The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบวัดผล รร.บ้านแม่ขรี ปรับปรุง 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruchawalit2529, 2021-10-14 03:30:50

ระเบียบวัดผล รร.บ้านแม่ขรี ปรับปรุง 2564

ระเบียบวัดผล รร.บ้านแม่ขรี ปรับปรุง 2564

เอกสำรประกอบหลักสูตรสถำนศึกษำ

โรงเรียนบ้ำนแมข่ รี (สวิงประชำสรรค์)
พุทธศกั รำช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2564)

ระเบียบกำรวัดและประเมินผลกำรเรียน

โรงเรียนบำ้ นแม่ขรี (สวงิ ประชำสรรค์)

สำนักงำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำพัทลงุ เขต 2
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพนื้ ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

คำนำ

โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) เป็นโรงเรียนที่จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ 2564) โดยยึดหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซง่ึ เปน็ หลักสูตรที่
ใช้แนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standard – based Currlculum) ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของสถานศกึ ษา เป็นเอกสารประกอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
เอกสารหนงึ่ ทจ่ี ะช่วยขับเคล่ือนกระบวนการนำหลกั สูตรไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิให้เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

โรงเรียนจึงได้จัดทำระเบยี บว่าดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรสู้ ถานศึกษา โรงเรียนบา้ นแม่ขรี
(สวิงประชาสรรค์) เพ่ืออธิบายขยายความให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายตั้งแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและ
ผู้เกี่ยวข้อง มีความเข้าใจท่ีชัดเจน ตรงกันรวมท้ังร่วมกันรับผิดชอบ และทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ
เอกสารประกอบด้วย 3 ตอนคอื

ตอนที่ 1 ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์) พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2564)

ตอนที่ 2 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้าน
แม่ขรี (สวิงประชาสรรค)์ พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2564)

คณะผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างยิ่งว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัด และประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2564) คงจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายท่ีจะชว่ ยสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติการวัดและประเมินผลผเู้ รยี น
เป็นแนวทางเดียวกันและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามหลักการ เจตนารมย์ และ
วัตถุประสงค์ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตอ่ ไป

คณะผู้จัดทำ

ระเบยี บสถานศึกษาว่าดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรยี น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์) พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2564)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระเบยี บสถานศกึ ษา
ว่าดว้ ยการประเมินผลการเรยี น หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์)
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2564) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

โดยที่โรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์) ไดป้ ระกาศใชห้ ลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 293/2551 ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2551 เร่ือง ให้ใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอำนาจให้สถานศึกษากำหนด
หลักสูตรสถานศึกษาข้นึ ใชเ้ อง เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับคำสง่ั ดังกล่าว

ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 21 และมาตรา 15 แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์) จงึ วางระเบยี บไวด้ งั ต่อไปนี้

ขอ้ 1 ระเบียบนเี้ รียกว่า “ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการประเมินผลการเรยี นหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2564) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551”

ขอ้ 2 ระเบียบนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับต้งั แต่ปีการศึกษา 2564 เปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลิกระเบยี บขอ้ บังคบั หรือคำสง่ั อ่นื ใดในส่วนท่ีกำหนดไวใ้ นระเบียบนี้ หรือซึ่งขดั หรอื แย้ง
กับระเบยี บนี้ ให้ใช้ระเบียบนีแ้ ทน
ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์)
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2564)
ข้อ 5 ใหป้ ระธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานรกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ี

หมวดท่ี 1 หลักการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น

ข้อ 6 การประเมินผลการเรยี นให้เปน็ ไปตามหลักการในต่อไปน้ี
6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบประเมินผลการเรียนของผู้เรียนโดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการ
6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้และ

ตวั ชี้วัดที่กำหนดในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
6.3 การประเมินผลการเรียนต้องประกอบด้วย การประเมินเพ่ือปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน

การจดั การเรยี นการสอน และการประเมินผลเพือ่ ตัดสินผลการเรียน
6.4 การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดำเนินการด้วย

วิธกี ารท่หี ลากหลาย เหมาะสมกบั สง่ิ ท่ตี ้องการวดั ธรรมชาติของรายวชิ า และระดบั ชัน้
6.5 ให้มกี ารประเมนิ ความสามารถของผู้เรียนในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ในแต่

ละชน้ั

6.6 ใหม้ กี ารประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรยี นในแต่ละชัน้
6.7 ใหม้ กี ารประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี นในระดับชาติในแต่ละช่วงช้ัน
6.8 เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นได้
6.9 ให้มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและรูปแบบการศกึ ษาต่าง ๆ

หมวดท่ี 2 วิธีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น

ข้อ 7 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการทใ่ี หผ้ ู้สอนใช้พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนเพอื่ ให้
ได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ให้เป็นการ
ประเมนิ เพ่ือปรับปรุงการเรียนมากกว่าการตัดสินผลการเรยี น ประกอบด้วย

7.1 การประเมินผลระดับชั้นเรียนเป็นการวัดความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะ
กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์

7.2 การประเมินผลระดับสถานศึกษาเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า การเรียนรู้เป็นรายปี
และช่วงชน้ั สำหรับสถานศึกษานำข้อมลู ที่ได้ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนาการเรียนการสอน
และคณุ ภาพของผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมท้ังพิจารณาตดั สินการเลอ่ื นช่วงช้ัน

