The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้20204-2107

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bana_60000, 2021-11-25 03:34:02

แผนการจัดการเรียนรู้20204-2107

แผนการจัดการเรียนรู้20204-2107

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20204-2107 รายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ฉบับน้ี ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการจัดการเรียนรู้ จัดทาเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 10 หน่วย
ประกอบดว้ ย (1) ความรเู้ บ้ืองต้นเกยี่ วกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด (2) องคป์ ระกอบของโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนการแก้ปัญหา (3) การติดตั้งเครื่องมือในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
(4) โครสร้างภาษา PHP (5) ตัวแปร ตวั ดาเนินการ และอารเ์ รย์ (6) การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน (7)
การใช้งาน PHP ร่วมกับฟอร์ม (8) การใช้งาน PHP เชื่อมต่อฐานข้อมลู (9) การใช้ภาษา SQL ในการจัดการ
ฐานขอ้ มลู (10) การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ ทส่ี ามารถใช้ได้ในระบบปฏบิ ัติการทหี่ ลากหลาย พร้อมท้ัง
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรยี น พรอ้ มเฉลย และส่ือการเรียนการสอนตา่ ง ๆ เพื่อให้
ผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะในสถานการณ์ต่าง ๆ มีทักษะการคิดและแก้ปัญหา และบูรณาการกับการทางานตามสาขา
อาชีพต่าง ๆ ต่อไป

ผู้จัดทาหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และผู้สนใจ
ท่ัวไป หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผจู้ ัดทายินดีนอ้ มรบั ไวเ้ พอ่ื ปรบั ปรุงในโอกาสตอ่ ไป

ลงช่อื
(นายพรี วสั ทรพั ยป์ ระมวล)
ครผู สู้ อน

สำรบญั

หนำ้
คานา .............................................................................................................................................. ก
สารบญั ........................................................................................................................................... ข
สว่ นประกอบตอนตน้ ............................................................................................................. 1

หลกั สตู รรายวิชา ................................................................................................................. 2
หน่วยการเรียนรู้ .................................................................................................................. 3
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา ............................................................... 4
การวัดผลและประเมนิ ผล ..................................................................................................... 5
โครงการจดั การเรียนรู้ .......................................................................................................... 6
สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ....................................................................... 11
ตารางวเิ คราะห์หลักสูตรรายวชิ า .......................................................................................... 16
สว่ นประกอบของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ................................................................................. 18
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด ... 24
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ละขัน้ ตอน 30

วธิ กี ารแก้ปญั หา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 การตดิ ตง้ั เครื่องมือในการเขยี นโปรแกรมบนมาตฐานเปิด......... 38
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 โครงสรา้ งภาษา PHP................................................................. 42
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 ตวั แปร ตัวดาเนนิ และอารเ์ รย์…………………………………………… 46
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน…………………………………. 51
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน…………………………………. 58
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน…………………………………. 65
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 การเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน…………………………………. 73
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน……………………….………. 81

สำรบญั (ตอ่ )

ส่วนประกอบตอนทำ้ ย ............................................................................................................ 87

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยที่ 1 88

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยท่ี 2 89

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยท่ี 3 90

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยที่ 4 91

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยที่ 5 92

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยที่ 6 93

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 7 94

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยท่ี 8 95

เฉลยแบบทดสอบ หน่วยที่ 9 96

เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยที่ 10 97

สว่ นประกอบตอนตน้

หลกั สตู รรำยวิชำ

ชอื่ วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชัน้ ปวช.

วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 20204-2107 เป็นรายวิชาตามโครงสร้าง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาพานิชยการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หมวด
วิชาทักษะวิชาชีพ กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ มีจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา
ดงั นี้

จดุ ประสงค์รำยวิชำ เพ่ือให้

1. เข้าใจเกย่ี วกับหลักการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์
2. สามารถวิเคราะห์ และเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
3. สามารถสร้างชดุ คาส่ังตามข้ันตอนการแก้ปญั หา (Algorithm)
4. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ยั ท่ีดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วยความละเอยี ดรอบคอบ และถูกตอ้ ง

สมรรถนะรำยวชิ ำ

1. แสดงความร้เู กี่ยวกับหลกั การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์
2. เขียนโปรแกรมภาษา ในงานธุรกจิ

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์การแก้ไขปัญหา (Algorithm) กระบวนการเขียนโปรแกรมคาสั่งควบคุมการทางานของ
โปรแกรมและการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีเปิดใช้ได้ในระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย

หนว่ ยกำรเรยี นรู้

ช่อื วิชำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

หนว่ ยที่ ชื่อหนว่ ย จำนวนคำบ

1 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ยี วกบั การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ 4
2 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนการ
4
แก้ปัญหา
3 การติดต้ังเคร่ืองมือในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด 4
4 โครงสร้างภาษา PHP 4
5 ตัวแปร ตัวดาเนินการ และอาร์เรย์ 4
6 การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน 8
7 การใช้งาน PHP
8
ร่วมกับฟอรม์
8 การใช้งาน PHP เชือ่ มต่อฐานขอ้ มูล 12
9 การใช้ภาษา SQL ในการจัดการฐานขอ้ มูล 12
10 การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดทีส่ ามารถใช้ได้ในระบบปฏบิ ตั กิ ารที่
8
หลากหลาย
วดั ผลสมั ฤทธ์ิกลางภาคและปลายภาคเรียน 8
76
รวม

ควำมสอดคล้องของหนว่ ยกบั สมรรถนะรำยวชิ ำ

ชือ่ วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดับช้นั ปวช.

ควำมสอดคลอ้ ง

หน่วย ชื่อหน่วย คำบ
ที่
แสดงความ ้รูเก่ียวกับหลักการเ ีขยน
โปรแกรมภาษาคอม ิพวเตอร์
เขียนโปรแกรมภาษา ในงานธุรกิจ

1 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกยี่ วกบั การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ 4 ⁄

2 องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และ 4 ⁄
ข้ันตอนการแก้ปัญหา

3 การติดต้ังเครื่องมือในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐาน 4
เปิด ⁄

4 โครงสร้างภาษา PHP 4 ⁄

5 ตัวแปร ตัวดาเนินการ และอาร์เรย์ 4 ⁄

6 การเขียนโปรแกรมควบคุมการทางาน 8

7 การใช้งาน PHP ร่วมกบั ฟอร์ม 8 ⁄

8 การใชง้ าน PHP เชื่อมต่อฐานข้อมูล 12 ⁄

9 การใช้ภาษา SQL ในการจัดการฐานข้อมลู 12 ⁄

10 การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ ทีส่ ามารถใชไ้ ด้ใน 8
ระบบปฏิบัตกิ ารทีห่ ลากหลาย

วดั ผลสัมฤทธปิ์ ลายภาคเรยี น 8

รวม 76

กำรวดั ผลและประเมินผล

ช่อื วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับช้ัน ปวช.

1. กำรวัดผล

- พุทธิพสิ ัย 1) ใบงาน 10 %

2) ทดสอบหลังเรียน 10 %

3) วดั ผลสัมฤทธิ์ (กลางภาค) 20 %

4) วัดผลสมั ฤทธ์ิ (ปลายภาค) 20 %

รวม 60 %

- ทักษะพสิ ัย 1) ใบงาน รวม 30 %

- จิตพิสยั รวม 10 %

รวมท้ังหมด 100 %

(คะแนนทดสอบก่อนเรียนไว้สาหรับเปรียบเทียบกบั คะแนนทดสอบหลงั เรยี น)

คะแนนระหวำ่ งภำค/ปลำยภำค 80:20

ระหว่างภาค 1) ใบงาน 40 %

2) ทดสอบหลงั เรยี น 10 %

3) วดั ผลสมั ฤทธิ์ (กลางภาค) 20 %

4) จติ พิสยั 10 %

รวม 80 %

ปลายภาค 1) วัดผลสัมฤทธ์ิ (ปลายภาค) 20 %

รวม 20 %

2. กำรประเมนิ ผล (องิ เกณฑ์)

80 – 100 คะแนน ได้ผลการเรียน 4.0 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ ีเยย่ี ม

75 – 79 คะแนน ได้ผลการเรยี น 3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ีมาก

70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 3.0 หมายถงึ ผลการเรียนอย่ใู นเกณฑ์ดี

65 – 69 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 2.5 หมายถึง ผลการเรียนอย่ใู นเกณฑ์ดีพอใช้

60 – 64 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 2.0 หมายถึง ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑพ์ อใช้

55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 1.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ออ่ น

50 – 54 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ออ่ นมาก

 50 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 0 หมายถงึ ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ขัน้ ต่า

โครงกำรจดั กำรเรยี นรู้

ชอ่ื วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชน้ั ปวช.

ครัง้ ท่ี ทฤษฎี ช่ัวโมง
ปฏบิ ัติ

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

1 หน่วยท่ี 1 ความรู้เบ้อื งต้อนเกยี่ วกบั การเขยี น ใบงำนท่ี 1 ความรู้ 2 2
2 2
โปรแกรมบนมาตรฐานเปิด เบือ้ งต้นเกย่ี วกับการ

1.1 ความหมายของการเขียนโปรแกรม เขยี นโปรแกรมบน

1.2 ความสาคัญของมาตรฐานเปิด มาตรฐานเปิด

1.3 ความหมายของโปรแกรมโอเพนซอร์ซ

1.4 ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานเปิดกับ

โปรแกรมโอเพนซอร์ซ

1.5 ภาษา PHP และประวัตคิ วามเปน็ มาของ

ภาษา PHP

1.6 เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการพฒั นาโปรแกรม

1.7 หลกั การทางานของภาษา PHP

1.8 คณุ สมบัติของภาษา PHP

แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 1

2 หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของโปรแกรม ใบงำนที่ 2.1 การ

ภาษาคอมพิวเตอร์และขัน้ ตอนการแก้ปัญหา วเิ คราะหง์ าน

2.1 ภาษาคอมพิวเตอร์ ใบงำนที่ 2.2 การเขียนผงั

2.2 หลักการเขยี นโปรแกรม งานแสดงตามเงือ่ นไขและ
2.3 การเขียนผังงาน การทาซ้า
2.4 รหสั เทยี ม ใบงำนท่ี 2.3 การเขียน
2.5 ข้นั ตอนการแกป้ ญั หา รหสั เทยี มจากเงอ่ื นไข
โปรแกรม
แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2

ใบงำนท่ี 2.4 ขน้ั ตอนการ

แกป้ ัญหาหรืออัลกอริทมึ

โครงกำรจดั กำรเรียนรู้

ชือ่ วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดบั ชนั้ ปวช.

ครัง้ ที่ ทฤษฎี ชวั่ โมง
ปฏิบัติ

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

3 หน่วยที่ 3 การติดตั้งเครื่องมือในการเขียน ใบงำนที่ 3.1 การติดต้งั 2 2
2 2
โปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ AppServ 2.5.10

3.1 การติดตง้ั AppServ ใบงำนที่ 3.2 การสรา้ ง

3.2 การสร้างพื้นท่สี าหรบั เกบ็ เวบ็ แอป พนื้ ท่ีเกบ็ เว็บแอปพลิเคชัน

พลิเคชัน และการเรียกใชง้ าน

3.3 การตดิ ตั้งโปรแกรม Notepad++ ใบงำนท่ี 3.3 การติดตั้ง
3.4 การใชง้ านโปรแกรม Notepad++ โปรแกรม Notepad++ V
3.5 สว่ นประกอบของโปรแกรม 7.3.0

Notepad++

3.6 การใช้งานโปรแกรม Notepad++

เบ้ืองตน้

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 3

4 หน่วยท่ี 4 โครงสร้างภาษา PHP ใบงำนท่ี 4.1 การใชค้ าส่ัง

4.1รปู แบบการประกาศใช้แท็กภาษา PHP echo และ print

4.2คาสั่งพื้นฐานในภาษา PHP ใบงำนที่ 4.2 การแทรก

4.3คาสงวนในภาษา PHP ภาษา PHP ในภาษา

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 4 HTML

ใบงำนที่ 4.3 การแทรก
ภาษา HTML ในภาษา
PHP

โครงกำรจดั กำรเรียนรู้

ชือ่ วิชำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ชั้น ปวช.

