3
0.2
0.1

0

ระดบั ประเทศ
ระดบั สังกัด สพฐ.
ระดบั เขตพน้ื ท่ี
ระดับโรงเรยี น

ระดบั ประเทศ ระดบั สงั กดั สพฐ. ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดบั โรงเรยี น

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET)
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

คะแนนเฉล่ีย 1
0.9
0.8 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลี่ย
0.7 0 0 0 0 0
0.6 0 0 0 0 0
0.5 0 0 0 0 0
0.4 0 0 0 0 0
0.3
0.2 ชอ่ื แกน
0.1

0

ระดับประเทศ
ระดับสงั กัด สพฐ.
ระดบั เขตพนื้ ท่ี
ระดบั โรงเรียน

ระดบั ประเทศ ระดบั สงั กดั สพฐ. ระดบั เขตพนื้ ท่ี ระดบั โรงเรียน

18

2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2562 – 2563

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

คะแนนเฉ ่ีลย 1
0.9
0.8 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉล่ียรวม
0.7 0 0 0 0 0
0.6 0 0 0 0 0
0.5 0 0 0 0 0
0.4
0.3
0.2
0.1

0

2562
2563
ผลการพฒั นา

2562 2563 ผลการพฒั นา

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET)
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3

คะแนนเฉ ่ีลย 1
0.9
0.8 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยรวม
0.7 0 0 0 0 0
0.6 0 0 0 0 0
0.5 0 0 0 0 0
0.4
0.3
0.2
0.1

0

2562
2563
ผลการพัฒนา

2562 2563 ผลการพฒั นา

19

1.9 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2563

มาตรฐาน ระดบั แปลผล
คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก

1.1 มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ท่ดี ีและดูแลความปลอดภัยของ 4 ดเี ลศิ
ตนเองได้

1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมร์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 3 ดี

1.3 มีพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทีด่ ีของสังคม 4 ดเี ลิศ

1.4 มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา สอื่ สารได้ มีทกั ษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหา 4 ดีเลิศ
ความร้ไู ด้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถนิ่ 3 ดี

2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น 4 ดเี ลศิ

2.3 สง่ เสริมให้ครูมีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ 3 ดี

2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพอื่ การเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและพียงพอ 4 ดีเลศิ

2.5 ใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอื่ การเรยี นรูเ้ พือ่ สนับสนนุ การจดั 4 ดเี ลิศ
ประสบการณ์

2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม 3 ดี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ

3.1 จดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสริมใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ 5 ยอดเยี่ยม

3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอยา่ งมีความสขุ 5 ยอดเยีย่ ม

3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวยั 5 ยอดเยย่ี ม

3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพฒั นาการเด็ก 4 ดีเลิศ
ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา 4 ดีเลิศ

20

1.10 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีการศึกษา 2563

มาตรฐาน ระดับ แปลผล
คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น 4 ดเี ลิศ

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น 4 ดีเลิศ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

2.1 มีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 4 ดีเลิศ

2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 4 ดเี ลศิ

2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการท่ีเน้นคณุ ภาพของผู้เรยี นรอบด้าน ตามหลักสตู ร 5 ยอดเย่ยี ม
สถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เป้าหมาย

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ 5 ยอดเยย่ี ม

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมี 4 ดเี ลิศ
คุณภาพ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ 4 ดีเลิศ
จัดการเรยี นรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

3.1 จดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไป 4 ดีเลิศ
ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้

3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ 4 ดเี ลศิ

3.3 มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก 4 ดีเลิศ

3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน 4 ดีเลิศ

3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการ 4 ดเี ลิศ
จดั การเรียนรู้ 4 ดีเลิศ

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา

21

สว่ นท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวยั

มาตรฐาน ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ดีเลิศ

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลิศ

1.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านโนนม่วงทา่ พลับพลามีกระบวนการพัฒนาเด็กทีห่ ลากหลาย ส่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทาน
อาหารท่ีสะอาด ถกู สขุ ลกั ษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคมุ ดแู ลให้เดก็ ดื่มนมเปน็ ประจำทุกวนั อย่าง
สมำ่ เสมอ มีการชงั่ นำ้ หนัก วดั สว่ นสูง ภาคเรยี นละ 2 ครัง้ มีกิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธงกอ่ นเข้าเรียนทุก
วนั จดั หา อปุ กรณ์ ซ่อมแซมสนามเดก็ เล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พรอ้ มใชง้ านอยูต่ ลอดเวลา ไมม่ จี ุดทเ่ี ป็น
อนั ตราย มกี ฎ กติกา ข้อตกลงในการดแู ลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลยี่ งจากอันตราย มกี ารจัดบอร์ดให้ความรู้
แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดตอ่ ในชมุ ชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการ
รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และ
ไดร้ ับความรว่ มมือจากโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ ตำบลราษฎร์เจริญ ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของ
เด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาใน
ระดับโรงเรียน มกี ารจดั กจิ กรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง
เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือ
ตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวนั สามารถรับประทานอาหารดว้ ยตนเองและมมี ารยาทในการรับประทาน
อาหาร รู้จักดแู ลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกห้องเรยี น โดยการจดั กจิ กรรมแบ่งเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อนในห้องเรียน ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัด
ประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเลน่ สิ่งของเคร่ืองใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนร้จู ัก
ประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวัน

22

สำคัญทางชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา ส่งเสริม
พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ปลูกฝงั ให้เด็กมีความซอ่ื สัตยส์ ุจริต ไม่เอาสงิ่ ของของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน มีความ
อดทน มีความมนั่ ใจ กลา้ พูด กลา้ แสดงออก ยิม้ แย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นกั เรยี น
ได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน
มปี ฏสิ มั พนั ธ์ท่ดี ีกับเพอื่ น ทงั้ ในและนอกห้องเรยี น โดยครไู ดด้ ำเนินการจัดประสบการณ์การเรยี นการสอนตาม
แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และมกี ารจดั กจิ กรรมรอ้ ง เล่น เตน้ อ่าน ให้เดก็ ได้แสดงออกตามศักยภาพ
ของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหา
ความรูไ้ ด้ โดยการเข้าร่วมโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยแหง่ ประเทศไทย โครงการคา่ ยวิทยาศาสตร์ ทำให้
เด็กได้ฝึกปฏบิ ัติการทดลอง การสังเกต ความคดิ สร้างสรรค์ ร้จู ักแก้ปญั หา มีการจัดกจิ กรรมโครงงานเพื่อการ
เรียนรู้ โดยส่งเสรมิ ให้เด็กมคี วามสนใจเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั กลา้ ซักถามเพือ่ ค้นหาคำตอบ มกี ารจัดกิจกรรม
หนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้เด็กอ่านนิทานและเล่า
นิทานที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง
วิชาการในระดับต่าง ๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด การฉีก การปะ
ส่งเสริมให้เด็กไดเ้ สนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวยั จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรยี นเพื่อให้เดก็ ได้
ปฏสิ มั พันธก์ บั บุคคลภายนอก เรยี นร้นู อกสถานท่ี แก้ปัญหาในสถานการณ์จรงิ

1.2 ผลการดำเนนิ งาน
- เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ คิดเป็น
รอ้ ยละ 100
- เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ 100 สังเกตได้จาก
การกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับ
มอบหมายท้งั ในและนอกห้องเรียน ตามเขตพืน้ ที่รบั ผิดชอบ รา่ เริง แจม่ ใส
- เดก็ มพี ฒั นาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของสงั คม ได้รอ้ ยละ 100 สังเกตได้จาก
การชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวัน รู้จกั เกบ็ สง่ิ ของเคร่อื งใช้ ท้ังของส่วนตวั และส่วนรวม รู้จัก
ย้ิม ทักทาย อยู่เป็นนิจ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ
- เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็น
รอ้ ยละ 100
1.3 จุดเด่น
เด็กมีร่างกายเติบโตตามวยั มีน้ำหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถดูแล
สุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึง
ประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตาม
กจิ กรรมประจำวนั อย่างดี

23

1.4 จุดควรพฒั นา
- ดา้ นการมีความคิดรวบยอด การแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ จากการอ่าน
- การทำกจิ กรรมเสริมสตปิ ญั ญาใหเ้ หมาะสมตามวยั
- การพฒั นา ปลูกฝังในเรือ่ งสุขนิสยั ทด่ี ี เช่น การล้างมอื ก่อนรับประทานอาหาร ลา้ งมือก่อนออกจาก
หอ้ งน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์ ให้เป็นนสิ ัย
- การยนื ตรงเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติ
- การใช้คำพูดขอบคณุ ขอโทษ
-การใช้วาจาสภุ าพเหมาะสมกับวัย
1.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหด้ ขี น้ึ กวา่ เดิม
1) โครงการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพและบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย
2) โครงการกฬี าภายในประสานใจชมุ ชน
3) โครงการคณุ ธรรม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ

2.1 กระบวนการพัฒนา
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลาได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์
และพันธกจิ ของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มอี งค์ประกอบที่สำคญั เพื่อที่จะขับเคลือ่ นการศึกษาระดับปฐมวัย
ได้แก่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนา
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเดก็
โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมี
ความสุขในการเรยี นรู้ มีการพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีศกั ยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้างความ
ตระหนกั รบั รู้ และความเข้าใจการจัดการศกึ ษาปฐมวัย โดยให้ผมู้ สี ว่ นรว่ มทุกฝา่ ยได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วม
การจดั การศกึ ษา โดยให้มีการประสานความรว่ มมอื เพื่อรว่ มกนั พฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ
โรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลบั พลา ได้จดั ส่ิงอำนวยความสะดวกท่จี ำเปน็ ซึ่งเออ้ื ประโยชน์ และอำนวย
ความสะดวกตอ่ การพฒั นาเด็ก ทง้ั ด้านร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา คอื จดั สภาพแวดล้อม
ทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหาร
จัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เครื่องนอน สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ
ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เกิดการระบาดของเช้ือ
ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก ให้เพียงพอและเหมาะสมกบั
วัย จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม เล่นทราย ที่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพื้นที่สำหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทำความ
สะอาดร่างกาย ห้องน้ำหอ้ งส้วม พรอ้ มอปุ กรณ์ทจ่ี ำเปน็ และเหมาะสมกบั เด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและ

24

สอดคลอ้ งกับหลักสตู รสถานศึกษาเปน็ รูปแบบการจัดประสบการณท์ ี่ก่อใหเ้ กิดการเตรียมความพรอ้ ม เน้นการ
เรยี นร้ผู ่านการเลน่ และการลงมอื ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง สอดคลอ้ งกับวิถีชวี ิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นจัด
ครูทีเ่ หมาะสมกบั การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือมคี รูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวยั ส่งบุคลากรเข้ารับ
การอบรมเพอื่ พฒั นาศักยภาพอยา่ งตอ่ เน่ือง พฒั นาคณุ ภาพครูดา้ นการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนือ่ ง ซ่ึงส่งผลให้
ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพฒั นาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการ
ออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ ปกครองมีการจัด
สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นที่คำนึงถึงความปลอดภยั ของผู้เรยี น ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการเรียนรู้
ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มมี ุมประสบการณแ์ ละสื่อการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายทีไ่ ด้จากธรรมชาติหรือส่ือใน
ชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรยี นรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหา
ความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บรกิ ารด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ี
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัด
ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดำเนินงานและจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มกี ารนำผลการ
ประเมินไปปรบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม พรอ้ มทงั้ รายงานผลการประเมินตนเอง
ใหห้ น่วยงานต้นสังกดั อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

2.2 ผลการดำเนินงาน
- แผนปฏิบัติการ
- หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
- รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร
- โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการเรยี นรู้
- โครงการทศั นศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้นอกสถานท่ี
- แผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
- รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี
2.3 จุดเดน่
- มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถน่ิ
- การจัดส่งิ อำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณเ์ พื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์ ครูไดร้ ับการพฒั นาด้านวชิ าชีพ
2.4 จดุ ควรพฒั นา
- ส่งเสรมิ ให้ครมู คี วามเชีย่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์
- จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และพอเพียง
- กำหนดแผนการพฒั นาครอู ยา่ งชดั เจน

25

2.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขนึ้ กว่าเดิม
1) โครงการส่งเสรมิ ศกั ยภาพผู้เรยี นระดับปฐมวยั
2) โครงการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ าร

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเป็นสำคญั
ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ยี ม

3.1 กระบวนการพัฒนา
จัดการศึกษาปฐมวยั มงุ่ เน้นความสำคญั ของการพัฒนาการในทกุ ๆ ด้าน ท้งั ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัด
ประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั เพื่อสามารถอยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ไดอ้ ยา่ งเป็นสุข ภายใต้คำวา่ เก่ง ดี
มีสุข ประสบการณใ์ นรปู แบบบรู ณาการการเรียนรู้ แบบเรยี นผ่านเล่น เพื่อให้เดก็ ได้ประสบการณ์ตรง เกิดการ
เรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้ความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ด้านให้เหมาะสมกับวัย ดังน้ี
ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจนิ ตนาการเพื่อใหร้ ่างกาย
ทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้าน
อารมณ์ความรู้สึกไดอ้ ย่างเหมาะสม รู้จกั ยับยงั้ ชัง่ ใจ ร้จู กั การรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความ
รบั ผิดชอบดา้ นสังคม เด็กชว่ ยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวนั ได้ มีวนิ ยั ในตนเอง เลน่ ร่วมกับผู้อ่ืนได้
มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิด
พื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อยา่ งเหมาะสมตามวัยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์
โดยตรงจากการเรยี นผ่านการเล่น โดยลงมอื ปฏิบตั ิจริงดว้ ยตนเองและการเรยี นร้รู ายกลมุ่ เพอื่ กอ่ ให้เกิดความมี
น้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น
ความเหน็ อกเห็นใจ มีความเออื้ เผอ่ื เผอ่ื แต่ตอ่ กันและกนั ซ่งึ เป็นแรงจงู ใจภายนอกทีก่ ระตุ้นให้ผู้เรียนรักการอยู่
ร่วมกันในช้นั เรยี นและปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมใหแ้ ก่เด็กนกั เรยี นหอ้ งเรยี นมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวาง
พอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งหอ้ งเรยี นให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ทีเ่ อื้อต่อ
การจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยจากการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่นการสังเกต การสอบถาม
การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพื่อได้นำผลการประเมินไป
พัฒนาศกั ยภาพของเด็กและพฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรยี นเพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและ
ทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตาม

26

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน
และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา โดยทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ นว่ ยงานต้นสังกัดอยา่ งต่อเน่อื ง

3.2 ผลการดำเนนิ งาน
- มมุ ประสบการณ์
- แบบบันทึกการพฒั นาการของเดก็
- รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
- บรรยากาศ ห้องเรียนแจ่มใส มีมุมส่งเสริมประสบการณก์ ารเรียนรู้
- การจัดกจิ วตั รประจำวัน
3.3 จุดเดน่
- เด็กมีพัฒนาการการอย่างสมดุล
- เดก็ เรียนรู้ จากการเล่นและปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
- มบี รรยากาศ สภาพหอ้ งเรยี นเอือ้ ต่อการเรียนรู้
- ประเมินผลเดก็ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย
3.4 จุดควรพัฒนา
- จดั อุปกรณ์ส่ือการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย
- พฒั นาเครื่องเล่นสนามและระบบสาธารณูปโภค
- จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ เด็กเรียนรกู้ ารอยูร่ ว่ มกนั
- จัดให้มโี ตะ๊ เก้าอท้ี ี่เหมาะกบั เด็กปฐมวยั
3.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ขี ึ้นกว่าเดิม
1) โครงการปรับปรุงหลกั สูตรปฐมวัย
2) โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน
3) โครงการพัฒนาเคร่อื งเล่นสนาม
4) โครงการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพผู้เรยี นระดบั ปฐมวัย
5) โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและสุนทรียภาพผ้เู รียน
6) โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์
7) โครงการสบื สานวัฒนธรรมประเพณีท้องถ่นิ และวนั สำคญั