7.3 การประเมินผลระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นการประเมินด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาของ
ชาติ สำหรบั นำผลการประเมนิ ไปวางแผนดำเนินการปรบั ปรุงแกไ้ ขการจัดการเรยี นการสอน และพัฒนาการ
ผเู้ รยี นให้ไดม้ าตรฐาน

7.4 การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ เป็นการประเมินด้วยแบบประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐานระดับชาติ เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและ
คุณภาพการศึกษาของชาติ สำหรบั นำผลการประเมินไปวางแผนดำเนินการปรับปรงุ แก้ไขการจัดการเรยี นการ
สอน และพฒั นาการผู้เรยี นให้ไดม้ าตรฐาน

7.5 การประเมนิ เพ่ือตดั สนิ ผลการเรียน เป็นการประเมินเพ่ือสรปุ ความสำเร็จในการเรยี นรู้
ของผู้เรียนในการจบช่วงชั้นและจบหลักสูตรการศึกษาในระดับต่างๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้รับการรับรอง
ความรแู้ ละวฒุ กิ ารศึกษาจากสถานศกึ ษา

ข้อ 8 แนวดำเนินการประเมนิ ผลการเรียนของสถานศกึ ษา
เพื่อให้การวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการดำเนินการตามหลักการกระจายอำนาจมกี ารประเมินผู้เรียน
ตามหลักการวดั และประเมินผลการเรยี น มีการตรวจสอบและกำกับตดิ ตามประเมินคุณภาพการประเมินผล
การเรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดแนวดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนของ
สถานศึกษา ดงั นี้

8.1 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวชิ าการของสถานศึกษา
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กำหนดรูปแบบ ระบบและระเบียบประเมนิ ผล
ของสถานศกึ ษา เพอ่ื ใช้เปน็ แนวปฏิบัตใิ นการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา

8.2 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา กำหนด
ตวั ชี้วัดในแต่ละรายวชิ า และแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรยี นรู้ คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์และมาตรฐานการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนและหลักสูตรระดับท้องถิ่น เพ่ือใช้เป็น
เป้าหมายในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้รายภาค

8.3 คณะอนุกรรมการระดับกลุ่มวิชาให้ความเห็นชอบของรูปแบบ วิธีการ เคร่ืองมือ
สำหรบั การประเมนิ และผลการตดั สินการประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ าของผสู้ อน

8.4 ผู้สอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน และประเมินสรุป
ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยนำตัวช้ีวัด ไปใช้เป็นข้อมูลรวมกับการ
ประเมินปลายภาค

8.5 หัวหน้าสถานศึกษาอนมุ ัตผิ ลการเรียนปลายภาค และการผ่าน จบการศึกษา
8.6 สถานศึกษาจัดทำรายงานผลการดำเนินการประเมินผลการเรียนประจำปีโดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน
ข้อ 9 ใหม้ กี ารประเมินผลการเรียนในดา้ นต่างๆ ประกอบด้วย
9.1 การประเมินผลการเรยี นในแต่ละรายวชิ าของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรูซ้ ่ึงสถานศึกษา
วิเคราะหจ์ ากมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด การประเมินรายวิชาให้ตัดสนิ ผลการประเมินเปน็ ระดับผลการ
เรียน 8 ระดบั ดังน้ี

“4” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยย่ี ม
“3.5” หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก
“3” หมายถงึ ผลการเรยี นดี
“2.5” หมายถึง ผลการเรียนค่อนข้างดี
“2” หมายถงึ ผลการเรยี นน่าพอใจ
“1.5” หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้
“1” หมายถงึ ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ข้ันตำ่ ทกี่ ำหนด
“0” หมายถึง ผลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์ขั้นตำ่ ที่กำหนด

9.2 การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ประกอบด้วย กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรียนและกิจกรรมบำเพ็ญเพื่อสาธารณประโยชน์ การรว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการประเมิน
ความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์
ของแต่ละกจิ กรรม และตดั สนิ ผลการประเมินเป็น 2 ระดบั ดงั นี้

“ผา่ น” หมายถึง ผ่านเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด
“ไม่ผ่าน” หมายถึง ไม่ผา่ นเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด
9.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินพัฒนาทางด้านคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามคุณลักษณะที่สถานศึกษากำหนด การ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะประเมินเป็นรายคุณลักษณะทุกภาคเรียน และตัดสินผลการประเมิน
เปน็ 4 ระดบั ดังน้ี
ดีเยี่ยม หมายถงึ ผูเ้ รียนมีพฤตกิ รรมตามตวั บง่ ชี้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 – 100

ของจำนวนตัวบ่งชคี้ ุณลกั ษณะนั้นๆ แสดงวา่ ผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะ
น้ันๆ จนสามารถเป็นแบบอย่างแก่ผู้อ่นื ได้

ดี หมายถงึ ผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมตามตัวบง่ ชีผ้ ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 65 – 79
ของจำนวนตัวบ่งชค้ี ุณลักษณะน้ันๆ แสดงวา่ ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะ

นนั้ ๆ ดว้ ยการปฏิบตั ดิ ว้ ยความเตม็ ใจ
ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมตามตัวบ่งชี้ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50 – 64