ครัง้ ท่ี ทฤษฎี ชวั่ โมง
ปฏบิ ัติ

ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

5 หน่วยที่ 5 ตวั แปบ ตวั ดาเนินการ และอารเ์ รย์ ใบงำนที่ 5.1 การ 2 2
ประกาศใช้งานตวั
5.1 ตวั แปรในภาษา PHP แปร
5.2 ตวั ดาเนนิ การ
5.3 อารเ์ รย์ ใบงำนที่ 5.2 การใช้
แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 5 งานตวั ดาเนนิ การ

6 หนว่ ยท่ี 6 กำรเขยี นโปรแกรมควบคุมกำรทำงำน ใบงำนที่ 6.1 การ

6.1 การใช้งานคาสงั่ if ประยุกตใ์ ชง้ านคาสัง่

6.2 การใชง้ านคาสั่ง switch if

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 6 ใบงำนท่ี 6.2 การ

ประยุกต์ใช้งานคาส่ัง

switch

7 หน่วยที่ 6 กำรเขียนโปรแกรมควบคุมกำรทำงำน ใบงำนท่ี 6.3 การ 2 2

(ตอ่ ) ประยกุ ต์ใช้งานคาสง่ั

6.3 การใช้งานคาสง่ั for for

6.4 การใช้งานคาสัง่ while ใบงำนที่ 6.4 การ

6.5 การใช้งานคาสั่ง do while ประยกุ ตใ์ ชง้ านคาส่ัง

while

โครงกำรจัดกำรเรยี นรู้

ชื่อวชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ชน้ั ปวช.

คร้งั ที่ ทฤษฎี ชัว่ โมง
ปฏิบตั ิ

ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

8 หนว่ ยที่ 7 กำรใช้งำน PHP ร่วมกับฟอร์ม ใบงำนท่ี 7.1 การสร้าง 1 3
2 2
7.1 การสร้างฟอรม์ ส่วนรับข้อมลู Text

7.2 การสร้างฟอรม์ และส่วนรับข้อมลู เพ่ือใช้ Field

งาน ใบงำนท่ี 7.2 การสรา้ ง

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 7 สว่ นรับข้อมูล Text

Area

ใบงำนที่ 7.3 การสรา้ ง

สว่ นรับขอ้ มลู Check

Box

9 หน่วยท่ี 7 กำรใช้งำน PHP ร่วมกบั ฟอรม์ (ต่อ) ใบงำนที่ 7.4 การสรา้ ง

7.3 การใช้ตารางในการจดั การฟอรม์ ส่วนรับขอ้ มูล Radio
Button

ใบงำนท่ี 7.5 การสร้าง
ส่วนรบั ข้อมลู
List/menu

10 หน่วยท่ี 7 กำรใช้งำน PHP ร่วมกบั ฟอรม์ (ตอ่ ) ใบงำนที่ 7.6 การสรา้ ง 2 2

7.4 การเขยี นโปรแกรมส่งขอ้ มลู ไปยงั เว็บ ส่วนรับข้อมูล File
เซิร์ฟเวอร์ Field

ใบงำนท่ี 7.7 การ

ประยุกต์ใช้ฟอร์ม

โครงกำรจดั กำรเรยี นรู้

ชอ่ื วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชั้น ปวช.

คร้ังที่ ทฤษฎี ชัว่ โมง
ปฏิบตั ิ

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

11 หน่วยท่ี 8 การใชง้ าน PHP เชอื่ มต่อฐานข้อมลู ฝกึ ปฏิบตั ิสร้าง 2 2
2 2
8.1 การสร้างฐานขอ้ มลู ด้วย phpMyAdmin ฐานขอ้ มูลด้วย
2 2
8.2 การสร้างตารางในฐานข้อมูล phpMyAdmin 2 2
2 2
แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 8

12 หน่วยที่ 8 การใช้งาน PHP เชื่อมต่อฐานข้อมูล ใบงำนท่ี 8 การสร้าง

(ตอ่ ) ฐานข้อมลู และเขียน

8.3 การเช่ือมต่อฐานข้อมูลดว้ ย โปรแกรมตดิ ต่อ

mysql_connect ฐานข้อมูล

8.4 การประยกุ ตใ์ ช้ PHP ในการเขยี น

โปรแกรมเก็บเบอรโ์ ทรศัพท์

13 หน่วยท่ี 9 การใช้ภาษา SQL ในการจัดการ ฝกึ ปฏิบตั เิ ขียนฟังกช์ ัน่

ฐานข้อมูล การใช้งาน

9.1 การใช้งานฟังก์ชัน mysql_select_db mysql_select_db

9.2 การใช้งานคาสั่ง select

14 หนว่ ยที่ 9 การใช้ภาษา SQL ในการจัดการ ฝกึ ปฏิบตั ิเขียนฟังกช์ น่ั

ฐานข้อมลู (ต่อ) การใช้งาน

9.3 การใชง้ านฟงั กช์ ัน mysql_query mysql_query

9.4 การใชง้ านฟงั ก์ชัน mysql_num_rows ฝกึ ปฏิบตั เิ ขียนฟังกช์ ั่น

mysql_num_row

15 หน่วยท่ี 9 การใช้ภาษา SQL ในการจดั การ ใบงานที่ 9 การเขยี น

ฐานขอ้ มูล (ต่อ) โปรแกรมระบบสมัคร

9.5 การใช้งานฟงั กช์ นั mysql_fetch_array สมาชิก

9.6 การประยุกตใ์ ช้ PHP ในการเขียน

โปรแกรมระบบบันทกึ เบอร์โทรศัพท์

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 9

โครงกำรจดั กำรเรียนรู้

ช่ือวชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชั้น ปวช.

ครง้ั ที่ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ
16 หนว่ ยท่ี 10 การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด ทดสอบใชง้ าน
22
ทสี่ ามารถใช้ไดใ้ นระบบปฏบิ ัตกิ ารทห่ี ลากหลาย โปรแกรมบน
22
10.1 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน ระบบปฏบิ ัติการ
8
ระบบปฏิบตั กิ ารท่ีหลากหลาย Windows และ Linux 42 34

10.2 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน 76

ระบบปฏิบัตกิ าร Windows

10.3 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน

ระบบปฏบิ ตั ิการ Linux

17 หน่วยท่ี 10 การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด ทดสอบใช้งาน

ที่สามารถใช้ได้ในระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย โปรแกรมบน

(ต่อ) ระบบปฏิบตั กิ าร Mac

10.4 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน OS X , Android และ

ระบบปฏบิ ัติการ Mac OS X IOS

10.5 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน ใบงำนที่ 10 การนา

ระบบปฏบิ ัตกิ ารมือถอื Android โปรแกรมทดสอบใช้

10.6 การทดสอบใชง้ านโปรแกรมบน งานจริงบนเวบ็

ระบบปฏิบัติการมือถอื IOS เซิรฟ์ เวอร์

แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 10

วัดผลสัมฤทธ์ิกลางภาค - ปลายภาคเรียน

รวม

รวมท้ังหมด

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ชอ่ื วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ชือ่ เรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
หน่วยท่ี 1 ความรู้พ้นื ฐานเก่ยี วกบั การ 1. แสดงความรู้พ้ืนฐานเก่ยี วกับโปรแกรม

ประมาณราคา ภาษาคอมพิวเตอร์และหลักการทางานของภาษา PHP
1.1 ความหมายของการเขียนโปรแกรม
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.2 ความสาคัญของมาตรฐานเปดิ 1. บอกความหมายของการเขยี นโปรแกรม
1.3 ความหมายของโปรแกรม 2. บอกความหมายของมาตรฐานเปิด
โอเพนซอร์ซ 3. บอกความหมายของโปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.4 ความแตกต่างระหว่าง 4. อธบิ ายความแตกตา่ งของมาตรฐานเปิดกบั
มาตรฐานเปดิ กับโปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.5 ภาษา PHP และประวตั คิ วาม โอเพนซอร์ซ
เป็นมาของภาษา PHP 5. อธบิ ายภาษาทใี่ ช้เขียนโปรแกรมบนมาตรฐาน
1.6 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการพัฒนา
โปรแกรม เปิด
1.7 หลักการทางานของภาษา 6. บอกประวัตคิ วามเปน็ มาของภาษา PHP
PHP 7. บอกเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการพฒั นาโปรแกรมบน
1.8 คณุ สมบตั ิของภาษา PHP
แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 1 มาตรฐานเปิด
แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 1 8. อธิบายหลักการทางานของภาษา PHP
ด้ำนทกั ษะ 9. บอกคุณสมบตั ิของภาษา PHP
ใบงำนท่ี 1 ความรูเ้ บื้องต้นเก่ียวกับการ
เขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด อธิบายเกย่ี วกับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดได้
เขา้ ใจหลักการทางานของภาษา PHP
ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณำกำร แสดงออกถึงความมีวินัย ความสนใจใฝ่รู้ ความรัก
คำ่ นิยมหลกั 12 ประกำร สามัคคี และความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

ชอื่ วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชน้ั ปวช.

ชอื่ เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั องค์ประกอบของโปรแกรม
หน่วยที่ 2 องคป์ ระกอบของโปรแกรม ภาษาคอมพวิ เตอร์ และหลักการเขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนการแก้ปัญหา 2. แสดงความรู้เกยี่ วกับผังงาน รหัสเทยี ม และขัน้ ตอนการ
แก้ปัญหา
2.1 ภาษาคอมพิวเตอร์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
2.2 หลักการเขียนโปรแกรม 1. บอกหลกั การเขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกต้อง
2.3 การเขียนผังงาน 2. บอกองคป์ ระกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอรไ์ ด้ถูกต้อง
2.4 รหสั เทียม 3. บอกความหมาย และหลักการเก่ยี วกับการเขยี นผังงานได้
2.5 ขน้ั ตอนการแก้ปัญหา ถกู ต้อง
แบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 4. บอกหลักเกณฑ์ และรูปแบบการเขยี นรหัสเทยี มได้ถกู ต้อง
แบบทดสอบท้ำยบทท่ี 2 5. บอกความหมายขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาไดถ้ ูกตอ้ ง
6. บอกถงึ การเขยี นขน้ั ตอนการแก้ปญั หาท่ีดไี ด้ถูกต้อง
ดำ้ นทกั ษะ
ใบงำนที่ 2.1 การวเิ คราะหง์ าน วเิ คราะหง์ านตามไดถ้ กู ตอ้ งตามกระบวนการวิธี
ใบงำนท่ี 2.2 การเขยี นผงั งานแสดงตาม เขยี นผังงานตามหลกั การไดถ้ กู ตอ้ ง

เง่อื นไขและการทาซา้ เขยี นขั้นตอนการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง
ใบงำนที่ 2.4 ขน้ั ตอนการแก้ปญั หาหรอื สามารถเขยี นรหสั เทยี มไดถ้ ูกตอ้ ง

อลั กอริทมึ แสดงออกถึงความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต ความสนใจใฝ่รู้
ใบงำนที่ 2.3 การเขยี นรหสั เทยี มจาก และความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์

เง่อื นไขโปรแกรม แสดงออกถงึ ความมวี ินัย ความเช่อื มัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้
และความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์
ดำ้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรคำ่ นิยม
หลกั 12 ประกำร

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชือ่ วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ช่อื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้ำนควำมรู้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

หน่วยที่ 3 การติดตั้งเครื่องมือในการเขียน 1. แสดงความร้เู กี่ยวกับการตดิ ต้ัง AppServ และการใชง้ านโปรแกรม

โปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ 2. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั การติดตง้ั Notepad++ และการใชง้ าน

3.1 การตดิ ตงั้ AppServ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

3.2 การสร้างพ้นื ทส่ี าหรบั เก็บเว็บแอป 1. อธิบายคณุ สมบัตขิ องโปรแกรม AppServ และ

พลเิ คชนั Notepad++

3.3 การตดิ ตง้ั โปรแกรม Notepad++ 2. ติดต้ังโปรแกรม AppServ และ Notepad++

3.4 การใช้งานโปรแกรม Notepad++ 3. บอกข้นั ตอนการเขา้ ใช้งานโปรแกรม AppServ และ Notepad++

3.5 ส่วนประกอบของโปรแกรม 4. อธิบายสว่ นประกอบของโปรแกรม Notepad++

Notepad++ 5. บอกข้ันตอนการสร้างไฟล์ใหม่

3.6 การใช้งานโปรแกรม Notepad++ 6. บอกขั้นตอนการออกจากโปรแกรม Notepad++

เบอื้ งต้น 7. บอกขนั้ ตอนวธิ ีการสรา้ งพน้ื ทีเ่ ก็บเวบ็ แอปพลิเคชันและการเรยี กใช้

แบบฝกึ หดั หน่วยทที่ 3 งาน

แบบทดสอบทำ้ ยบที่ 3

ดำ้ นทักษะ

ใบงำนท่ี 3.1 การตดิ ตั้ง AppServ 2.5.10 ตดิ ต้ังโปรแกรม AppServ 2.5.10 ไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการ

เข้าใช้งานและอธิบายข้นั ตอนการใช้โปรแกรม AppServ 2.5.10 ได้

ถกู ตอ้ งตามหลกั การ

ใบงำนท่ี 3.2 การสร้างพ้ืนที่เกบ็ เว็บแอปพลิเค สรา้ งพนื้ ที่เกบ็ เวบ็ แอปพลเิ คชนั และเรียกใช้งานไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การ

ชันและการเรียกใชง้ าน

ใบงำนท่ี 3.3 การตดิ ตงั้ โปรแกรม ตดิ ตงั้ โปรแกรม Notepad++ V 7.3.0 ได้ถกู ตอ้ งตามหลักการ

Notepad++ V 7.3.0

ด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรคำ่ นยิ มหลกั แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ และ

12 ประกำร ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้

และความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์

ชือ่ วชิ ำ สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
ท–ป–น การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดับช้นั ปวช.