27

สรุปผลการประเมินในภาพรวมระดบั การศึกษาปฐมวยั
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยใู่ นระดับ ดีเลิศ

โรงเรียนบ้านโนนม่วงท่าพลับพลามีกระบวนการพัฒนาเด็กทีห่ ลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มีระบบคัดกรองนักเรียนก่อนเข้า
เรียนเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่
สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่าง
สม่ำเสมอ มีการชัง่ นำ้ หนัก วัดสว่ นสูง ภาคเรยี นละ 2 ครง้ั มกี ิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพรา่ งกายเป็นประจำ
มีกฎกติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสงู ตามเกณฑ์
มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ อุบัติภัย
และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี หลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสา รสนเทศและ
อุปกรณ์เพ่ือสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ ครูไดร้ ับการพัฒนาดา้ นวิชาชพี

จดั การศกึ ษาปฐมวัยมุ่งเนน้ ความสำคัญของการพฒั นาการในทุก ๆ ดา้ น ทงั้ ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัด
ประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั เพ่ือสามารถอย่รู ว่ มกบั ผ้อู ืน่ ได้อยา่ งเป็นสขุ ภายใตค้ ำวา่ เก่ง ดี
มีสุข ประสบการณใ์ นรูปแบบบูรณาการการเรยี นรู้ แบบเรียนผ่านเลน่ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดป้ ระสบการณ์ตรง เกิดการ
เรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้ความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับวยั จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีครอบคลุมพฒั นาการในทุก ๆ ดา้ นใหเ้ หมาะสมกบั วัย ดังน้ี ด้าน
ร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทกุ
ส่วนท้งั กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญม่ ัดเล็กใหท้ ำงานอย่างมีประสทิ ธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์
ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความ
รับผิดชอบดา้ นสังคม เดก็ ชว่ ยเหลือตัวเองในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวันได้ มวี ินยั ในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อ่ืนได้
มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิด
พื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสรมิ ให้เด็กได้ประสบการณ์
โดยตรงจากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏบิ ัติจรงิ ดว้ ยตนเองและการเรียนร้รู ายกลุ่ม เพ่อื ก่อใหเ้ กดิ ความมี
น้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น
ความเห็นอกเห็นใจ มคี วามเอ้อื เผอ่ื เผือ่ แตต่ ่อกนั และกัน ซ่งึ เป็นแรงจงู ใจภายนอกที่กระตนุ้ ให้ผู้เรียนรักการอยู่
ร่วมกนั ในช้ันเรียนและปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรมให้แกเ่ ดก็ นกั เรยี น

28

ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

มาตรฐาน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ดเี ลศิ

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดเี ลศิ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ

1.1 กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ ให้เป็นไปตาม
ศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวซี้จัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมกี ารจดั การเรียนรู้หลากหลายรูปแบบโดยฉพาะในช่วงทเี่ กิดการแพร่ระบาดของเช้ือ
ไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ทั้งรูปแบบ ON-SITE ON-LINE ON-AIR ON-Demand On-Hand และเน้นให้
ผู้เรียน ลงมือปฏิบัติจริง ใช้กระบวนการคิดและแก้ปัญหา กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการ
อ่านออกของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ระดับช้ัน
ป. 1 พัฒนาครูทกุ คนให้มี ความสามารถในการนำเทคนคิ วธิ ีสอนใหต้ รงตามศักยภาพผูเ้ รียน ใช้ส่อื เทคโนโลยีใน
การจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ การศึกษา
ทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) ทัง้ ระบบ Online และ Offline ครูในสายช้นั เดียวกันรว่ มกันกำหนด
แผนการจัดการเรียนรู้ การจัดและประเมินผลแบบ บูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคดิ
ของผู้เรียน และนำกระบวนการ PLC การแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนของนักเรยี น นอกจากนี้ สถานศึกษา
ไดม้ กี ารดำเนนิ การเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิตของผเู้ รียน เพอื่ ให้ อยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ เนน้ การพัฒนาด้าน
คุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกบั วัยของ ผู้เรียน และตามวิสัยทัศน์โรงเรียน”โรงเรียนดี วิถีพอเพียง เคียงคู่
คุณธรรม” โดยการจดั ค่ายคุณธรรมกับนกั เรียน ทกุ ระดับชนั้ จัดกจิ กรรมการพฒั นาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนา
คุณธรรมผู้เรียนตามหลกั สูตร โตไปไม่โกง เน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีวนิ ัย ซ่อื สตั ย์ รบั ผิดชอบ และมีจติ สาธารณะ มีระบบ
การแนะแนว และการดแู ลสขุ ภาวะจติ น่าภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินมาร่วมกันวางแผนการจดั การเรยี นการสอน และมี
การเรียนรู้ในโลกกว้าง การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในขุมชนรอบ ๆ สถานศึกษา จัดกิจกรรมโครงการ
ดังต่อไปนี้ โครงการค่ายวิชาการ ค่ายภาษาอังกฤษ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนวถิ ีพุทธชัน้ นำ
กิจกรรมวันสำคัญ ปัจฉิมนิเทศ กีฬาสีภายในประสานใจชุมชน ประชาธิปไตยและวินัยนักเรียน ทัศนศึกษา
แหล่งเรียนรู้/กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ /ชุมนุม นำไปสู่การพัฒนานักเรียน 4 ด้าน Head Heart Hand Health