ของจำนวนตัวบง่ ชีค้ ณุ ลักษณะน้ันๆ ได้ปฏบิ ตั ิตนดว้ ยความ
พยายามปฏบิ ตั ิตนตามคำแนะนำ
ไมผ่ ่าน หมายถึง ผูเ้ รียนมพี ฤติกรรมตามตวั บ่งช้ผี า่ นเกณฑ์ ตำ่ กว่ารอ้ ยละ 50

ของจำนวนตวั บ่งชใี้ นคุณลักษณะน้ัน แสดงว่าผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะ
น้นั ๆ ต้องมผี ู้อน่ื คอยกระตนุ้ เตือน

เมอื่ เลอื่ นชน้ั จะพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ดีเยยี่ ม, ด,ี ผ่าน โดยตอ้ งมผี ลการประเมินอยู่ในระดบั “ผ่าน”
ขน้ึ ไป

9.4 การประเมินความสามารถอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน เป็นการประเมนิ ทักษะการ

คดิ และการถ่ายทอดความคิดด้วยทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์ ตามเงื่อนไข และวิธีการที่สถานศึกษา
กำหนดและตดั สนิ ผลการประเมนิ เป็น 4 ระดับ ดังนี้

- ดีเย่ยี ม
- ดี
- ผ่าน

- ไม่ผ่าน
เมอ่ื เลือ่ นช้ันจะพิจารณาจากผลการประเมนิ ดีเย่ยี ม, ดี, ผา่ น โดยตอ้ งมผี ลการประเมินอยู่ในระดบั “ผ่าน”

ขึ้นไป
9.5 การตัดสนิ ผลการเรียนเล่ือนชั้น เป็นการนำผลการประเมินในด้านต่างๆ มาประมวล

สรุปเพือ่ ตดั สินใหผ้ เู้ รยี นผา่ นระดับต่างๆ ตามเกณฑก์ ารตดั สินผลการเรยี นแตล่ ะระดบั ช้นั

ข้อ 10 เกณฑ์การตัดสินผลการเรียนจบหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานที่ผ่านการศึกษาแต่ละชั้น และจบหลักสูตรสถานศึกษาครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตรของ

สถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาจึงกำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรยี น การจบหลักสูตร
การศึกษาภาคบังคับไว้ดงั นี้

เกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศกึ ษา

(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/เพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานกำหนด

(2) ผเู้ รียนตอ้ งมีผลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐาน ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่สี ถานศึกษา
กำหนด

(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามท่สี ถานศึกษากำหนด
(5) ผเู้ รยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากำหนด

หมวดที่ 3 เกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรียน

ข้อ 11 การตัดสินผลการเรยี นให้ถอื ปฏบิ ัตดิ งั นี้
11.1 พจิ ารณาตดั สินว่า ผู้เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินรายวชิ าตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ท้ัง

8 กลุ่ม และไดร้ ับผลการเรยี น 1 ถึง 4
11.2 การตัดสินพิจารณาว่าผู้เรียนจะนับจำนวนชั่วโมง / จำนวนหน่วยกิตจะต้องได้รับผล

การเรียน 1 ถึง 4
11.3 ไดร้ ับการประเมินการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน เป็นรายภาค และนำไปตัดสิน

การเลื่อนชั้น โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนดให้ได้ผลการประเมนิ เปน็ ดเี ยี่ยม ดี และผ่าน ถ้าไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ให้ไดผ้ ลการประเมนิ “ไม่ผ่าน”

11.4 ได้รบั การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นเป็นรายภาค และนำไปตดั สิน
การเล่ือนช้ัน โดยถา้ ผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดใหไ้ ด้ผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน ถ้าไม่ผ่าน
เกณฑก์ ารประเมนิ ใหไ้ ด้ผลการประเมินเป็น “ไมผ่ า่ น”

11.5 ได้รับการตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายภาคโดยถ้าผ่านเกณฑ์การ
ประเมินให้ไดผ้ ลประเมินเป็น “ผ” และถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ให้ผลประเมินได้ “มผ”

11.6 วัดผลปลายภาคเฉพาะผูม้ ีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลา
เรยี นในรายวิชาน้นั ให้อยูใ่ นดุลพนิ ิจของคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เสนอผ่านคณะกรรมการบริหาร
หลักสตู รและวิชาการเห็นชอบ และเสนอผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิ

11.7 ผเู้ รยี นที่มเี วลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชานนั้ และไม่ได้รับการ
ผอ่ นผนั ให้เขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี นใหไ้ ด้ผลการเรียน “มส”