ชอื่ เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การประกาศรูปแบบการใช้งาน
หนว่ ยท่ี 4 โครงสร้างภาษา PHP โปรแกรมภาษา PHP และคาส่ังพืน้ ฐาน PHP
4.1 รูปแบบการประกาศใชแ้ ท็ก จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. อธิบายรปู แบบการประกาศใช้งานแท็กโปรแกรมภาษา
ภาษา PHP PHP
4.2 คาส่งั พ้ืนฐานในภาษา PHP 2. อธบิ ายขัน้ ตอนการเขียนคาสัง่ พน้ื ฐานภาษา PHP
4.3 คาสงวนในภาษา PHP 3. บอกคาสงวนในภาษา PHP

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 4 เขียนโปรแกรมด้วยคาส่ัง echo และ print ได้ถูกต้องตาม
แบบทดสอบท้ำยบทท่ี 4 หลกั การ
ด้ำนทกั ษะ ทดสอบผลของการใชง้ านคาสั่ง echo และคาสั่ง print ได้
ใบงำนที่ 4.1 งการใชง้ านคาสงั่ echo ถูกต้องตามหลักการ
และ print เขียนโปรแกรมภาษา PHP แทรกใน ภาษา HTML ได้
ถกู ต้องตามหลักการ
ใบงำนท่ี 4.2 การแทรกภาษา PHP ทดสอบผลของการเขยี นโปรแกรมภาษา PHP แทรกใน
ในภาษา HTML ภาษา HTML ได้ถูกต้องตามหลักการ
เขยี นโปรแกรมแทรกภาษา HTML ใน PHP ได้ถกู ต้องตาม
ใบงำนที่ 4.3 การแทรกภาษา HTML หลักการ
ในภาษา PHP ทดสอบผลของการเขยี นโปรแกรมแทรกภาษา HTML ใน
ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม/บูรณำกำร PHP ได้ถูกต้องตามหลักการ
คำ่ นยิ มหลัก 12 ประกำร
แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่
ในตนเอง และความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความคิด
ริเร่ิมสร้างสรรค์ และความพงึ พอใจในผลงานทท่ี า

แสดงออกถึงความมีวินัย ความประหยัด ความรัก
สามัคคี และความพงึ พอใจในผลงานทีท่ า

ชือ่ วชิ ำ สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ท–ป–น การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดับชัน้ ปวช.

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

หน่วยที่ 5 ตัวแปร ตัวดาเนินการ และ แสดงความร้เู กีย่ วกับการใช้งาน ตัวแปร ตวั ดาเนนิ การ และ

อารเ์ รย์ อาร์เรย์ ในการเขยี นโปรแกรม

5.1 ตวั แปรในภาษา PHP จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

5.2 ตวั ดาเนินการ 1. อธบิ ายกฎในการสรา้ งตวั แปรในภาษา PHP

5.3 อาร์เรย์ 2. บอกวิธกี ารสรา้ งตัวแปรในภาษา PHP

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5 3. อธิบายชนิดของข้อมูลในภาษา PHP

แบบทดสอบท้ำยบทท่ี 5 4. บอกวิธกี ารใชง้ านตัวดาเนนิ การในภาษา PHP

5. อธบิ ายประเภทของตวั ดาเนนิ การในภาษา PHP

6. บอกวิธีการสรา้ งและใชง้ านอารเ์ รย์ ในภาษา PHP

ด้ำนทักษะ

ใบงำนที่ 5.1 การประยุกต์ใชง้ านตัวแปร สร้างตัวแปรและประกาศใช้งานตัวแปรได้ถูกต้องตาม

หลกั การ

ทดสอบผลของการสร้างตัวแปร ประกาศใช้งานตัวแปร ได้

ถกู ตอ้ งตามหลกั การ

นาตัวแปรที่สร้างขนึ้ เก็บขอ้ มูลได้อยา่ งถกู ต้องตามหลกั การ

ใบงำนท่ี 5.2 การใชง้ านตวั ดาเนินการ เขียนโปรแกรมใช้งานตวั ดาเนนิ การประเภทตวั ดาเนนิ การ

ทางคณิตศาสตร์ได้ถกู ต้องตามหลกั การ

เขียนโปรแกรมใช้งานตัวดาเนินการประเภทตัวดาเนินการ

สาหรบั การกาหนดค่าไดถ้ ูกต้องตามหลกั การ

เขียนโปรแกรมใช้งานตัวดาเนินการประเภทตัวดาเนินการ

สาหรบั เพ่ิมและลดคา่ ได้ถูกตอ้ งตามหลักการ

เขียนโปรแกรมใชง้ านตวั ดาเนนิ การประเภทตวั ดาเนินการ

สาหรับข้อความไดถ้ ูกต้องตามหลกั การ

แสดงออกถึงความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความ

ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรคำ่ นิยม สนใจใฝร่ ู้ และความรกั สามัคคี

หลัก 12 ประกำร แสดงออกถงึ ความมวี นิ ัย ความรบั ผิดชอบ ความซือ่ สัตย์

สจุ ริต และความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ

ประหยัด และความพงึ พอใจในผลงานท่ที า

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม

ชื่อวิชำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ช่ือเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

ด้ำนควำมรู้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

หน่วยที่ 6 กการเขียนโปรแกรมควบคุมการ แสดงความรเู้ กีย่ วกับการเขยี นโปรแกรมควบคุมการทางาน

ทางาน ของโปรแกรมในแบบตา่ ง ๆ

6.1 การใช้งานคาสง่ั if จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

6.2 การใชง้ านคาสัง่ switch 1. บอกวิธีการใชง้ านคาสั่ง if

6.3 การใชง้ านคาสั่ง for 2. อธบิ ายรูปแบบการใชง้ านคาสง่ั if

6.4 การใช้งานคาสง่ั while 3. บอกวธิ ีการใช้งานคาสั่ง switch

6.5 การใช้งานคาสั่ง do while 4. อธบิ ายรปู แบบการใช้งานคาสั่ง switch

แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 6 5. บอกวธิ ีการใช้งานคาสั่ง for

แบบทดสอบทำ้ ยบทท่ี 6 6. อธบิ ายรปู แบบการใช้งานคาสง่ั for

7. บอกวธิ กี ารใชง้ านคาสั่ง while

8. อธบิ ายรปู แบบการใชง้ านคาสั่ง while

9. บอกวธิ กี ารใชง้ านคาส่งั do while

10. อธิบายรปู แบบการใชง้ านคาส่งั do while

ดำ้ นทักษะ

ใบงำนท่ี 6.1 การประยกุ ต์ใชง้ านคาส่ัง if ประยุกต์ใช้งานคาส่ัง if ในการเขียนโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ งตาม

หลักการ

ทดสอบผลของการใชง้ านคาสงั่ if ในการเขียนโปรแกรมได้

ถูกต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 6.2 การประยุกต์ใช้งานคาสง่ั ประยุกตใ์ ชง้ านคาส่ัง switch ในการเขยี นโปรแกรม ได้
Switch ถกู ต้องตามหลักการ
ทดสอบผลของการใชง้ านคาสงั่ switch ในการเขยี น
โปรแกรม ได้ถูกต้องตามหลักการ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ชือ่ วิชำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช.

ชือ่ เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ใบงำนที่ 6.3 การประยุกต์ใชง้ านคาส่งั for ประยุกต์ใช้งานคาสัง่ for ในการเขยี นโปรแกรมได้ถูกต้องตาม
หลักการ
ทดสอบผลของการใชง้ านคาสั่ง for ในการเขยี นโปรแกรมได้
ถกู ต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 6.4 การประยุกตใ์ ชง้ านคาส่งั ประยุกตใ์ ชง้ านคาสั่ง while ในการเขยี นโปรแกรมได้ถูกต้อง
while ตามหลกั การ
ทดสอบผลของการใช้งานคาสั่ง while ในการเขยี นโปรแกรม
ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการ

ด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรคำ่ นยิ ม แสดงออกถึงความมวี นิ ยั ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง ความสนใจใฝ่

หลัก 12 ประกำร รู้ และความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

ชื่อวิชำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ชน้ั ปวช.

ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

หนว่ ยท่ี 7 การใช้งาน PHP รว่ มกับฟอร์ม แสดงความรู้เกยี่ วกบั การสร้างแบบฟอร์ม

7.1 การสร้างฟอร์ม สร้างแบบฟอรม์ บนเว็บแอปพลเิ คชัน

7.2 การสรา้ งฟอร์มและส่วนรับขอ้ มลู เพ่ือ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

ใช้งานการใชต้ ารางในการจัดการฟอร์ม 1. บอกความหมายของฟอร์ม

7.3 การเขยี นโปรแกรมส่งข้อมูลไปยงั เวบ็ 2. บอกขน้ั ตอนการสร้างฟอร์ม

เซริ ฟ์ เวอร์ 3. อธิบายวิธีการสรา้ งสว่ นรับข้อมลู แบบ Text Field

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 7 4. อธบิ ายวธิ กี ารสรา้ งส่วนรบั ข้อมลู แบบ Text Area

แบบทดสอบท้ำยบทท่ี 7 5. อธบิ ายวธิ กี ารสร้างส่วนรบั ข้อมูลแบบ Check Box

6. อธิบายวิธีการสร้างส่วนรับขอ้ มลู แบบ Radio Button

7. อธบิ ายวิธีการสรา้ งส่วนรับขอ้ มูลแบบ List/Menu

8. อธบิ ายวิธกี ารสรา้ งสว่ นรบั ขอ้ มูลแบบ File Field

9. อธบิ ายวธิ ีการสร้างปุ่ม

10. บอกขั้นตอนการใชต้ ารางในการจดั การฟอร์ม

11. บอกวิธีการเขยี นโปรแกรมสง่ ขอ้ มูลไปยังเว็บ

เซริ ฟ์ เวอร์

ดำ้ นทักษะ ประยุกตใ์ ช้งานส่วนรบั ข้อมูลแบบ Text Field ในการ
ใบงำนที่ 7.1 การสร้างส่วนรับขอ้ มลู เขียนโปรแกรมได้ถูกต้องตามหลักการ
ทดสอบผลของการใช้งาน Text Field ในการเขยี น
Text Field โปรแกรมได้ถูกต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 7.2 การสรา้ งส่วนรบั ข้อมลู ประยุกตใ์ ชง้ านสว่ นรับข้อมูลแบบ Text Area ในการ
Text Area เขียนโปรแกรมไดถ้ ูกต้องตามหลักการ

ชอื่ เรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ทดสอบผลของการใช้งาน Text Area ในการเขียน

โปรแกรมได้ถูกต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 7.3 การสรา้ งสว่ นรบั ข้อมูล ประยุกตใ์ ช้งานสว่ นรบั ข้อมูลแบบ Check Box ในการ

Check Box เขียนโปรแกรม ไดถ้ ูกต้องตามหลักการ

ทดสอบผลของการใช้งาน Check Box ในการเขียน

โปรแกรม ได้ถูกต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 7.4 การสรา้ งสว่ นรบั ขอ้ มูล ประยุกต์ใชง้ านส่วนรบั ข้อมูลแบบ Radio Button ใน

Radio Button การเขยี นโปรแกรมได้ถูกต้องตามหลกั การ

ทดสอบผลของการใชง้ าน Radio Button ในการเขยี น

โปรแกรมได้ถูกต้องตามหลักการ

ใบงำนท่ี 7.5 การสรา้ งสว่ นรับข้อมลู ประยุกตใ์ ชง้ านสว่ นรับข้อมูลแบบ List/menu ในการ

List/menu เขียนโปรแกรมได้ถูกต้องตามหลักการ

ทดสอบผลของการใชง้ าน List/menu ในการเขียน

โปรแกรมได้ถกู ต้องตามหลกั การ

ใบงำนท่ี 7.6 การสร้างส่วนรับข้อมลู File ประยุกตใ์ ช้งานสว่ นรับข้อมูลแบบ File Field ในการ

Field เขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการ

ทดสอบผลของการใชง้ าน File Field ในการเขียน

โปรแกรมได้ถูกต้องตามหลกั การ

ใบงำนที่ 7.7 การประยุกใช้ฟอร์ม ประยุกตใ์ ช้งานส่วนรับข้อมูลในการเขยี นโปรแกรมได้

ถกู ต้องตามหลักการ

ทดสอบผลของการใชง้ านฟอร์มและส่วนรบั ข้อมลู ในการ

เขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณำกำรค่ำนยิ ม แสดงออกถึงความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์
หลัก 12 ประกำร ความสนใจใฝร่ ู้ และความรกั สามัคคี

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ
ซอื่ สตั ยส์ ุจริต และความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ
ประหยัด และความพงึ พอใจในผลงานทที่ า

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชอื่ วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัส 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดบั ช้นั ปวช.