29

เป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ หลากหลายเพื่อช่วยเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้ำใจต่อกัน การทำงาน
เปน็ ทมี รจู้ กั ปรับตวั การชว่ ยเหลือดูแลกนั สามารถนำความร้มู าพัฒนาต่อยอดเปน็ อาชพี ได้

1.2 ผลการดำเนนิ งาน
ในดา้ นผลการประเมินผลลมั ฤทธ์ิทางการเรยี น RT (รวม 79.93) มีคะแนนผลการประเมนิ ท้ังด้านการ
อา่ นออกเสยี ง และดา้ นการอา่ นรเู้ รื่องรวม 2 ด้าน มผี ลคะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดับประเทศ ผลสมั ฤทธิ์ NT (รวม
38.94) ในปีการศึกษา 2563 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไม่สมัครใจในการ
ทดสอบ O-NET มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดีเยี่ยม สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่าง
สร้างสรรค์ สืบค้นข้อมลู หรือแสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีไดด้ ว้ ยตนเอง รวมท้งั สามารถวเิ คราะห์ จำแนก
แยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และ
ตระหนกั ถึงโทษและพิษภยั ของสิ่งเสพติดต่าง ๆ เลือกรับประทานอาหารท่สี ะอาด และมปี ระโยชน์ รักการออก
กำลังกาย นักเรียนทุกคน สามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละ 1 ประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม
ของสถานศกึ ษา ของสังคม มที ศั นคตทิ ่ดี ตี ่ออาชพี สุจรติ รวมถึงมคี วามเขา้ ใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
และระหวา่ งวัย ทงั้ น้ีมีผลการดำเนนิ งานเชิงประจักษ์จากการประเมินในด้านต่าง ๆ
1.3 จุดเด่น
- ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีผลการทดสอบ RT สูงกว่าระดับประเทศ ซึ่งส่งผลดีต่อคุณภาพ
ผู้เรียนในระดบั ท่สี ูงข้นึ ตอ่ ไป
- ผเู้ รียนมีทกั ษะด้านกฬี า สขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายและนำ้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์
มีระเบยี บวนิ ัย มีความรับผิดชอบ มกี ารทำงานเป็นทมี ท่เี ขม้ แข็งโดยการนำของคณะสภานกั เรยี นทำให้โรงเรียน
สะอาด น่าอยู่ นา่ เรียน
1.4 จดุ ควรพฒั นา
ผู้เรียนยังต้องพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ คำนวณและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการใช้
ภาษาอังกฤษในการสอื่ สารเพราะเปน็ ภาษาสากลและยงั ตอ้ งไดร้ บั การส่งเสรมิ ในด้านการรกั การอา่ น รู้จกั เลือก
สอ่ื ทีเ่ หมาะสมกับวัยของตนเองเลือกส่อื เทคโนโลยีที่เปน็ ประโยชนแ์ ต่อการศกึ ษาค้นคว้าหาความร้เู พิ่มเติมและ
การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์

30

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม

2.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล
สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัด
ประชุมระดมความคดิ เห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา เน้นการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วนเพ่ือวางแผน ร่วมกัน
กำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา มกี ารเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้
ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพฒั นา ตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ
ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งาน และสรุปผลการดำเนินงาน
2.2 ผลการดำเนินงาน
- สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพ ปัญหาความต้องการ
พัฒนาของสถานศกึ ษา นโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ความตอ้ งการของ ชมุ ชน ทอ้ งถิ่น เน้นการมีสว่ นร่วมจาก
ทุกภาคส่วน และสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรปู ตามแผนการศึกษาชาติ
- แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรยี นทกุ
กลมุ่ เป้าหมาย มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความรู้ ความเชยี่ วชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย น่า ไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมี
กจิ กรรมจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีก่ ระตุน้ ผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้
- สถานศึกษามีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้อง
กับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาและรว่ มรบั ผิดชอบ
- ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผน
พฒั นาคุณภาพการศึกษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา
- สถานศึกษามกี ารนิเทศ กำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ท่ีเหมาะสม
เปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง เปดิ โอกาสให้ผเู้ กี่ยวขอ้ งมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา สถานศกึ ษามีรูปแบบการบรหิ าร
และการจัดการเซิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง โดยม่งุ พฒั นาผูเ้ รียนตามแนวทางปฏิรปู การศกึ ษา
- สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่มี
คณุ ภาพ

31

2.3 จุดเดน่
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าหมาย ท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี
ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถ
จัดการเรียนรูได้อยา่ งมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำ
รายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการ
วางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา
2.4 จดุ ควรพฒั นา
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนา
ผู้เรียนใหม้ ากขน้ึ
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้มีความ
เข้มแขง็ มสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา และการขับเคล่อื นคุณภาพ การจัดการศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
ระดบั คุณภาพ : ดี