11.8 ผเู้ รียนทีม่ ผี ลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรยี น “0”
11.9 ผเู้ รียนท่ที ุจริตในการสอบหรือทุจรติ ในงานท่ีมอบหมายให้ทำในรายวิชาใด ครงั้ ใด ก็
ตาม ให้ไดค้ ะแนน “0” ในคร้ังนน้ั
11.10 ผู้เรยี นที่ไม่ได้วัดผลรายภาค ไม่ได้สง่ งานทีไ่ ด้รับมอบหมายให้ทำ หรือมีเหตุสุดวสิ ัย
ทีท่ ำใหป้ ระเมินผลการเรยี นไม่ได้ ให้ได้ผลการเรียน “ร”
กรณีท่ีผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะไม่ส่งงานนั้น จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ข้อ 12 การเปลยี่ นผลการเรียนให้ถือปฏบิ ัตดิ ังนี้
12.1 การเปลยี่ นผลการเรียน “0”
ควรจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในตัวช้ีวัดที่ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวให้และ
ให้สอบแกต้ วั ไดไ้ ม่เกิน 2 ครง้ั ทัง้ น้ตี อ้ งดำเนนิ การให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษานัน้
ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กำหนดไว้น้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
สถานศึกษาทีจ่ ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ่ กิน 1 ภาคเรยี น
ถ้าสอบแก้ตัว 2 คร้ังแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0” อีกให้แต่งต้ังคณะกรรมการ
ดำเนนิ การเกี่ยวกับการแกผ้ ลการเรยี นของผูเ้ รียนโดยปฏิบัตดิ ังน้ี

1) ให้เรยี นซ้ำรายวิชาถา้ เป็นรายวชิ าพนื้ ฐาน
2) ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยให้อยู่ในดุลย
พนิ จิ ของสถานศึกษา

ในกรณีท่ีเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวชิ าใด

12.2 การเปลยี่ นผลการเรียน “ร”
การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” มี 2 กรณี ดงั น้ี

1) มีเหตุสุดวิสัย ทำให้ ประเมินผลการเรียนไม่ได้ เช่น เจ็บป่วย เม่ือผู้เรียนได้เข้าสอบ
หรือส่งผลงานท่ีติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อย หรือแก้ปัญหาเสร็จสิ้นแล้ว ให้ได้ระดับผลการเรียนตามปกติ
(ตั้งแต่ 0 – 4)

2) ถ้าสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ใช่เหตุสุดวิสัย เม่ือผู้เรียนได้เข้าสอบ หรือส่งผล
งานที่ตดิ ค้างอยู่เสรจ็ เรียบรอ้ ย หรอื แกป้ ัญหาเสรจ็ สน้ิ แล้ว ใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรยี นไมเ่ กนิ “1”

การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จส้ินภายในปีการศกึ ษา
น้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “ร” ตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ให้เรียนซำ้ รายวิชา ยกเวน้ มีเหตุสุดวิสัย
ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียนแต่เมื่อพ้น

กำหนดนี้แล้วให้ปฏบิ ัติดงั นี้
(1) ให้เรยี นซ้ำรายวชิ า ถา้ เป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน

(2) ให้เรียนซ้ำหรอื เปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติม โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจ
ของสถานศกึ ษา

ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่า เรียนแทน

รายวิชาใด
12.3 การเปลี่ยนผลการเรยี น “มส”

การเปลยี่ นผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดังน้ี
1) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 แตม่ ีเวลาเรียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้สถานศกึ ษาจัดให้เรียนเพิ่มเตมิ โดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริม

หรือเวลาวา่ ง หรือวันหยุด หรือมอบหมายงานใหท้ ำ จนมีเวลาเรยี นครบตามท่ีกำหนดไว้สำหรับรายวิชาน้ัน
แล้วจึงให้สอบเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้ “มส”

กรณีนใี้ ห้กระทำให้เสรจ็ สิน้ ในปีการศกึ ษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนด
ไว้นี้ให้เรียนซ้ำ ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “มส”
ออกไปอกี ไม่เกนิ 1 ภาคเรยี น แต่เมอ่ื พ้นกำหนดน้ีแล้ว ใหป้ ฏบิ ตั ิดังน้ี

- ให้เรียนซำ้ รายวิชา ถา้ เปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน
- ให้เรียนซ้ำหรือเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมโดยให้อยู่ในดุลยพินิจ

ของสถานศึกษา
2) กรณีผู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียน

ทั้งหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ำในรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม หรือเปล่ียนรายวิชาใหม่ได้

สำหรับรายวชิ าเพมิ่ เติมเท่าน้ัน
ในกรณีที่เปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน

รายวิชาใด

ในกรณภี าคเรียนท่ี 2 หากผูเ้ รยี นยงั มีผลการเรียน “0” “ร” “มส” ให้ดำเนนิ การให้เสรจ็ สิน้ กอ่ น
เปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียนของ
ผู้เรียนได้ ทั้งน้ี โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ต้นสังกัดควรเป็นผู้พิจารณาประสานให้มีการดำเนินการ
เรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่อื แกไ้ ขผลการเรียนของผู้เรียน