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

ด้ำนควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

หน่วยที่ 8 การใช้งาน PHP เชื่อมต่อ แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั การจัดการฐานข้อมูล

ฐานข้อมลู ใชง้ านฟังกช์ ัน mysql_connect และ ฟังก์ชัน

8.1 การสร้างฐานข้อมลู ดว้ ย mysql_query_db

phpMyAdmin จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

8.2 การสร้างตารางในฐานขอ้ มูล 1. บอกวิธีการสรา้ งฐานข้อมลู

8.3 การเชอื่ มต่อฐานข้อมลู ดว้ ย 2. อธิบายสว่ นประกอบของโปรแกรมจดั การฐานข้อมลู

mysql_connect 3. บอกวิธกี ารสร้างตารางในฐานข้อมูล

8.4 การประยุกตใ์ ช้ PHP ในการเขยี น 4. บอกวธิ กี ารกาหนดค่าของฟิลดใ์ นโปรแกรมจัดการ

โปรแกรมเกบ็ เบอร์โทรศัพท์ ฐานข้อมลู

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8 5. บอกวิธกี ารใชง้ านฟงั ก์ชนั mysql_connect

แบบทดสอบท้ำยบทท่ี 8 6. บอกวิธกี ารใช้งานฟังก์ชัน mysql_db_query

7. บอกวธิ ีการเขยี นโปรแกรมติดต่อฐานข้อมลู

8. บอกวธิ ีการเขียนโปรแกรมบนั ทึกข้อมลู ลงใน

ฐานข้อมลู

ด้ำนทกั ษะ

ใบงำนท่ี 8 การสรา้ งฐานขอ้ มลู และเขยี น สรา้ งฐานขอ้ มลู ดว้ ย phpMyAdmin ได้ถูกตอ้ งตามหลกั การ

โปรแกรมตดิ ตอ่ ฐานขอ้ มลู สรา้ งตารางและกาหนดประเภทชนิดข้อมูลของฟิลดไ์ ด้

ถกู ต้องตามหลกั การ

เขยี นโปรแกรมใชง้ านตวั ดาเนนิ การประเภทตวั ดาเนนิ การ

สาหรบั ข้อความไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การ

แสดงออกถึงความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความ

ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณำกำรคำ่ นยิ ม สนใจใฝร่ ู้ และความรักสามัคคี

หลัก 12 ประกำร แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผดิ ชอบ ความซอ่ื สัตย์

สุจรติ และความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ

ประหยัด และความพึงพอใจในผลงานทีท่ า

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ชอื่ วชิ ำ การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สัปดำห์ ระดบั ชนั้ ปวช.

ช่อื เรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ดำ้ นควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

หน่วยท่ี 9 การใชง้ ภาษา SQL ในการจัดการ แสดงความรเู้ กีย่ วกับการจดั การฐานข้อมลู

ฐานข้อมูล ใชง้ านคาส่ัง SQL และฟงั กช์ นั ตา่ ง ๆ ในการเขยี นโปรแกรม

9.1 การใช้งานฟงั ก์ชนั mysql_select_db จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

9.2 การใชง้ านคาสัง่ select 1. บอกวธิ กี ารใชง้ านฟงั กช์ ัน mysql_select_db

9.3 การใช้งานฟังกช์ นั mysql_query 2. บอกวิธกี ารใช้งานคาส่งั Select

9.4 การใชง้ านฟังกช์ นั 3. บอกวิธกี ารใชง้ านฟงั กช์ ัน mysql_query

mysql_num_rows 4. บอกวธิ กี ารใช้งานฟังกช์ ัน mysql_num_rows

9.5 การใชง้ านฟังก์ชนั 5. บอกวธิ กี ารใชง้ านฟงั กช์ นั mysql_fetch_array

mysql_fetch_array 6. บอกวธิ ีการใชง้ านฟังกช์ นั mysql_close

9.6 การประยกุ ตใ์ ช้ PHP ในการเขยี น 7. บอกวธิ ีการแก้ไขโครงสร้างฐานขอ้ มูลได้

โปรแกรมระบบบนั ทกึ เบอรโ์ ทรศัพท์ 8. ประยกุ ต์ใช้ฟังกช์ ันในการเขยี นโปรแกรมระบบบนั ทกึ

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 9 ข้อมูลเบอรโ์ ทรศัพท์

แบบทดสอบทำ้ ยบทที่ 9

ดำ้ นทักษะ

ใบงำนท่ี 9 การเขียนโปรแกรมระบบสมัคร เขยี นโปรแกรมระบบสมคั รสมาชกิ ไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการ

สมาชกิ เขยี นโปรแกรมบันทึกข้อมูลระบบสมาชิกบนั ทกึ ในตาราง

ของฐานข้อมูลไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การ

เขยี นโปรแกรมแสดงข้อมลู สมาชกิ จากฐานข้อมูลออกมา

แสดงได้ถูกต้องตามหลักการ

เขยี นโปรแกรมนบั จานวนสมาชกิ ในฐานขอ้ มูลไดถ้ กู ตอ้ งตาม

หลกั การ

แสดงออกถึงความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความ

ด้ำนคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณำกำรคำ่ นยิ ม สนใจใฝร่ ู้ และความรักสามัคคี

หลกั 12 ประกำร แสดงออกถงึ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์

สจุ รติ และความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ

ประหยดั และความพึงพอใจในผลงานทท่ี า

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 2–2–3 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดับชนั้ ปวช.

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
ด้ำนควำมรู้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การใช้งานโปรแกรมทเี่ ขยี นด้วยภาษา PHP
หนว่ ยท่ี 10 การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน นาไปใช้งานจรงิ บนระบบปฏิบัตกิ ารท่ีหลากหลาย
เปิดท่ีสามารถใช้ไดใ้ นระบบปฏิบตั กิ ารท่หี ลากหลาย จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. บอกวธิ ีการทดสอบใช้งานโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการที่
10.1 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน หลากหลาย
ระบบปฏิบตั ิการทีห่ ลากหลาย 2. บอกวธิ กี ารทดสอบใชง้ านโปรแกรมบนระบบปฏบิ ตั กิ าร
Windows
10.2 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน 3. บอกวธิ ีการทดสอบใชง้ านโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการ
ระบบปฏิบตั ิการ Windows Linux
4. บอกวิธีการทดสอบใช้งานโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการ Mac
10.3 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน OS X
ระบบปฏิบตั กิ าร Linux 5. บอกวิธีการทดสอบใชง้ านโปรแกรมบนระบบปฏบิ ตั ิการมือถือ
Android
10.4 การทดสอบใชง้ านโปรแกรมบน 6. บอกวธิ ีการทดสอบใช้งานโปรแกรมบนระบบปฏิบตั กิ ารมือถอื
ระบบปฏิบตั กิ าร Mac OS X IOS

10.5 การทดสอบใช้งานโปรแกรมบน สมัครเว็บโฮสตงิ้ ฟรี www.infinityfree.net ได้ถกู ต้องตาม
ระบบปฏบิ ตั กิ ารมอื ถือ Android หลกั การ
นาโปรแกรมไปใชง้ านจรงิ บนเวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์ท่สี มคั รเพอ่ื ใชง้ านได้
10.6 การทดสอบใชง้ านโปรแกรมบน ถูกต้องตามหลกั การ
ระบบปฏิบตั ิการมือถือ IOS แก้ไขรหสั โปรแกรม (Source Code)ใหต้ รงกับคา่ ต่าง ๆ บนเวบ็
เซริ ฟ์ เวอรไ์ ดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การ
แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 10
แบบทดสอบทำ้ ยบทที่ 10
ดำ้ นทักษะ
ใบงำนท่ี 10 การนาโปรแกรมทดสอบใช้งาน
จริงบนเวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์

ด้ำนคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณำกำรค่ำนิยมหลัก แสดงออกถึงความมีวนิ ัย ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ ความสนใจ
12 ประกำร ใฝ่รู้ และความรกั สามัคคี

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์
สจุ ริต และความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์

แสดงออกถึงความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด
และความพึงพอใจในผลงานทท่ี า

ตำรำงวิเครำะหห์ ลกั สตู รรำยวชิ ำ

ชือ่ วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั 20204-2107
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคำบสอน 4 คำบ: สปั ดำห์ ระดบั ช้นั ปวช.

พุทธพิ สิ ัย

พฤติกรรม ความรู้ความจา
ความเข้าใจ
ชอ่ื หน่วย ประยุกต์-นาไปใ ้ช
สูงก ่วา
รวม (60%)
ัทกษะพิ ัสย (30%)
จิตพิสัย (10%)
รวม (100%)
ลา ัดบความสา ัคญ

ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกบั การเขยี น 110 2 01 5
โปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ

องค์ประกอบของโปรแกรม 5

ภาษาคอมพิวเตอร์และขั้นตอนการ 1 1 0 2 01

แก้ปัญหา

การติดต้ังเคร่ืองมือในการเขียน 111 3 31 3
โปรแกรมบนมาตรฐานเปิด 3 21 4
3 21 4
โครงสร้างภาษา PHP 111 3 51 2

ตัวแปร ตัวดาเนินการ และอาร์เรย์ 1 1 1 3 31 3
3 61 1
การเขียนโปรแกรมควบคุมการ 111 4 41 2
ทางาน

การใช้งาน PHP 111
รว่ มกับฟอรม์

การใช้งาน PHP เชอื่ มต่อฐานขอ้ มลู 1 1 1

การใช้ภาษา SQL ในการจัดการ 112
ฐานขอ้ มลู

การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดท่ี 1

สามารถใช้ไดใ้ นระบบปฏบิ ตั ิการที่ 112 4 51

หลากหลาย

วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 10 10 10 30 -
60 30 10 100
รวมทงั้ รายวิชา
12
ลาดบั ความสาคญั 1

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 หนว่ ยที่ 1 หนา้ ท่ี 1/6

วชิ า การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหสั วชิ า 20204- เวลาเรยี นรวม 76 คาบ
2107

ช่ือหน่วย ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกบั การเขียนโปรแกรมบน สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 2 คาบ
มาตรฐานเปิด 1/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ

หวั ขอ้ เรอ่ื ง

1.1 ความหมายของการเขียนโปรแกรม
1.2 ความสาคัญของมาตรฐานเปิด
1.3 ความหมายของโปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.4 ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานเปดิ กบั โปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.5 ภาษา PHP และประวตั คิ วามเปน็ มาของภาษา PHP
1.6 เคร่ืองมือที่ใช้ในการพฒั นาโปรแกรม
1.7 หลักการทางานของภาษา PHP
1.8 คุณสมบตั ิของภาษา PHP

แนวคิดสำคัญ

การศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสาคัญ
มากเพราะในปัจจุบันภาษาในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีมากมายในการใช้งานเพื่อดาเนินการสร้าง
ระบบงานหรือโปรแกรมขึ้นมาใช้งานในแต่ละด้าน ซึ่งก่อนที่จะเริ่มต้นพัฒนาหรือเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นนั้ ไมว่ ่าจะอยู่ในรูปแบบใด การมคี วามรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขยี นโปรแกรมถือเป็นเร่ืองท่ีมีความจาเป็นอย่าง
ย่งิ ในหนงั สอื เรยี นเลม่ นจ้ี ะมเี นือ้ หาในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดทีเ่ น้นการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์
เป็นหลัก (Web Application) โดยใช้ภาษา PHP ที่มีความสามารถในการทางานได้บนระบบปฏิบัติการท่ี
หลากหลายทไี่ ม่ไดย้ ดึ ตดิ กับระบบปฏบิ ตั ิการใดระบบปฏบิ ัติการหนึ่ง และในหน่วยการเรยี นน้ีจะแนะนาในเร่ือง
ความรู้พ้ืนฐานด้านการเขียนโปรแกรม ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานเปิด (Open Standard) ความรู้เกี่ยวกับ
โปรแกรมโอเพนซอร์ซ (Open Source Software) ภาษา PHP ประวัติความเป็นมาของภาษา PHP ซึ่งใช้ใน
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา และหลักการทางานของภาษา PHP ซ่ึง
ความรูเ้ หลา่ น้ีนับวา่ เปน็ ความรู้พน้ื ฐานที่สาคญั อย่างยงิ่ ในการจะนาไปเขยี นโปรแกรมต่อไป

สมรรถนะยอ่ ย

แสดงความร้พู น้ื ฐานเกย่ี วกับโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และหลกั การทางานของภาษา PHP

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 หนา้ ท่ี 2/6

การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
(20204-2107)

ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของการเขยี นโปรแกรม

2. บอกความหมายของมาตรฐานเปดิ

3. บอกความหมายของโปรแกรมโอเพนซอรซ์

4. อธบิ ายความแตกต่างของมาตรฐานเปดิ กบั โอเพนซอร์ซ

5. อธิบายภาษาท่ีใชเ้ ขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ

6. บอกประวตั คิ วามเป็นมาของภาษา PHP

7. บอกเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด

8. อธิบายหลกั การทางานของภาษา PHP

9. บอกคุณสมบตั ิของภาษา PHP

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการคา่ นยิ มหลัก 12 ประการ
แสดงออกถงึ ความมีวนิ ัย ความสนใจใฝ่รู้ ความรกั สามคั คี ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ และความซอ่ื สัตย์

สจุ ริต

การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 หน้าท่ี 3/6
(20204-2107)

เนอื้ หาสาระ

1.1 ความหมายของการเขียนโปรแกรม
1.2 ความสาคญั ของมาตรฐานเปดิ

1.2.1 Format Standard
1.2.2 Service Standard
1.3.3 Orchestration Standard
1.3 ความหมายของโปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.4 ความแตกต่างระหวา่ งมาตรฐานเปดิ กับโปรแกรมโอเพนซอร์ซ
1.5 ภาษา PHP และประวตั คิ วามเป็นมาของภาษา PHP
1.5.1 ภาษา PHP
1.5.2 ประวัติความเป็นมาภาษา PHP
1.6 เคร่ืองมือที่ใช้ในการพฒั นาโปรแกรม
1.6.1 โปรแกรมเว็บเซริ ฟ์ เวอร์
1.6.2 โปรแกรมภาสาหรบั ประมวลผล
1.6.3 โปรแกรมจัดการฐานข้อมลู่
1.6.4 โปรแกรมสาหรบั เขียนโปรแกรมหรือเขยี นโคด้
1.6.5 โปรแกรมเวบ็ เบราวเ์ ซอร์
1.7 หลกั การทางานของภาษา PHP
สรุปสาระสาคญั
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์
ทางานตามลาดับขั้นตอนที่เขียนไว้ในชุดคาสั่งนั้น ๆ ซึ่งอาจหมายถึงซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ส่วนใหญ่เป็น
ชุดคาสั่งที่ออกแบบตามขั้นตอนวิธี โดยคาสั่งเหล่านั้นนักพัฒนาโปรแกรมหรอื โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
จะเขยี นขนึ้ ด้วยภาษาคอมพวิ เตอรต์ ามลาดับขนั้ ตอนของการพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบที่มีมาตรฐาน ข้อกาหนด
กฎเกณฑ์ในการเขียนโปรแกรมเพื่อนาโปรแกรมที่ได้เขียนขึ้นตามวัตถุประสงค์ไปใช้งาน โดยที่โปรแกรม
สามารถทางานไดบ้ นระบบปฏิบตั ิการท่หี ลากหลาย บนอุปกรณห์ รือเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ท่ีไม่ยดึ ติดกบั ผู้ผลิตราย
ใดรายหนง่ึ และสามารถทางานไดอ้ ย่างสมบรู ณ์แบบ
โปรแกรมโอเพนซอร์ซ คือ ซอฟต์แวร์ที่สามารถนาไปใช้งาน ศึกษา แก้ไข และเผยแพร่ได้อย่างเสรี
ปราศจากเงอ่ื นไขเพ่มิ เติม เชน่ คดิ ค่าไลเซนส์ (License) หรอื ต้องเซน็ สัญญาพิเศษ การพฒั นา ทเ่ี ปดิ เผยซอร์ซโค้ด

การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 หน้าท่ี 4/6
(20204-2107)

(รหสั ตน้ ฉบบั ) ให้สาธารณะนาไปพัฒนาต่อยอดได้ ทาให้เกดิ การร่วมมือกันทางานอย่างไร้พรมแดนผ่าน
เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต

มาตรฐานเปิด (Open Standards) กับ โอเพนซอร์ซ (Open Source) มีความแตกต่างกันโดย
มาตรฐานเปิด (Open Standards) เป็นมาตรฐานที่ถูกกาหนดขึ้นมาเป็นสากลเพื่อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถ
ทางานรว่ มกนั หรือส่ือสารถึงกัน ซึง่ ช่วยปอ้ งกนั การผกู ขาดของบริษัทผ้ผู ลิตได้ ตวั อย่าง เช่น กระดาษขนาด A4
ที่ใช้ได้กับเครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องสแกนเอกสาร หัวต่อ ส่วนโอเพนซอร์ซ (Open Source) นั้น
คือ ซอฟต์แวร์ที่สามารถนาไปใช้งาน ศึกษา แก้ไข และเผยแพร่ได้อย่างเสรี ปราศจากเงื่อนไขเพิ่มเติม เช่น
คิดค่าไลน์เซนส์ (License) หรือต้องเซ็นสัญญาพิเศษ การพัฒนา ที่เปิดเผยซอร์ซโค้ด (รหัสต้นฉบับ) ให้
สาธารณะนาไปพัฒนาต่อยอดได้ ทาให้เกดิ การร่วมมอื กันทางานอยา่ งไร้พรมแดนผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็

ภาษา PHP ย่อมาจาก Personal Home Page เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียน Web Programing ที่นิยม
และยงั เปน็ โอเพนซอร์ซ (Open Source)

โปรแกรมที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดนั้น ถือส่วนที่มีความสาคัญอย่างมาก ที่จะทาให้
เกดิ ระบบโปรแกรมที่จะเขียนสามารถทางานได้อย่างสมบูรณ์แบบ เครื่องมือทีใ่ ช้ในการพฒั นาเว็บแอพพลิเคชัน
ประกอบด้วยโปรแกรมที่จะต้องตดิ ตัง้ ดังนี้

1. โปรแกรมเวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์
2. โปรแกรมภาษาสาหรับประมวลผล
3. โปรแกรมจดั การฐานข้อมูล
4. โปรแกรมสาหรบั เขียนโปรแกรม
5. โปรแกรมเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ Web Browser
หลักการทางานของภาษา PHP จะเปน็ รปู แบบการทางานที่มกี ารประมวลผลชดุ คาสั่งท่ีได้ถูกเขยี นขึ้น
ฝ่งั เซริ ์ฟเวอร์ (Server–Side Script) ไว้ในเวบ็ เพจซึ่งจะทาให้เว็บเซริ ฟ์ เวอร์ Web Server ทาการประมวลผล
ข้อมลู ก่อนส่งกลบั มาแสดงยังผ้ใู ชท้ าใหข้ ้อมูลในเวบ็ เพจนัน้ มกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงเป็นลักษณะของ
เวบ็ ไซต์ประเภทไดนามิก (Dynamic)

การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 หนา้ ท่ี 5/6
(20204-2107)

กจิ กรรมการเรียนรู้ (ครงั้ ท่ี 1/18, คาบที่ 1–4/72)

ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น (Motivation)
1. ครูตรวจสอบรายช่อื นักเรยี นและขานช่ือนกั เรียน
2. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับจุดประสงค์ สมรรถนะและคำอธิบายรายวิชา การวัดผลและ
ประเมินผลการเรียน กิจกรรมการเรียนการสอนที่สำคัญ คุณลักษณะนิสัยที่ต้องการให้เกดิ ขึ้น และข้อตกลงใน
การเรยี น
3. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 1
4. ครูใหห้ นังสอื เรียนวิชา การเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ
5. ครูนำเขา้ ส่บู ทเรียน และครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น
ขั้นให้เน้อื หา (Information)
6. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อ 1.1–1.9 โดยการบรรยาย ถาม–ตอบ และสาธิตการเกี่ยวกับความรู้
เบอื้ งต้นเกีย่ วกบั การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ
ขน้ั แก้ปญั หา (Application)
7. นักเรยี นทำแบบฝึกหัดที่ 1.1 เม่อื แลว้ เสรจ็ นำสง่ ครูผ้สู อน
8. ครูอธบิ ายการปฏบิ ตั ิตามใบปฏิบตั งิ านท่ี 1.1
9. ให้นักเรียนทำตามใบปฏิบัติงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
ขณะนกั เรียนปฏิบัตงิ าน ครจู ะสังเกตการทำงาน เมอ่ื แล้วเสรจ็ นำส่งครูผสู้ อน
ขน้ั สำเรจ็ ผล (Progress)
10. ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 และรว่ มอภิปรายสรปุ ผล
11. ครูประเมนิ ผลตามแบบประเมินผลปฏบิ ตั งิ านที่ 1 และสรุปผล

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้

1. สอ่ื การเรียนรู้ หนังสือเรยี นวชิ าการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด หน่วยที่ 1, Microsoft Word
ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น

2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสารเก่ียวกับความรูเ้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตาฐาน
เปิด อินเทอร์เน็ต www.google.com

การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 หนา้ ท่ี 6/6
(20204-2107)

การวัดและการประเมนิ ผล

การวดั ผล การประเมินผล
(ใชเ้ คร่อื งมือ) (นำผลเทยี บกับเกณฑ์และแปลความหมาย)
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre–test) หนว่ ยที่ 1 (ไว้เปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบฝกึ หัดที่ 1.1–1.2 เกณฑ์ผ่าน 50%
3. ใบปฏบิ ตั ิงานที่ 1.1–1.2 และแบบประเมนิ เกณฑ์ผ่าน 50%
4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หน่วยที่ 1 เกณฑ์ผา่ น 50%
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมฯ เกณฑ์ผ่าน 60%

งานทีม่ อบหมาย

งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหค้ ้นคว้า “ภาษาเกี่ยวกบั การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด”
ทาง www.google.com และเขยี นสรปุ สาระสำคญั ที่ไดล้ งในสมุดพร้อมอา้ งอิงทมี่ า นำสง่ ครูผู้สอนในการเรยี น
ครั้งท่ี 1

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน

1. ผลการทำและนำเสนอแบบฝกึ หัดที่ 1
2. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 1
3. ผลการปฏิบัตงิ านท่ี 1

เอกสารอ้างอิง

สุริยัน สายเมฆ. (2562). การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์. นนทบรุ ี : ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย.

บนั ทึกหลงั การสอน

1. ผลการจัดการเรียนรู้ตามแผน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ..................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ..................................................................................

3. แนวทางการแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .......................................

ลงชอ่ื ...............................................
(นายพีรวัส ทรพั ย์ประมวล)
ครูผสู้ อน

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 หนว่ ยท่ี 2 หน้าที่ 1/9

วชิ า การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั วชิ า เวลาเรียนรวม 76 คาบ
20204-2107

ชื่อหน่วย องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ สอนคร้ังที่ ทฤษฎี 2 คาบ

และขัน้ ตอนการแก้ปัญหา 2/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ

หวั ข้อเรื่อง
2.1 ภาษาคอมพิวเตอร์
2.2 หลกั การเขยี นโปรแกรม
2.3 การเขยี นผงั งาน
2.4 รหัสเทยี ม
2.5 ข้นั ตอนการแก้ปญั หา

แนวคิดสำคัญ
ในการศึกษาหรือเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นจาเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องมีความรู้

พ้ืนฐาน กอ่ นท่ีจะดาเนินการเขียนโปรแกรม ในหนว่ ยการเรียนที่ 2 จะมเี นอ้ื หาทีเ่ ป็นความรู้เก่ียวกับองค์ประกอบ
ของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ความรเู้ ก่ยี วกับการเขียนผังงาน การเขียนรหัสเทียม
(Pseudo Code) และขั้นตอนการแก้ปัญหา (Algorithm) ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ให้โปรแกรมที่เขียนออกมาเพื่อใช้งานตามวัตถุประสงค์การใช้งานโปรแกรมนั้นเป็นโปรแกรมที่สมบูรณ์แบบ
และมีประสิทธภิ าพในการใช้งานอย่างสูงสดุ ซงึ่ องค์ความรูแ้ ละเน้ือหาในหน่วยการเรียนน้ี มีความสาคัญอย่าง
ยิ่งทีต่ ้องศึกษาเพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้ และเข้าใจในความรู้พ้นื ฐาน หลักการเบอ้ื งต้นของการเขียนโปรแกรมที่ดี
และได้นาองค์ความรู้พื้นฐานในหน่วยการเรียนนี้ นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมได้อย่างถูกต้องตาม
กระบวนการเขยี นโปรแกรมทด่ี ีต่อไป

สมรรถนะย่อย
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับองค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ และหลักการเขยี นโปรแกรม
2. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ผงั งาน รหัสเทยี ม และขัน้ ตอนการแก้ปญั หา

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
ดำ้ นควำมรู้

1. บอกหลักการเขียนโปรแกรมได้ถกู ต้อง
2. บอกองคป์ ระกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้อง
3. บอกความหมาย และหลักการเกย่ี วกบั การเขียนผงั งานได้ถูกต้อง

กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 หนำ้ ท่ี 2/9
(20204-2107)

4. บอกหลักเกณฑ์ และรปู แบบการเขยี นรหัสเทียมไดถ้ กู ต้อง
5. บอกความหมายขัน้ ตอนการแก้ปัญหาได้ถกู ต้อง
6. บอกถึงการเขียนข้ันตอนการแกป้ ัญหาท่ดี ีไดถ้ กู ต้อง