3.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/
กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ได้แก่ งานหลกั สูตรมีการประชมุ ปฏิบัติการ ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา พัฒนาสู่
มาตรฐานสากล มีการบูรณาการ ภาระงาน ชิ้นงาน โดย ทุกระดับช้ันจัดทำหน่วยบูรณาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนด
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ทสี่ อดคลอ้ งกบั หนว่ ยการเรียนรู้ สนับสนนุ ให้ครูจดั การเรยี น การสอนที่สร้างโอกาส
ใหน้ ักเรียนทุกคนมีส่วนรว่ ม ไดล้ งมือปฏิบัตจิ ริงจนสรปุ ความรู้ได้ด้วยตนเอง จดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นทักษะ
การคิดวิเคราะห์ เช่น จัดการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติ (Active Learning) เพื่อฝึกกระบวนการคิด นำไปสู่การ
เรียนรู้ที่สอดคล้องและตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด
กิจกรรมเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ครูรูจ้ ักนักเรยี นเปน็ รายบุคล มีการตรวจสอบ มกี ารวัดและประเมนิ ผลอย่างเป็น
ระบบแล้วนำผลมาปรับปรุงผู้เรียน ครูมีแผนการจัดการเรียนการสอนที่สามารถนำไปจัดการเรียนการสอนได้
จริง มีการใชส้ ื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีผสมกบั ส่ือ DLTV ในรายวิชาท่ีครไู ม่ถนัด ครมู ีการมอบหมายหน้าท่ี
ใหน้ กั เรียนจดั ป้ายนเิ ทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ท้ังภายในห้องเรียน และนอกหอ้ งเรยี น ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียน และ
ได้รับการตรวจให้คำแนะนำโดยคณะกรรมการวจิ ยั ของเขตพน้ื ท่ี การศึกษา ครทู ุกคนต้องปฏบิ ตั ิกิจกรรม PLC
เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน

32

3.2 ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่อื พฒั นาใหค้ รูการ จดั การเรยี นการสอนท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลให้ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 3 อยู่ ในระดับดี โดยครูมีแผนการจัดการ
เรยี นรู้ท่สี ามารถนำไปจัดกิจกรรมท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั เนน้ การปฏิบัติ (Active Learning) ให้นักเรียนมีส่วน
ร่วมในการจดั กิจกรรม ครูร้จู ักนักเรียนเป็นรายบคุ คล จากการออกเยยี่ มบ้านนกั เรียนแลว้ คัดกรองนกั เรียนเป็น
3 กล่มุ ไดแ้ ก่ กลุม่ วางใจ กลุ่มหว่ งใย กล่มุ ใกลช้ ดิ ครมู ีการใช้สื่อ นวตั กรรมเทคโนโลยี สอ่ื DLTV ผสมกับการ
สอนของครูในรายวิชาที่ไม่ถนัดและต้องการเรียนรู้เพิ่มเติม ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ ตาม
มาตรฐานทีค่ ุรุพัฒนากำหนดเขา้ ร่วมแรกเปล่ียนเรยี นรู้โดยจัดชวั่ โมง PLC สปั ดาห์ละ 2 ชว่ั โมง ครูมีการบริหาร
จดั การช้ันเรยี นเชิงบวกเนน้ การปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งครกู ับนกั เรียน จดั กิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความสุข จัดบรรยากาศในชัน้ เรียนทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ ตามโครงการห้องเรียนติดดาว ครูทุกคนทำงานวิจัยใน
ชั้นเรยี นอยา่ งน้อยปีละ 1 เร่ือง เมอื่ ส้นิ ปกี ารศกึ ษาครูจัดกิจกรรมเปดิ บ้านแสดงผลงานทางวชิ าการให้ชมุ ชนเข้า
มาชมและเป็นการนำเสนอผลงานนักเรียนและครูตามโครงการ Open House ครูมีการประเมินตนเอง SAR
(Self – Assessment)
3.3 จุดเด่น
ครูมีความตัง้ ใจ มุง่ มัน่ ในการพฒั นาการสอน โดยจดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้ โดยการคิด ได้ปฏิบตั ิ
จริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหา ความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง
อย่างต่อเนือ่ ง นักเรียนมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยใน
ชั้นเรียนของครูทุกคน ได้รับการตรวจ ประเมินพร้อมทั้งให้ดำแนะน่าจากคณะกรรมการวิจัยของเขตพื้นที่
การศกึ ษา
3.4 จดุ ควรพฒั นา
1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนา
ผเู้ รียน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้มีความ
เข้มแขง็ มสี ว่ นรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และการขบั เคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษา

33

สรุปผลการประเมินในภาพรวมระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอยูใ่ นระดับ ดีเลศิ

จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการ พัฒนาคุณภาพ
การศึกษาประสบผลสำเร็จตามที่ต้งั เป้าหมายไวในแต่ละมาตรฐาน จากผลการ ประเมนิ สรปุ วา่ ได้ระดับดีเยี่ยม
ทั้งน้ี เพราะมาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศกึ ษา อยูใ่ นระดบั ดีเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการ
จดั การศึกษา อยู่ในระดับดเี ยีย่ ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั อยใู่ น
ระดบั ดี