12.4 การเปลย่ี นผลการเรียน “มผ”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย
กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ หรอื กิจกรรมชมรม โดยผู้เรียนเลือกอย่างใด
อย่างหนึ่ง 1 กจิ กรรมและเลอื กเข้าร่วมกจิ กรรมชุมนุม หรอื ชมรมอีก 1 กิจกรรม 3) กิจกรรมเพ่อื สังคมและ
สาธารณประโยชน์
ในกรณที ่ีผู้เรียนได้ผลการเรยี น “มผ” สถานศึกษาตอ้ งจดั ซอ่ มเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนทำกิจกรรมจนครบตาม
เวลาท่ีกำหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะท่ีต้องปรับปรุง แก้ไข แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียน
จาก “มผ” เป็น “ผ” ท้ังนี้ดำเนินการให้เสร็จส้ินภายในปีการศึกษานั้ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลย
พินจิ ของสถานศกึ ษา
12.5 การเปล่ียนแปลงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ไม่ผ่าน” ให้
คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคด์ ำเนินการจัดกจิ กรรมซ่อมเสริม ปรับปรุงแกไ้ ข หรือตาม
วธิ ีการทค่ี ณะกรรมการกำหนด เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด
13 การตดั สินให้ผ้เู รียนเลอื่ นชนั้ / ซ้ำชนั้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรยี นทงั้ หมดในรายวชิ านน้ั ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัด และผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด คือ ตัวชว้ี ัดที่
ต้องผ่าน ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของแตล่ ะรายวิชา
3) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผเู้ รียนต้องได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด ในการ
อ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
ถ้าผู้เรียนไม่ผ่านให้ดำเนินการสอนซ่อมเสริม แล้วทำการประเมินจนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ทีส่ ถานศึกษากำหนด
13.1 การเล่อื นชัน้
ผู้เรียนจะได้รับการตดั สนิ ผลการเรียนทกุ ภาคเรยี นและไดร้ ับการเลื่อนชนั้ เมอื่ สนิ้ ปีการศึกษา
โดยมีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ ดังนี้
1) รายวชิ าพ้ืนฐาน ได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นผ่านทกุ รายวชิ า
2) รายวิชาเพ่มิ เตมิ ไดร้ ับการตดั สนิ ผลการเรยี นผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด

3) ผู้เรียนต้องรับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดใน
การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคแ์ ละกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

4) ระดับผลการเรียนเฉลีย่ ในปีการศึกษานัน้ ควรไดไ้ มต่ ำ่ กว่า 1.00
ทั้งน้ีรายวิชาใดทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน สถานศกึ ษาสามารถซ่อมเสริมผเู้ รียนให้ไดร้ ับการ

แก้ไขในภาคเรยี นถัดไป
13.2 การเรียนซำ้
สถานศกึ ษาจะจัดใหผ้ เู้ รียนเรียนซ้ำใน 2 กรณี ดังนี้

กรณีท่ี 1 เรยี นซ้ำรายวชิ า หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแกต้ ัว 2 คร้ังแล้ว
ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ให้เรยี นซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจดั ให้เรยี นซ้ำ

ในชว่ งใดชว่ งหนง่ึ ทส่ี ถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวนั วนั หยดุ ช่วั โมงว่างหลังเลกิ เรยี น ภาคฤดู
รอ้ น เปน็ ต้น

กรณที ี่ 2 เรียนซำ้ ชั้น มี 2 ลกั ษณะ คือ

- ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปกี ารศึกษานั้นต่ำกว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็น
ปญั หาตอ่ การเรยี นในระดบั ชนั้ ท่ีสงู ขนึ้

- ผูเ้ รียนมีผลการเรยี น 0, ร, มส เกินครง่ึ หน่งึ ของรายวิชาท่ลี งทะเบียนเรียนในปกี ารศกึ ษา
นนั้

ทั้งน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือท้ัง 2 ลักษณะให้สถานศึกษาแต่งต้ัง

คณะกรรมการการพิจารณา หากเห็นว่าไมม่ เี หตผุ ลอันสมควรก็ให้ซ้ำชัน้ โดยยกเลิกผลการเรยี นเดิมและใหใ้ ช้
ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไมต่ ้องเรียนซ้ำช้ัน ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผล

การเรียน
13.3 การสอนซอ่ มเสรมิ
การสอนซ่อมเสริม เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการให้โอกาสแก่

ผู้เรียนให้มีเวลาเรียนรสู้ ่งิ ต่างๆ เพ่ิมขน้ึ จนสามารถบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัดที่กำหนดไว้ การ
สอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติเพ่ือแก้ไข

ข้อบกพร่องท่ีพบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ของผ้เู รยี น

การสอนซ่อมเสริมสามารถดำเนนิ การไดใ้ นกรณีดงั ต่อไปนี้

1) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการ
ซอ่ มเสริม ปรบั ความร/ู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน

2) การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น ผู้เรียนไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการหรือ
เจตคติ/คณุ ลักษณะที่กำหนดไว้ตามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั

3) ผลการเรียนไม่ถงึ เกณฑ์ และ/หรือตำ่ กว่าเกณฑ์การประเมนิ โดยผู้เรยี นได้ระดับผลการ

เรียน “0” ตอ้ งจดั การสอนซ่อมเสริมก่อนจะใหผ้ เู้ รยี นสอบแก้ตัว
4) ผู้เรยี นมีผลการเรยี นไม่ผ่าน สามารถจดั สอนซอ่ มเสริมในภาคฤดูร้อน ทงั้ นใ้ี ห้อยูใ่ นดุลย

พนิ ิจของสถานศกึ ษา

หมวดที่ 4 การเทียบโอนผลการเรียน

ข้อ 14 การเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนำผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ของผเู้ รียนท่ีเกิดจากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย มา
ประเมนิ เปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรใดหลกั สตู รหนง่ึ

แนวการดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตามระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการเทยี บ
โอนผลการเรยี น ดงั น้ี