ด้ำนคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณำกำรคำ่ นยิ มหลัก 12 ประกำร
แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และความซ่อื สัตย์

สุจริต

เนอ้ื หำสำระ
2.1 ภาษาคอมพิวเตอร์
2.1.1 ภาษาเครือ่ ง
2.1.2 ภาษาแอสเซมบลี
2.1.3 ภาษาระดบั สูง
2.1.4 ภาษาระดบั สูงมาก
2.1.5 ภาษาธรรมชาติ
2.2 หลกั การเขยี นโปรแกรม
2.2.1 การวิเคราะห์งานหรอื การวเิ คราะห์ปญั หา
2.2.2 การออกแบบโปรแกรม
2.2.3 การเขียนโปรแกรม
2.2.4 การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม
2.2.5 การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม
2.2.6 ข้ันตอนการทาเอกสารประกอบโปรแกรม
2.3 การเขียนผงั งาน
2.3.1 ผงั งานระบบ
2.3.2 ผงั งานโปรแกรม
2.3.3 หลกั การเขยี นผังงาน
2.3.4 สัญลกั ษณส์ าหรับการเขียนผงั งาน
2.4 รหัสเทยี ม
2.4.1 หลกั เกณฑ์ในการเขียนรหสั เทียม
2.5 ขน้ั ตอนการแก้ปัญหา

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ่ี 2 หนำ้ ที่ 3/9
(20204-2107)

สรปุ สำระสำคญั
ภำษำคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เป็นเครื่องมือจัดการกับข้อมูลที่เป็น

ตัวเลข ตวั อกั ษรหรอื สญั ลักษณท์ ่ใี ชแ้ ทนความหมายสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีสามารถกาหนดชดุ คาส่ังล่วงหน้าหรือโปรแกรม
ได้ คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลายกหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือกมาใช้งาน โดยคาสั่งที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้จะอยู่ในรูปแบบของภาษาเครื่อง ซึ่งการเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ตามทีต่ ้องการด้วยภาษาเคร่ืองเป็นเรื่องท่ีเข้าใจยากและสับสนสาหรับมนุษย์ จงึ มีการใช้ภาษาที่ใกล้เคียงภาษา
มนุษย์มาใช้เขียนเป็นโปรแกรมแทน เพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกมากกว่าภาษาเครื่อง โปรแกรมที่เขียนข้ึน
ตามกฎเกณฑ์ของภาษาจะถูกแปลไปเป็นภาษาเครื่องเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตาม
คาสั่งได้ ดังนั้น ภำษำคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบที่สาคัญของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ที่เป็นส่วนที่ทา
ให้คอมพิวเตอร์นั้นทางานได้ตามคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นภายใต้มาตรฐานของภาษาโปรแกรมนั้น ๆ เช่น ภาษา C,
ภาษา PHP, ภาษา Java เป็นต้น โดยภาษาคอมพวิ เตอรส์ ามารแบ่งออกไดเ้ ปน็ 5 ยุค ดงั น้ี

1. ภาษาเคร่ือง (Machine Language)
2. ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
3. ภาษาระดับสงู (High Level Language)
4. ภาษาระดับสงู มาก (Very High–Level Language)
5. ภาษาธรรมชาติ (Nature Language)

หลักกำรเขียนโปแกรม การเขียนโปรแกรมถือว่าเป็นการผสมผสานกันระหว่างศาสตร์ของศิลปะ
วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และวิศวกรรมเข้าด้วยกนั ผู้เขยี นจะตอ้ งเข้าใจข้นั ตอนการแก้ปญั หาและรูปแบบของ
ภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ทางานได้ตามความ
ต้องการ โดยผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา และสร้างแบบจาลองความคิดเพื่อแสดงขั้นตอนใน
การแกป้ ัญหา จากนน้ั จึงลงมือแกป้ ญั หาตามขั้นตอนทอี่ อกแบบไว้ โดยใชเ้ คร่อื งมอื ชว่ ยในการแกป้ ญั หา ซึง่ หน่ึง
ในเครือ่ งมือแก้ปญั หาเหล่าน้นั กค็ ือภาษาคอมพิวเตอรน์ นั่ เอง

หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นขั้นตอนจัดทาโปรแกร มที่ช่วยให้การเขียนโปรแกรมเป็นไป
อย่างมีประสทิ ธิภาพ และไดผ้ ลลพั ธต์ ามวัตถุประสงค์ เพราะแตล่ ะขัน้ ตอนจะช่วยให้เกดิ ความเป็นระเบยี บ การ
เรียบเรียงแนวคิดมีความชัดเจนไม่สับสนและง่ายต่อการเขียนหรือพัฒนาโปรแกรม ซึ่งการเขียนโปรแกรมน้ัน
จะต้องเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เพราะจะต้องนาโปรแกรมที่พัฒนาไดไ้ ปใช้กับคอมพิวเตอร์ ดังนั้นเพื่อให้การ
เขยี นโปรแกรมมีประสทิ ธิภาพจึงควรเข้าใจหลักการคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย

กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 2 หนำ้ ท่ี 4/9
(20204-2107)

โดยทัว่ ไปแลว้ แต่ละภาษาคอมพิวเตอร์จะมหี ลักเกณฑ์ในการเขียนและการออกแบบโปรแกรมเหมือนกัน
ซง่ึ สามารถทจี่ ะแบง่ ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรมออกได้เป็น 7 ข้ันตอนดงั นี้

1. ขัน้ ตอนการวเิ คราะหง์ านหรอื การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis the Problem)
2. ขน้ั ตอนการออกแบบโปรแกรม (Design a Program)
3. ขน้ั ตอนการเขยี นโปรแกรม (Coding)
4. ขน้ั ตอนการตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม (Testing and Debugging)
5. ขัน้ ตอนการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Testing and Validating)
6. ขั้นตอนการทาเอกสารประกอบโปรแกรม (Documentation)
7. ขั้นตอนการบารุงรกั ษาโปรแกรม (Program Maintenance)
กำรเขยี นผังงำน (Flowchart) หมายถงึ การเขียนอธิบายข้ันตอนวธิ กี ารทางาน ในลักษณะของรปู ภาพ
หรือสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความหรือคาพูด เนื่องจากทาให้สามารถมองเห็นลาดับ
ขัน้ ตอนการทางานได้ชัดเจนกว่าการอธิบายในลักษณะของข้อความ โดยอาศยั รูปทรงต่าง ๆ ควบคู่ไปกับลูกศร
ซึ่งแต่ละรูปในแผนภาพจะหมายถึงการทางานหนึ่งขั้นตอน ส่วนลูกศรจะแทนลาดับการทางานขั้นตอนต่าง ๆ
รวมทั้งทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแตเ่ ริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ระบบงานทุกชนิดท่ีผ่านการวเิ คราะห์
เป็นลาดบั ขั้นตอนแลว้ สามารถเขียนเป็นผงั งานเพื่ออธบิ ายขั้นตอนของงานใหส้ ามารถเข้าใจและสื่อความหมาย
การทางานกนั ได้ง่ายกวา่ การอธบิ ายดว้ ยข้อความหรือคาพูด โดยผังงานหรือ Flowchart ท่ใี ช้งานทางคอมพิวเตอร์
มี 2 ประเภท คือ ผงั งานระบบ (System Flowchart) และฝงั งานโปรแกรม (Program Flowchart)
รหัสเทียม (Pseudo Code) เป็นคาบรรยายแสดงขั้นตอนวิธีของการเขียนโปรแกรม การเขียนรหัส
เทียมไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัว สาคัญเพียงแต่เขียนให้ผู้อ่านเข้าใจ โดยปกติแล้วจะประยุกต์รูปแบบการเขียน
และโครงสรา้ งมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ เปา้ หมายสาคัญของการเขียนรหัสเทียมคือทาลายกาแพงของภาษาลง
ไป การเขียนรหัสเทียมจงึ ไม่ใสใ่ จในการเขยี นไวยากรณใ์ ห้ถูกต้องตามหลักภาษา แตจ่ ะเป็นไปตามใจของผเู้ ขียน
มากกวา่ การเขียนรหัสเทียมจะมีคาท่ีใช้ในการปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรป์ ระกอบอยเู่ ปน็ สว่ นใหญ่ ซึ่งช่วยให้การ
เปลี่ยนรหัสเทียมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทาได้ง่ายขึ้น ซึ่งมีวิธีการและหลักเกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม
(Pseudo code)

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 2 หน้ำที่ 5/9
(20204-2107)

หลักเกณฑ์ในกำรเขียนรหัสเทียม การเขียนรหัสเทียมเป็นการอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานอย่าง
ละเอียด ซึ่งได้จากขั้นตอนวิธีการประมวลผลที่ออกแบบไว้ เพื่อนาไปใช้ประกอบการเขียนโปรแกรมต่อไป ซึ่ง
ไมม่ กี ฎในการเขยี นตายตัว โดยมากขึน้ อยูก่ บั ความถนัดของผูเ้ ขียน โดยมสี ว่ นประกอบที่สาคัญ ได้แก่ ชือ่ คาสั่ง
กาหนดงาน คาสั่งควบคุม กลุ่มของคาสั่ง และข้อบันทึกหรือคาอธิบาย และมีข้อตกลงบางอย่างร่วมกันเป็น
สากลในการเขียนรหสั เทียมมีลักษณะต่าง ๆ ดงั น้ี

1. การเขยี นรหัสเทียมควรใชภ้ าษาง่าย ๆ และไม่ต้องคานึงถึงหลักของภาษาคอมพิวเตอร์ เพราะรหัสเทียม
ไม่ไดข้ ้ึนกบั ภาษาใดภาษาหน่ึง

2. การเขยี นรหัสเทียมควรเขียนแต่ละคาส่ังเปน็ บรรทดั ๆ ใหม้ กี ารเย้ืองเพ่ือแสดงเป็นลาดับขั้นตอนเพ่ือ
สะดวกในการอา่ น การทาความเขา้ ใจและการตรวจสอบ

3. การเขียนรหสั เทียมไมจ่ าเป็นตอ้ งมเี ครือ่ งหมายวรรคตอน
4. กาหนดจดุ เรมิ่ ต้นด้วยคาว่า “Begin” และจดุ สิน้ สดุ ด้วยคาวา่ “End”
5. การเขยี นรหสั เทียมจะเขียนจากบนลงลา่ ง
6. การเขยี นรหสั เทียมจะไม่เขียนหมายเลขกากับในแต่ละขนั้ ตอน
7. กลุ่มประโยคคาสั่ง อาจถูกนามาจัดรวมกลุ่มเข้าด้วยกันในรูปแบบของโมดูล และทาการกาหนดช่ือ
โมดลู ข้นึ มา เพอ่ื ใหส้ ว่ นของโปรแกรมหลกั หรอื โมดลู ย่อยอ่นื ๆ เรียกใชง้ านได้
8. การแยกคาเฉพาะ (Keywords) ให้มีความชัดเจนและควรจัดรูปแบบโครงสร้างควบคุมให้เป็น
สัดส่วน เพ่อื ให้อา่ นง่ายเชน่ if…else ถ้ามีหลาย if ควรจัดให้ if กับ else ตรงกันเปน็ คู่ ๆ

รปู แบบกำรเขยี นรหัสเทยี ม การเขียนรหสั เทียมหรือ Pseudo code ไมม่ ีรูปแบบทแ่ี น่นอนและตายตัว
แต่โดยท่ัวไปแล้วมักนิยมปฏิบัติกันดังลักษณะต่อไปนี้ 1. การกาหนดค่า 2. การรับข้อมูลเข้า 3. การคานวณ
4. การแสดงผลขอ้ มลู 5. การเปรียบเทียบเง่ือนไข 6. การทาซา้

ขั้นตอนกำรแก้ปัญหำหรืออัลกอริทึม (Algorithm) หมายถึง กระบวนการในการทางานที่ใช้การ
ตดั สินใจด้วยหลกั เหตผุ ลและคณิตศาสตร์ เปน็ ตวั ชว่ ยในการเลือกวิธีการหรือข้นั ตอนการดาเนินงานต่อไปจนถึง
ขั้นตอนสุดท้าย เป็นวิธีการที่ใช้แยกย่อยและเรียงลาดับขัน้ ตอนของกระบวนการในการทางานต่าง ๆ เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการค้นหาและแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นการเรียบเรียงวิธีคิดเป็นลาดับโดยขั้นตอนการแก้ปัญหา
ขนั้ ตอนและความสมั พนั ธ์ออกมาใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน

ขัน้ ตอนการแกป้ ัญหาหรืออัลกอริทึม (Algorithm) เป็นการจดั ลาดบั ความคดิ เปน็ ขัน้ ตอน เพอ่ื แก้ปัญหา
ในข้ันตอนการเขียนโปรแกรมที่สอดคล้องกบั วิธแี ก้ปญั หาที่กาหนดไว้ การเขียนขน้ั ตอนการแก้ปัญหาออกมาให้
ตรวจสอบความถกู ตอ้ งได้ครบถ้วนข้ึน สามารถสรุปได้ดงั น้ี

กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ 2 หน้ำที่ 6/9
(20204-2107)

1. เพื่อแก้ปัญหาในข้นตอนการเขียนโปรแกรมที่สอดคล้องกับวิธีแก้ปัญหาที่กาหนดไว้ โดยการแสดง
ลาดับการทางานตามคุณสมบัติด้านการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ที่พร้อมจะนาไปแปลงเป็นลาดับคาสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน

2. เพ่อื แสดงลาดบั ข้ันตอนต่าง ๆ ที่ใช้งานการแก้ไขปญั หา
3. เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ เพอ่ื ให้การแก้ปัญหามีประสทิ ธภิ าพ
4. เพอ่ื ใชเ้ ป็นส่ือกลางในการบอกต่อวิธกี ารแก้ปัญหา
กำรเขียนขั้นตอนกำรแก้ปัญหำที่ดี (Algorithm) โดยขั้นตอนการแก้ปัญหาที่ดีนั้นนควรมีคุณสมบัติ
ดงั ตอ่ ไปนี้
1. มคี วามถกู ตอ้ ง
2. ใชเ้ วลาในการปฏิบตั ิงานนอ้ ยทสี่ ดุ
3. ส้ัน กระชับ รดั กมุ มเี ฉพาะขั้นตอนทจ่ี าเปน็ เทา่ น้ัน
4. ใช้หนว่ ยความจานอ้ ยทส่ี ดุ
5. มีความยดื หยุ่น สามารถใชไ้ ด้ทงั้ ในปจั จบุ ันและอนาคต
6. ควรใชเ้ วลาในการพฒั นานอ้ ยท่ีสุด
7. ง่ายต่อการทาความเขา้ ใจ

กำรเขียนขั้นตอนกำรแก้ปัญหำ (Algorithm) เป็นกระบวนวิธีการซึ่งประกอบกลุ่มของกฎเกณฑ์
ขอ้ กาหนดเฉพาะท่ีไมส่ ับสน กาหนดถึงลาดบั ของวธิ ีการซึ่งใหผ้ ลลพั ธส์ าหรับปญั หาต่าง ๆ ในรูปของขน้ั ตอนที่มี
จานวน จากดั ซึ่งมคี ณุ สมบตั ิดังน้ี

1. ขนั้ ตอนการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการท่สี รา้ งขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์
2. กฎเกณฑท์ ่สี ร้างขนั้ ตอนการแก้ปญั หาจะต้องไมค่ ลุมเครือ
3. การประมวลผล Operations ทกี่ าหนดโดยกฎเกณฑจ์ ะต้องเปน็ ลาดับที่แน่นอน
4. กระบวนวธิ ีการต้องให้ผลลัพธ์ตามท่ีกาหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อย่ใู นรปู แบบทัว่ ไป
5. ข้นั ตอนการแก้ปัญหาตอ้ งอย่ใู นรูปของข้ันตอนการแกป้ ญั หาการที่มีการส้นิ สุดได้
การแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหาสามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน เช่น เขียนด้วยผังงาน (Flow
Chart) ภาษาข้ันตอนการแก้ปัญหา (Algorithm Language) และภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
เป็นต้น การเขียนข้ันตอนการแก้ปัญหาไม่มีรูปแบบการเขียนที่แน่นอนตายตัว บางครั้งผู้เขียนอาจจะใช้
หลาย ๆ วิธีผสมผสานกันก็ได้ และถ้าแบ่งประเภทของขั้นตอนการแก้ปัญหาตามลักษณะการทางาน เรา
สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คอื ข้นั ตอนการแกป้ ัญหาแบบลาดับ (Sequential) ขั้นตอนการแก้ปญั หา
แบบมเี งือนไขหรือทางเลอื ก (Conditional) และขั้นตอนการแก้ปญั หาแบบทาซ้า (Repetition)

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 2 หน้ำที่ 7/9
(20204-2107)

กิจกรรมกำรเรยี นรู้ (คร้งั ที่ 2/18, คำบท่ี 5–8/72)
ขน้ั นำเขำ้ สู่บทเรียน (Motivation)
1. ครตู รวจสอบรายชือ่ นักเรยี นและขานชอ่ื นักเรียน
2. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับจุดประสงค์ สมรรถนะและคาอธิบายรายวิชา การวัดผลและ

ประเมินผลการเรียน กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีสาคัญ คุณลักษณะนิสยั ท่ีต้องการใหเ้ กิดขึ้น และข้อตกลงใน
การเรียน

3. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยท่ี 2
4. ครูให้หนงั สือเรยี นวชิ า การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ
5. ครนู าเขา้ สู่บทเรียน และครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี น
ขน้ั ใหเ้ นื้อหำ (Information)
6. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อ 2.1–2.5 โดยการบรรยาย ถาม–ตอบ และสาธิตการเกี่ยวกับความรู้
เบ้อื งต้นเก่ียวกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ
ข้ันแกป้ ัญหำ (Application)
7. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดที่ 2 เมอื่ แลว้ เสร็จ นาสง่ ครูผู้สอน
8. ครูอธบิ ายการปฏิบตั ิตามใบปฏบิ ัติงานที่ 2
9. ให้นักเรียนทาตามใบปฏิบัติงานที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
ขณะนกั เรียนปฏบิ ัตงิ าน ครูจะสงั เกตการทางาน เมือ่ แล้วเสรจ็ นาส่งครผู ู้สอน
ข้ันสำเร็จผล (Progress)
10. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัดที่ 2 และรว่ มอภปิ รายสรปุ ผล
11. ครปู ระเมนิ ผลตามแบบประเมินผลปฏิบตั ิงานที่ 2 และสรปุ ผล

ส่อื และแหลง่ กำรเรียนรู้
1. สือ่ การเรียนรู้ หนงั สอื เรียนวิชาการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด หนว่ ยท่ี 2, Microsoft Word

ประกอบการสอน และแบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สอื วารสารเกีย่ วกับการการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดและภาษา PHP

อนิ เทอร์เนต็ www.google.com

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี 2 หน้ำที่ 8/9
(20204-2107)

กำรวัดและกำรประเมินผล

กำรวัดผล กำรประเมินผล
(ใชเ้ ครือ่ งมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หนว่ ยท่ี 2 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบฝกึ หัดที่ 2 เกณฑ์ผา่ น 50%
3. ใบปฏบิ ตั งิ านที่ 2 และแบบประเมิน เกณฑ์ผา่ น 50%
4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว่ ยท่ี 2 เกณฑ์ผา่ น 50%
5. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มฯ เกณฑผ์ ่าน 60%

งำนที่มอบหมำย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหค้ ้นคว้า “องค์ประกอบของโปรแกรมภาษา การเขียนรหสั

เทยี ม การแกป้ ญั หา” ทาง www.google.com และเขยี นสรปุ สาระสาคัญท่ีไดล้ งในสมุดพร้อมอ้างองิ ที่มา
นาส่งครผู สู้ อนในการเรยี นครั้งที่ 2
ผลงำน/ชน้ิ งำน/ควำมสำเร็จของผเู้ รียน

1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดท่ี 2
2. คะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หน่วยท่ี 2
3. ผลการปฏิบตั งิ านที่ 2
เอกสำรอำ้ งอิง
สุรยิ ัน สายเมฆ. (2562). กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์. นนทบรุ ี : ศนู ย์หนงั สือเมืองไทย.

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 2 หนำ้ ท่ี 9/9
(20204-2107)

บนั ทึกหลังกำรสอน
1. ผลกำรจดั กำรเรียนรูต้ ำมแผน

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ..................................................................................

2. ผลกำรเรียนของนกั เรียน/ผลกำรสอนของคร/ู ปัญหำที่พบ
......................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. .......................................

3. แนวทำงกำรแก้ปัญหำ
........................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................ ....................................................................

ลงช่ือ...............................................
(นายพีรวัส ทรพั ยป์ ระมวล)
ครผู สู้ อน

แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ่ี 3 หนว่ ยท่ี 3 หนำ้ ที่ 1/5

วิชำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ รหัสวชิ า เวลาเรียนรวม 76 คาบ
20204-2107

ชื่อหน่วย การติดต้งั เคร่ืองมือในการเขยี นโปรแกรมบน สอนครัง้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ

มาตฐานเปดิ 3/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ

หวั ข้อเรอื่ ง

3.1 การตดิ ตั้ง AppServ

3.2 การสร้างพ้นื ทส่ี าหรับเกบ็ เว็บแอปพลเิ คชัน

3.3 การติดตง้ั โปรแกรม Notepad++

3.4 การใช้งานโปรแกรม Notepad++

3.5 สว่ นประกอบของโปรแกรม Notepad++

3.6 การใช้งานโปรแกรม Notepad++ เบ้ืองต้น

แนวคิดสำคัญ

หลังจากท่ไี ด้ศึกษาความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดแลว้ ผู้พัฒนาหรือผู้เขียน
โปรแกรมสามารถเลือกเคร่ืองมือที่ใช้ เพื่อนาไปใช้งานกับโปรแกรมท่ีจะพัฒนาได้อย่างเหมาะสม โดยการเขียน
โปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ ในหนังสือเลม่ นี้จะกลา่ วถงึ การพฒั นาโปรแกรมบนเว็บไซต์ หรือ Web Application
ที่มีการประมวลผลข้อมูลที่ Web Server ดังนั้นขั้นตอนต่อไปของการเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดจงึ ต้อง
ติดตั้งโปรแกรมและเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรม คือ การติดตั้งโปรแกรม Appserv ซึ่งเป็น
โปรแกรมประเภท Open Source ใน AppServ ประกอบด้วย 4 โปรแกรมหลัก คือ Apache Web Server,
PHP Script Language, MySQL Database, phpMyAdmin ซึ่งทาหน้าที่เป็น Web Server โปรแกรม
แปลภาษา PHP โปรแกรมจัดการฐานข้อมลู และการติดต้ังโปรแกรมประเภท Text Editor เพ่อื ใชใ้ นการเขียน
โปรแกรม หรือ Source Code มีโปรแกรม Text editor มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่ายและไม่เสียค่าใช้จ่าย ใน
หนังสอื เล่มน้ีแนะนาการติดต้ัง Text Editor คือ Notepad++ ซ่ึงเป็นโปรแกรมประเภทไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึง
เป็นสิ่งสาคญั ในการเขยี นโปรแกรมบนเวบ็ ไซต์ (Web Application) ทจ่ี าเป็นตอ้ งศกึ ษา

สมรรถนะย่อย

1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับการตดิ ตั้ง AppServ และการใชง้ านโปรแกรม
2. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการตดิ ต้ัง Notepad++ และการใช้งาน

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ 3 หน้ำท่ี 2/5
(20204-2107)

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

ดำ้ นควำมรู้
1. อธบิ ายคุณสมบัติของโปรแกรม AppServ และ Notepad++
2. ตดิ ต้ังโปรแกรม AppServ และ Notepad++
3. บอกขั้นตอนการเข้าใช้งานโปรแกรม AppServ และ Notepad++
4. อธิบายสว่ นประกอบของโปรแกรม Notepad++
10.บอกขัน้ ตอนการสรา้ งไฟล์ใหม่
11.บอกขน้ั ตอนการออกจากโปรแกรม Notepad++
12.บอกขั้นตอนวิธกี ารสร้างพนื้ ท่ีเก็บเว็บแอปพลิเคชนั และการเรยี กใช้งาน
ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณำกำรคำ่ นิยมหลกั 12 ประกำร
แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความสนใจใฝร่ ู้ ความรกั สามัคคี ความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ และความซอื่ สัตย์

สจุ ริต

เนื้อหำสำระ

3.1 การติดตั้ง AppServ
3.2 การสรา้ งพื้นท่สี าหรบั เกบ็ เวบ็ แอปพลิเคชนั

3.2.1 ขน้ั ตอนการสรา้ งพ้นื ท่ีในการเก็บเว็บแอฟพลิเคชนั
3.2.2 การแสดงตาแหนท่ อ่ี ย่เู ว็บแอปพลเิ คชันเพอื่ แสดงผล
3.3 การตดิ ตงั้ โปรแกรม Notepad++
3.4 การใช้งานโปรแกรม Notepad++
3.5 สว่ นประกอบของโปรแกรม Notepad++
3.6 การใชง้ านโปรแกรม Notepad++ เบ้อื งต้น
3.6.1 การสร้างไฟลส์ าหรับเขียนคาสัง่ (Source Code)
3.6.2 การบนั ทกึ ไฟล์ PHP และ HTML
3.6.3 การออกจากโปรแกรม Notepad++
สรปุ สำระสำคญั
การติดตั้ง Appserv เป็นการเตรียมเครื่องมือให้พร้อมก่อนที่จะพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน ในรูปแบบ
ภาษาท่มี ีการประมวลผลที่เว็บเซริ ์ฟเวอร์ โดยมีเคร่ืองมือที่จาเป็นใน AppServ ดงั น้ี
1. โปรแกรมเว็บเซริ ฟ์ เวอร์ (Apache Web Server)
2. โปรแกรมภาษาสาหรับประมวลผล (PHP Script Language)