ทั้งนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายที่เป็นไป ตามปัญหาและ
ความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถาน ศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น
จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียน การ
สอ่ื สารทง้ั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคิดคำนวณ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
ไดด้ ี มคี วามประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคณุ ลักษณะตามทีส่ ถานศึกษากำหนดปรากฏอย่างซัด
เจน ดงั ทีป่ รากฏผลประเมนิ ใน มาตรฐานท่ี 1 ในด้านกระบวนการบรหิ ารจัดการของผ้บู ริหารสถานศึกษามีผล
ประเมนิ ในราย มาตรฐานอยู่ในระดับดีเย่ียม สถานศึกษามกี ารวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดำเนินงานตาม
แผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนาและ
สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดำเนินงาน และการปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม วิเคราะห์
ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความต้องการ ของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรม
การเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาแก้ปัญหารายบุคคล มีการ
ประเมินผลจากสภาพจริงในทกุ ข้ันตอน สถานศกึ ษาดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็น
ขั้นตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมผี ลประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม โดยสถานศึกษาให้
ความสำคัญกบั ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝ่ายเพื่อเกิดความรว่ มมือในการวางระบบ และดำเนนิ งานประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความมั่นใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของ
สถานศึกษาในระดับสูง

34

สว่ นท่ี 3
สรุปผลการประเมิน และแนวทางการพัฒนา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษา จะต้องนำไป
วิเคราะห์ สงั เคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชอ่ื มโยงหรอื สะทอ้ นภาพความสำเร็จ กบั แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา (3 - 5 ป)ี และนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดงั นนั้ จากผล
การดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ
มาตรฐาน พรอ้ มทง้ั แผนงาน/แนวทางการพฒั นาเพือ่ ให้ได้คุณภาพทสี่ ูงขึ้นในอนาคตดงั น้ี

ระดบั การศึกษาปฐมวยั ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ

จุดเดน่ จุดควรพฒั นา

ด้านคณุ ภาพของผู้เรยี น ด้านคุณภาพของผู้เรียน

- เด็กมรี ่างกายเติบโตตามวยั มีน้ำหนักสว่ นสูงตาม - ด้านการมคี วามคดิ รวบยอด การแก้ปญั หาที่เกดิ

เกณฑ์ มที กั ษะการเคล่อื นไหวตามวยั สามารถดแู ล จากการอ่าน

สุขภาพและหลกี เลีย่ งตอ่ สภาวะท่เี สี่ยงต่ออุบัติเหตุ - การทำกจิ กรรมเสรมิ สติปัญญาให้เหมาะสมตาม

ภยั และสง่ิ เสพติด มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมท่ี วัย

พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนา - การพฒั นา ปลกู ฝงั ในเรือ่ งสขุ นิสัยท่ดี ี เช่น การ

สิง่ แวดลอ้ ม ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสขุ มี ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมอื กอ่ นออกจาก

อารมณแ์ จม่ ใส รา่ เรงิ สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยูใ่ น หอ้ งน้ำ หอ้ งส้วม และการเลอื กรับประทานอาหารที่

สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ มีสติปัญญาเรียนรไู้ ดต้ าม มปี ระโยชน์ ใหเ้ ปน็ นิสยั

กิจกรรมประจำวันอยา่ งดี - การยนื ตรงเม่ือไดย้ ินเพลงชาติ

- การใชค้ ำพดู ขอบคุณ ขอโทษ

- การใช้วาจาสภุ าพเหมาะสมกบั วัย

ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ

- มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทง้ั - จัดครใู ห้เพียงพอตอ่ ชัน้ เรยี น

4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของทอ้ งถ่ิน - ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเช่ียวชาญด้านการจัด

- การจัดส่ิงอำนวยความสะดวกให้บริการดา้ นสื่อ ประสบการณ์

เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพอ่ื สนับสนุนการจัด - จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพื่อการเรียนรู้ อยา่ ง

ประสบการณ์ ปลอดภัย และพอเพยี ง

- ครไู ด้รับการพฒั นาดา้ นวิชาชีพ - กำหนดแผนการพฒั นาครูอย่างชัดเจน

35

ด้านกระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็
สำคญั สำคญั
- เดก็ มีพัฒนาการการอยา่ งสมดุล - จัดอุปกรณ์สื่อการเรยี นการสอนทห่ี ลากหลาย
- เดก็ เรียนรู้ จากการเลน่ และปฏิบัติกจิ กรรม - พัฒนาเครือ่ งเลน่ สนามและระบบสาธารณูปโภค
- มบี รรยากาศ สภาพหอ้ งเรียนเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ - จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ เดก็ เรียนรู้การอย่รู ว่ มกนั