14.1 ผู้ขอเทียบโอนต้องขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษา ทั้งน้ีโดยผู้ขอเทียบโอน
จะต้องไม่เป็นผู้ท่ีกำลังศึกษาอยู่ในระบบโดยสถานศึกษาดังกล่าวดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ในภาค
เรยี นแรกทข่ี นึ้ ทะเบยี นเป็นนกั เรียน ยกเว้นกรณมี เี หตุจำเป็น

14.2 จำนวนสาระการเรยี นรู้ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ ที่จะรบั เทียบโอน และอายขุ องผล
การเรียนท่ีจะนำมาเทียบโอน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ
สถานศกึ ษา ทงั้ นี้เมอื่ เทียบโอนแลว้ ตอ้ งมีเวลาเรียนอยใู่ นสถานศกึ ษาทีจ่ ะรับเทียบโอนไม่น้อยกว่า
1 ภาคเรียน

14.3 การเทียบโอนผลการเรียนใหด้ ำเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนผลการ
เรียนจำนวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คนแต่ไม่เกิน 5 คน

ขอ้ 15 การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดงั นี้
15.1 การเทยี บระดับการศึกษา หมายถงึ การนำผลการเรยี น ความร้แู ละประสบการณท์ ่ไี ด้

จากการศึกษาตามอธั ยาศัย และการศึกษานอกระบบ ไมแ่ บ่งระดับมาประเมินเพ่ือเทียบเท่าการศึกษาระดับ
ใดระดับหนึ่ง มี แนวทางการเทยี บระดบั การศกึ ษาดังน้ี

1) ผู้ขอเทียบระดับการศึกษาจะต้องไม่เป็นผู้ท่ีกำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาใน
ระบบ หรือสถานศึกษานอกระบบที่จัดการศึกษาเป็นระบบเดียวกันกับการศึกษาในระบบ และเป็นผู้สำเร็จ
การศึกษาตามหลักสตู รของกระทรวงศกึ ษาธิการ ในระดับทีต่ ่ำกวา่ ระดับการศึกษาท่ขี อเทยี บ 1 ระดบั
ผไู้ มเ่ คยมวี ฒุ ิการศึกษาใดๆ จะขอเทยี บระดับการศกึ ษาไดไ้ มเ่ กินระดบั ประถมศกึ ษา

2) ให้สถานศึกษาซึง่ เป็นทีท่ ำการเทียบระดับการศกึ ษา ดำเนินการเทยี บระดับด้วย
การประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ขอเทียบระดับ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายทั้งด้วย
การทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤติกรรมต่างๆ ให้ครอบคลุมคุณลักษณะของผู้เรียนท้ัง
ดา้ นพุทธิพสิ ยั จิตพิสัย และทักษะพสิ ัย ตามเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรที่ขอเทียบระดบั

3) ผู้ผ่านการประเมนิ จะได้รบั หลักฐานแสดงผลการประเมินเทียบระดบั ความรู้และ
ใบประกาศนยี บัตรรบั รองระดบั ความรูข้ องกระทรวงศกึ ษาธิการ

15.2 การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนำผลการเรียนซ่ึงเป็นความรู้ทักษะ และ
ประสบการณ์ของผู้เรียนท่ีเกิดจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และผล
การศึกษา จากต่างสถานศึกษามาประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลักสูตรใดหลักสูตรหน่ึงที่กำลัง
ศกึ ษา มีแนวการดำเนนิ การดังน้ี

1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษากำหนดจำนวน
รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ ท่สี ถานศึกษาจำกัดให้ผู้เรยี นสามารถขอเทียบโอนไดใ้ นการศกึ ษาตามหลักสตู รของ
สถานศึกษาแต่ละช่วงช้นั ทั้งนีผ้ ู้เรียนจะต้องเหลือรายวิชาท่ีจะตอ้ งศึกษาในสถานศึกษาอีกอย่างนอ้ ย 1 ภาค
เรียน พร้อมกับการกำหนดแนวทางและวธิ ีการเทียบโอนท้ังกรณีเทยี บโอนผลการเรยี นเดิมที่ผู้เรยี นศึกษากอ่ น

เขา้ ศึกษาในสถานศกึ ษา และกรณีเทียบโอนผลการเรยี นท่ีผ้เู รยี นขออนญุ าตไปศึกษาตา่ งสถานศึกษา จะต้อง
จดั ทำเป็นระเบียบการเทยี บโอนผลการเรียนของสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการเทียบโอน

ผลการเรียนด้วย
2) สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียนของ

สถานศึกษาให้ปฏิบัติหน้าท่ีกำหนดสาระ จัดสร้างเคร่ืองมือ สำหรับการเทียบโอนผลการเรียน และ
ดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน

3) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี น ทำการเทียบโอนผลการเรียน

ให้ผเู้ รยี นในกรณตี ่อไปนี้
กรณีการเทียบโอนผลการเรียนเดิม ท่ีเรียนศึกษามากอ่ นเข้าศึกษาในสถานศึกษา

ใหด้ ำเนินการดงั น้ี
1) ให้ดำเนนิ การใหเ้ สร็จในภาคเรยี นแรกทีผ่ ู้เรียนเข้าศึกษาในสถานศกึ ษา
2) ให้เทียบโอนผลการเรยี นเปน็ รายวิชา

3) ผู้เรียนย่ืนคำร้องเป็นลายลักษณ์อักษรขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตร
ของสถานศึกษา ตามจำนวนรายวิชาที่สถานศึกษากำหนดไว้ในระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของ

สถานศึกษาให้ผู้เรียนย่ืนคำร้อง พร้อมเอกสารหลักสูตรท่ีนำมาขอเทียบ และเอกสารการศึกษาท่ีได้รับมา
(ถา้ ผู้เรยี นม)ี

4) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี นพิจารณาหลักสูตรและหลกั ฐาน

เอกสารเดิมของผู้เรียน เพื่อเปรยี บเทียบหลักสตู รที่เรยี นมากับหลักสตู รของสถานศึกษาในรายวิชาท่ีขอเทียบ
ถ้ามีจุดประสงค์และเนื้อหาสาระตรงกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้รับเทียบโอนได้ และให้ได้ระดับผลการ

เรียนตามที่ได้มาในกรณีท่ีผู้เรียนย้ายสถานศึกษา แต่ถ้าเป็นกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาต่าง
ระบบ ให้คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนพจิ ารณาวา่ ควรยอมรับผลการเรียนเดิมหรือไม่ ถ้าไม่ยอมรับก็
ตอ้ งประเมนิ ใหใ้ หมด่ ว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ท่ีเหมาะสม

5) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดให้มีการประเมินความรู้
ความสามารถ และประสบการณ์ของผ้เู รียนใหม่ ตามตัวชวี้ ัดของรายวิชาทผ่ี เู้ รียนขอเทียบในกรณที ผี่ ู้เรยี นไม่

มีเอกสาร หลักฐานการศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรที่ผู้เรียนนำมาขอเทียบโอนมีความสอดคล้องกับ
ตัวช้ีวดั และเนื้อหาสาระของหลักสูตรท่ีขอเทยี บไมถ่ ึงร้อยละ 60 ผู้เรียนท่ีผา่ นการประเมินจะได้รับการเทียบ
โอนผลการเรียนได้ โดยได้ระดับผลการเรียนตามท่ีประเมินได้ ส่วนผู้ที่ไม่ผ่านการประเมินจะไม่ได้รับการ

เทยี บโอนผลการเรียน
กรณีผู้เรียนขออนุญาตไปศึกษารายวชิ าใดรายวิชาหนึ่ง ต่างสถานศึกษาหรือขอ

ศกึ ษาด้วยตนเองให้ดำเนินการดังน้ี
1) ให้ดำเนินการโดยผู้เรียนยื่นคำร้องไปศึกษาต่างสถานที่หรือต่างรูปแบบต่อ

คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซ่งึ จะพิจารณาผลการเรียนและความจำเป็นของผเู้ รียนตามระเบยี บการ

จดั การศกึ ษา 3 รปู แบบ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะจัดการศึกษาในระบบ
2) รายวิชาที่ผเู้ รียนขอไปศึกษาต่างสถานท่ี หรือตา่ งรปู แบบต้องมจี ุดประสงค์และ

เนือ้ หาสาระสอดคลอ้ งกับรายวชิ าในหลักสตู รของสถานศกึ ษาทจ่ี ะนำมาเทยี บโอนไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 60

3) กรณีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานศึกษาหรือระบบท่ีมีสถานศึกษาจัดการเรียน

การสอนแน่นอน ถ้าเห็นควรอนุญาตให้ไปเรียนไดใ้ หม้ ีการประสานงาน เร่อื งการจัดการเรียนการสอน การ

ประเมนิ ผล และการรับโอนผลการเรียนกอ่ น เมื่อไดต้ กลงรว่ มกนั เรยี บร้อยแล้วจึงจะอนญุ าตเมอื่ ศึกษาสำเร็จ
ใหร้ บั โอนผลการเรียนได้ทันที

4) กรณีผเู้ รยี นขออนุญาตศึกษาด้วยตนเอง หรือศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่สามารถ
ตดิ ต่อประสานได้ ถา้ คณะกรรมการพิจารณาความจำเป็นแล้ว เหน็ ควรอนุญาต เมือ่ ผเู้ รยี นมารายงานผลการ
เรยี น ใหค้ ณะกรรมการดำเนินการเทยี บโอนผลการเรียนทำการเทียบโอนผลการเรียนใหผ้ ู้เรยี น เชน่ เดียวกัน
กรณีการเทียบโอนผลการเรียนเดิมที่ผูเ้ รียนศกึ ษามากอ่ นเขา้ ศึกษาในสถานศกึ ษา

5) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษา
อนุมัตผิ ลการเทียบโอนผลการเรียน

หมวดท่ี 5 เอกสารหลักฐานการศึกษา

ข้อ 16 ใหส้ ถานศึกษาจัดให้มเี อกสารหลกั ฐานการประเมนิ ผลการเรยี นต่างๆ ดังน้ี
16.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ. 1) เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียน

ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่างๆ ที่ได้เรียนในแต่ละช้ันของหลักสูตรการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานเพื่อให้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสำเร็จในการศึกษาของผูเ้ รียนแต่ละคนใชเ้ ป็นหลกั ฐาน
ในการสมัครเข้าศึกษาตอ่ ทำงานหรือดำเนนิ การในเรอ่ื งอืน่ ท่ีเกยี่ วข้อง

16.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ. 2) เป็นเอกสาร ที่
สถานศึกษาออกให้กับผู้สำเรจ็ การศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนำไปใช้เป็นหลักฐาน
แสดงระดับวุฒกิ ารศึกษาของตน