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ่ี 3 หน้ำที่ 3/5
(20204-2107)

3. โปรแกรมจัดการฐานข้อมลู (phpMyAdmin Database Manager)
4. โปรแกรมฐานข้อมลู (MySQL Database)
เม่ือทาการติดต้ังโปรแกรม AppServ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการเขียนโปรแกรมภาษา PHP เสร็จ
เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการสร้างพื้นที่ในการเก็บโปรแกรม หรือ Web Application ตามค่าดี
ฟอลต์ของ AppServ กาหนดให้จัดเก็บไว้ที่ C:\Appserv\www หลักการทางานของภาษา PHP จะเป็น
รูปแบบการทางานทีม่ กี ารประมวลผลชดุ คาส่ังทไี่ ด้ถกู เขียนขนึ้
การติดตั้งโปรแกรม Notepad++ เป็นการเตรียมเครื่องมือในการเขียนโปรแกรม เขียนคาสั่ง (Source
Code) โดยการติดตั้งโปรแกรมนั้นไม่จาเป็นต้องตั้งค่าใด ๆ ในการติดตั้ง เนื่องจากโปรแกรมได้ตั้งค่าไว้
เรยี บรอ้ ยแล้วผู้ใชง้ านเพียงแคด่ าเนินการติดตั้งตามคาแนะนาของโปรแกรมในแต่ละขน้ั ตอน โปรแกรมกจ็ ะ

เสร็จสมบรู ณ์พร้อมใช้งาน การใช้งานโปรแกรม Notepad++ นั้นมีการใช้งานเหมือนกับโปรแกรมกลุ่ม
Text Editor ของค่ายอ่ืน ๆ ทว่ั ไป และการออกจากโปรแกรมมี 3 วธิ ี ดังน้ี

1. การออกจากโปรแกรมโดยการใช้แถบเมนู (Menu Bar)
2. การออกจากโปรแกรมโดยการใช้ปุ่ม Close
3. การออกจากโปรแกรมโดยการใช้คยี ล์ ดั (Alt+F4)

กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (ครั้งท่ี 3/18, คำบท่ี 9–12/72)

ขั้นนำเขำ้ สบู่ ทเรียน (Motivation)
1. ครูตรวจสอบรายชอ่ื นักเรียนและขานชอ่ื นักเรยี น
2. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับจุดประสงค์ สมรรถนะและคาอธิบายรายวิชา การวัดผลและ
ประเมินผลการเรียน กิจกรรมการเรียนการสอนที่สาคัญ คุณลักษณะนิสยั ท่ีต้องการใหเ้ กดิ ขึ้น และข้อตกลงใน
การเรยี น
3. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยท่ี 3
4. ครูให้หนงั สือเรียนวชิ า การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ
5. ครนู าเข้าสูบ่ ทเรยี น และครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน
ข้นั ให้เนอื้ หำ (Information)
6. ครูสอนเนื้อหาสาระหัวข้อ 3.1–3.6 โดยการบรรยาย ถาม–ตอบ และสาธิตการเกี่ยวกับความรู้
เบอื้ งตน้ เก่ยี วกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปดิ

กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ 3 หนำ้ ท่ี 4/5
(20204-2107)

ขนั้ แก้ปญั หำ (Application)
7. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดที่ 3 เมอื่ แล้วเสรจ็ นาส่งครูผูส้ อน
8. ครอู ธิบายการปฏิบตั ิตามใบปฏบิ ัตงิ านที่ 3.1-3.2
9. ให้นกั เรียนทาตามใบปฏบิ ัติงานท่ี 3.1-3.2 ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ียวกับการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐาน
เปดิ ขณะนักเรียนปฏิบตั งิ าน ครจู ะสังเกตการทางานเม่ือแล้วเสรจ็ นาส่งครผู สู้ อน
ข้ันสำเรจ็ ผล (Progress)
10. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 3 และรว่ มอภิปรายสรปุ ผล
11. ครูประเมนิ ผลตามแบบประเมนิ ผลปฏิบตั งิ านท่ี 3.1-3.2 และสรปุ ผล

สอื่ และแหล่งกำรเรียนรู้
1. สื่อการเรยี นรู้ หนงั สอื เรยี นวชิ าการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด หน่วยท่ี 3, Microsoft Word

ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน
2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสอื วารสารเกยี่ วกับการการเขยี นโปรแกรมบนมาตรฐานเปิดและภาษา PHP

อนิ เทอรเ์ นต็ www.google.com

กำรวัดและกำรประเมนิ ผล

กำรวัดผล กำรประเมนิ ผล
(ใช้เครอ่ื งมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย)
1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หนว่ ยท่ี 3 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรียน)
2. แบบฝกึ หัดที่ 3 เกณฑ์ผา่ น 50%
3. ใบปฏิบัตงิ านที่ 3.1-3.2 และแบบประเมนิ เกณฑผ์ า่ น 50%
4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หน่วยท่ี 3 เกณฑ์ผ่าน 50%
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมฯ เกณฑผ์ ่าน 60%

งำนทมี่ อบหมำย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหค้ น้ ควา้ “องคป์ ระกอบของโปรแกรมภาษา การเขยี นรหัส

เทียม การแกป้ ญั หา” ทาง www.google.com และเขยี นสรุปสาระสาคัญท่ีได้ลงในสมุดพรอ้ มอ้างอิงท่ีมา
นาสง่ ครูผู้สอนในการเรียนคร้ังที่ 3

กำรเขยี นโปรแกรมภำษำคอมพวิ เตอร์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 3 หนำ้ ท่ี 5/5
(20204-2107)

ผลงำน/ชนิ้ งำน/ควำมสำเร็จของผู้เรียน

1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหัดที่ 3
2. คะแนนจากแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 3
3. ผลการปฏบิ ัติงานท่ี 3.1-3.2

เอกสำรอำ้ งอิง

สรุ ยิ นั สายเมฆ. (2562). กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์. นนทบรุ ี : ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย.

บันทกึ หลงั กำรสอน

1. ผลกำรจดั กำรเรียนรู้ตำมแผน
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ..................................................................................

2. ผลกำรเรยี นของนักเรียน/ผลกำรสอนของคร/ู ปญั หำที่พบ
......................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. .......................................

3. แนวทำงกำรแก้ปัญหำ
........................................................................................................................................... ...................................
................................................................................................ ....................................................................

ลงชือ่ ...............................................
(นายพรี วัส ทรัพยป์ ระมวล)
ครูผสู้ อน

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี 4 หนว่ ยที่ 4 หน้ำท่ี 1/5

วชิ ำ การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ รหสั วชิ า เวลาเรียนรวม 76 คาบ
20204-2107
สอนครัง้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ
ช่อื หน่วย โครงสร้างภาษา PHP 4/18 ปฏบิ ตั ิ 2 คาบ

หัวขอ้ เรือ่ ง

4.1 รูปแบบการประกาศใช้แท็กภาษา PHP
4.2 คาสัง่ พ้ืนฐานในภาษา PHP
4.3 คาสงวนในภาษา PHP

แนวคิดสำคัญ

ภาษา PHP เปน็ ภาษาหนึ่งทีน่ ิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ Web Application ทม่ี ีความสามารถ
ในการประมวลผล การทางานบนฝั่งเซิร์ฟเวอร์บนระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย เช่น Windows, Linux, Unix
และอื่น ๆ อีกหลายระบบปฏิบัติการ มีความสามารถใช้ในการคานวณ ประมวลผล เก็บค่า และทาตามคาสั่ง
ต่าง ๆ เช่น รับค่าจากแบบ (Form) ท่ีสร้างข้ึน รับค่าจากช่องคาตอบของเว็บบอร์ดและเก็บไว้เพ่ือนามา
แสดงผล สาหรับหน่วยการเรียนนี้จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับพื้นฐานของภาษา PHP โครงสร้างภาษา PHP คาสั่ง
พื้นฐานในภาษา PHP คาสงวนในภาษา PHP ซึ่งในหนังสือเล่มนี้จะแนะนาการใช้งานโปรแกรม Notepad++
เพอ่ื ใช้ในการเขยี นโปรแกรม ภาษา PHP เปน็ ส่ิงสาคญั ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ท่ีจาเป็นต้องศึกษา

สมรรถนะยอ่ ย

แสดงความรูเ้ กยี่ วกับการประกาศรปู แบบการใช้งานโปรแกรมภาษา PHP และคาสั่งพ้ืนฐาน PHP

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

ด้ำนควำมรู้
13.อธิบายรูปแบบการประกาศใช้งานแท็กโปรแกรมภาษา PHP
14.อธิบายขั้นตอนการเขยี นคาสง่ั พ้นื ฐานภาษา PHP
15.บอกคาสงวนในภาษา PHP
ดำ้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณำกำรคำ่ นิยมหลัก 12 ประกำร
แสดงออกถงึ ความมีวนิ ยั ความสนใจใฝร่ ู้ ความรักสามคั คี ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และความซ่อื สัตย์

สจุ ริต

กำรเขียนโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์ แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ่ี 4 หน้ำที่ 2/5
(20204-2107)

เน้ือหำสำระ

4.1 รปู แบบการประกาศใช้แท็กภาษา PHP
4.1.1 รปู แบบมาตรฐาน
4.1.2 รูปแบบสนั้
4.1.3 รูปแบบสครปิ ต์
4.1.4 รูปแบบ ASP

4.2 คาส่งั พน้ื ฐานในภาษา PHP
4.2.1 คาสัง่ ในการแสดงผล
4.2.2 เคร่ืองหมายส้นิ สุดคาส่ัง
4.2.3 การเขียนคาอธบิ าย
4.2.4 การใช้งานร่วมกนั ระหว่าง PHP กับ HTML

4.3 คาสงวนในภาษา PHP
สรุปสำระสำคัญ
การประกาศใช้แท็กภาษา PHP หรือ PHP Tag คล้ายกับ HTML Tag เพราะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย
น้อยกว่า (<) และปิดด้วยเครื่องหมายมากกว่า (>) สัญลักษณ์เหล่านี้ เรียกว่า PHP Tag ที่บอกฝั่งเซิร์ฟเวอร์
(Server)ทราบถึงการเริ่มต้นและสิ้นสุดคาสั่ง PHP ข้อความระหว่าง Tag จะได้รับการแปลในฐานะ
PHP ข้อความภายนอก Tag เหล่านี้ได้รับการปฏิบัติเหมือน HTML ปกติ PHP Tag ซ่ึงรูปแบบการเขียน
หรือประกาศใช้แท็กภาษา PHP สามารถประกาศใช้ได้ 4 รูปแบบ คือ รูปแบบมาตรฐาน รูปแบบสั้น
รูปแบบสคริปต์ และรูปแบบ ASP Tag
การแสดงผล คือการที่ภาษา PHP ส่งผลลัพธส์ ่วนท่ีเกิดจากการทางานของสครปิ ต์กลับไปท่ีเบราว์เซอร์
ซึง่ ในภาษา PHP คาสง่ั หรอื ขอ้ ความท่สี ามารถทางานใหแ้ สดงผลท่ีมีความจาเป็น 2 คาส่งั คือ print และ echo
ในภาษา PHP จะใช้เคร่อื งหมาย ; เปน็ ตัวแสดงจดุ ส้ินสุดของแตล่ ะคาส่งั การเขียนคาอธิบาย (Comment) ใช้
ในการอธิบายคาส่ังที่เขียนข้ึนในแตล่ ะโปรแกรมหรือแต่ละคาส่ัง แตล่ ะบรรทัด เพอื่ เพ่ิมความเข้าใจในคาสั่งน้ัน
และให้ผู้ที่นาโปรแกรมไปพัฒนาต่อสามารถพิจารณาเข้าใจได้ง่ายขึ้น แต่โปรแกรมจะไม่นาส่วนที่ได้ทาการ
เขียนอธิบาย (Comment) ไว้ ไปประมวลผล โดยสามารถเขียน Comment ได้ 2 รูปแบบ คือ การเขียน
อธิบายแบบบรรทัดเดียว,และการเขยี นคาอธิบายแบบหลายบรรทัด
การทางานร่วมกันระหว่าง PHP กับ HTML สามารถทางานร่วมกันได้ เนื่องจาก PHP เป็นภาษาแบบ
สคริปต์ที่การเขียนโปรแกรมหรือเว็บแอปพลิเคชันสามารถที่จะแทรกโค้ดของ PHP ลงไปใน HTML ได้ดังน้ัน
ภายในหนึ่งเว็บแอปพลิเคชันสามารถมีท้ังโค้ด PHP และ HTML ท้ังน้ีเนื่องจากโครงสร้างหรือรูปแบบของ


Click to View FlipBook Version