- ประเมินผลเด็กดว้ ยวิธีการหลากหลาย

ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ

จดุ เด่น จุดควรพัฒนา

ด้านคณุ ภาพของเด็ก ดา้ นคุณภาพของเด็ก
1) ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึน มีผลการ 1) นกั เรียนขาดความเช่ือมนั่ ในความรู้ท่ตี นมีสังเกต
ประเมนิ ระดบั ชาติ (RT) สูงกว่าค่าเฉลยี่ ชาติ ไดจ้ ากนักเรยี นไม่สมัครใจในการเข้ารบั การทดสอบ
นกั เรยี นกลา้ แสดงออก รา่ เริงแจม่ ใส สขุ ภาพกาย ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) และผลการ
แข็งแรง และเป็นผ้มู ีคณุ ธรรม จริยธรรมตามท่ี ทดสอบ (NT) ยังต่ำกวา่ ค่าเฉลย่ี ระดับชาติ
สถานศึกษากำหนด
2) ผเู้ รียนมีสขุ ภาพรา้ งกายแข็งแรง มสี มรรถภาพ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ทางกายและน้ำหนัก สว่ นสงู ตามเกณฑ์ มรี ะเบยี บ 1) ควรเปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองได้ มสี ว่ นรว่ มในการ
วินัย เป็นทยี่ อมรับของชมุ ชนโดยรอบในเร่ืองความ เสนอความคิดเห็น ในการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นา
มวี ินยั เคารพกฎกตกิ า ระเบียบของสังคม ผู้เรยี นมากข้นึ
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ 2) ควรสร้างเครือข่ายความรว่ มมอื กบั ผมู้ ีส่วน
1) ผู้บริหารมีความตง้ั ใจ มีความมงุ่ มนั่ มีหลกั การ เกยี่ วข้องในการจัดการ ศกึ ษาของโรงเรยี นให้มีความ
บริหาร และมีวิสัยทัศน์ทดี่ ี ในการบริหารงาน เขม้ แขง็ มีสว่ นร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการ จัด
สามารถเป็นแบบ อย่างท่ีดีในการทำงาน และคณะ การศึกษา และการขับเคลื่อน คณุ ภาพการจัด
กรรมการสถานศกึ ษามีความต้งั ใจ และ มีความ การศกึ ษา
พรอ้ มในการปฏิบัตหิ นา้ ทต่ี าม บทบาท 3.ควรมแี ผนการนิเทศน์ภายในทช่ี ัดเจน
2) โรงเรยี นมีการบรหิ ารและการจดั การ อย่างเปน็
ระบบ ทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกำหนดวิสยั ทศั น์
พันธกจิ เป้าหมายท่ซี ดั เจน มกี าร ปรบั แผนพฒั นา
คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปีท่ี
สอดคลอ้ งกบั ผลการจดั การศึกษา สภาพปญั หา
ความ ตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ปู
การศกึ ษา ท่มี ุ่งเน้นการพัฒนาให้ผเู้ รยี น มคี ุณภาพ

36

ตามมาตรฐานหลกั สูตรของ สถานศกึ ษา ครผู ู้สอน

สามารถจัดการ เรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ มีการ

ดำเนนิ การ นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล

การดำเนินงาน และจดั ทำรายงานผล การจดั การ

ศกึ ษาและโรงเรยี นได้ใชก้ ระบวนวจิ ยั ในการรวบรวม

ขอ้ มูลมาใช้ เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ

สถานศกึ ษา

ด้านการจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สำคญั ดา้ นการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั

1) ครูพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ มคี วามตงั้ ใจ มงุ่ ม่นั ใน 1) ครคู วรจัดกิจกรรมเนน้ ให้ผเู้ รียนได้มี

การปฏิบตั ิหน้าทอ่ี ยา่ งเตม็ เวลา และความสามารถ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์

2) ครจู ดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อ อย่างหลากหลาย เลอื กใช้ส่อื เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม

เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 3) ครใู ห้ และ ใชแ้ หล่งเรียนร!ู้ นการพฒั นาตนเอง

นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัด บรรยากาศ 2) ครคู วรจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นใน ระดบั ชนั้ ป.1

สภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อ การเรยี นรู้ - ป.3 ใหส้ ามารถ นำเสนอ อภปิ รายและแลกเปลี่ยน

4) ครจู ัดกิจกรรมใหน้ กั เรยี นเรยี นรจู้ าก การคิด ได้ เรยี นรอู้ ย่างสมเหตสุ มผล และมี ทักษะในการ

ปฏบิ ตั ิจรงิ ดว้ ยวธิ ีการและ แหล่งเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย แก้ปญั หาตามสถานการณ์ ได้อยา่ งเหมาะสม

4) ผลงานวจิ ัยในชัน้ เรยี นของครูทุกคน ไดร้ บั การ 3) ครูควรจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ในระดบั ชน้ั ม.1

ตรวจประเมนิ และคำแนะนำ จากคณะกรรมการวิจัย - ม.3ใหม้ พี ฤติกรรม ทัศนคติที่ดีตอ่ ความเปน็ นไทย

ไม่หลงใหลกบั ค่านิยมตา่ งชาติ จนเกดิ การ

ลอกเลียนแบบ ทำใหล้ ืมวฒั นธรรมอันดีงามของไทย

4) ครูควรจัดการเรียนการสอนดว้ ยวิธี การท่ี

หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้

ตวั ชว้ี ดั ตาม หลกั สูตรการศกึ ษาชัน้ พนื้ ฐาน และ ฝึก

ให้นกั เรียนได้คิดวิเคราะห์ หาความรู้จากแหลง่

เรียนรู้ ส่อื เทคโนโลยีให้มากขึน้ และพฒั นาสอ่ื

แหลง่ เรยี นรู้ จัดเตรียมห้องปฏบิ ัติ การใหอ้ ยู่ใน

สภาพดแี ละพรอ้ มใช้ งานเสมอ

37

แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพอ่ื ใหไ้ ด้คณุ ภาพท่สี งู ขึ้น
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ เ่ี น้นการพฒั นาผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคลให้ชัดเจนข้นึ
2. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำการ

วจิ ยั ในชน้ั เรยี นเพ่อื พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ไดเ้ ต็มศกั ยภาพ
3. การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลีย่ นเรียนรใู้ นงานทีไ่ ด้รับ มอบหมาย ติดตามผล

การนา่ ไปใช้และผลทเี่ กดิ กบั ผู้เรียนอย่างตอ่ เนือ่ ง
4. การพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรขู้ องชมุ ชน
5. การพัฒนาครูผูส้ อนในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ท่ีสอดคลอ้ งกับการพฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

1


Click to View FlipBook Version