16.3 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3) เป็นแบบรายงานรายช่ือข้อมูลของผู้สำเร็จ
การศึกษาภาคบังคับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบยืนยันและรับรอง
ความสำเรจ็ และวฒุ ิการศึกษาของผ้สู ำเรจ็ การศึกษาแต่ละคน ต่อเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาและกระทรวงศึกษาธิการ

16.4 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4) เป็นเอกสารรายงาน
พัฒนาการดา้ นคณุ ลักษณะของผ้เู รยี นเกี่ยวกบั คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ี
สถานศึกษากำหนดขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นพิเศษ เพ่ือการแก้ปัญหาหรือสร้างเอกลักษณ์ให้ผู้เรียนตาม
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการประเมินที่แสดงถึงสภาพหรือระดับคุณธรรม จริยธรรม
คา่ นยิ ม หรอื คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียนในแต่ละช้ัน สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ทำเอกสารน้ใี หผ้ เู้ รียนทุกๆ
คน ควบคู่กับระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียน เพื่อนำไปใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณลักษณะของผู้เรียน
เพือ่ ประกอบในการสมคั รศกึ ษาตอ่ หรอื สมัครทำงาน

16.5 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน (ปพ. 5) เป็นเอกสารสำหรับผู้สอนใช้
บนั ทึกเวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียนแต่ละคนท่ีเรียนในห้องเรียนกลุ่มเดียวกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ปรับปรงุ แกไ้ ข สง่ เสรมิ และตดั สนิ ผลการเรียนของผู้เรยี น รวมทง้ั ใชเ้ ปน็ หลักฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยัน
สภาพการเรยี น การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ และผลสัมฤทธ์ขิ องผเู้ รียนแต่ละคน

16.6 แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ. 6) เป็นเอกสารสำหรับ
บันทึกขอ้ มลู เกีย่ วกบั ผลการเรียน พัฒนาการในด้านตา่ งๆ และข้อมลู อนื่ ๆ ของผู้เรยี น

16.7 ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. 7) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการ
เฉพาะกจิ เพอื่ รับรองสถานภาพทางการศกึ ษาของผูเ้ รยี นเป็นการช่ัวคราว ทงั้ กรณีผ้เู รียนยังไม่สำเร็จการศึกษา
และสำเรจ็ การศึกษาแล้ว

16.8 ระเบียนสะสม (ปพ. 8) เป็นเอกสารสำหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและ
ผลงานด้านตา่ ง ของผ้เู รียนท้งั ทส่ี ถานศึกษาและท่ีบา้ น เพอ่ื ประโยชนใ์ นการแนะแนวผเู้ รยี นในทกุ ๆ ดา้ น

16.9 สมดุ บันทึกผลการเรยี น (ปพ. 9) เป็นสมดุ บนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ทส่ี ถานศึกษาจัดทำข้ึน
เพ่ือบันทึกรายการรายวิชาต่างๆ ที่ผู้เรียนจะต้องเรียนในแต่ละช้ัน ตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา
พร้อมด้วยผลการประเมินการเรียนของแต่ละรายวิชา และสถานศึกษาออกให้ผู้เรียนสำหรบั ใช้ศึกษาและนำ
แสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานที่สนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของรายวิชาต่างๆ ของ
สถานศึกษา พร้อมด้วยผลการเรียนของผู้เรียนจากการเรียนแต่ละรายวิชา กรณีท่ีผู้เรียนย้ายสถานศึกษา
ข้อมูลในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นข้อมูลในการเทียบโอนผลการเรียนจาก
สถานศกึ ษาเดมิ ไปเป็นผลการเรียนตามหลักสตู รของสถานศกึ ษาใหม่

หมวดที่ 6 บทเฉพาะกาล

ข้อ 17 ในกรณนี กั เรียนทีเ่ รียนตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซงึ่ ควรจะจบ
หลักสูตรในปีการศึกษา 2553 หรือก่อนปีการศึกษา 2553 แต่ไม่สามารถจบหลักสูตรได้ตามกำหนดให้ใช้
ระเบียบฉบบั นี้

ขอ้ 18 ให้ประธานคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและหวั หน้างานวิชาการของสถานศกึ ษารักษาการ
ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บน้ี

ข้อ 19 กรณีมีการเปล่ียนแปลงแก้ไข ให้เสนอคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานอนุมัติและให้
ความเห็นชอบกอ่ นนำไปใช้

ประกาศ ณ วันท่ี เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

(นายสนอง ศรีเกตุ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)

แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)

พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2564)

ส่วนที่ 1 การประเมินผลการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ

ส่วนท่ี 2 การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
ส่วนที่ 3 การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ส่วนที่ 4 การประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน

สว่ นท่ี 5 เกณฑ์การตัดสนิ การเล่อื นชน้ั และจบหลกั สตู ร
ส่วนที่ 6 การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ชาติ

แนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

เป้าหมายสำคัญของการประเมินผลการเรียนหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือ เพอื่ นำผลการประเมินไปพัฒนาผเู้ รียนให้บรรลมุ าตรฐานการ
เรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ โดยการนำผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการ
ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนโดยตรง นำผลไปปรับปรุงแก้ไขผลการจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น รวมทั้งนำไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสำเร็จทางการศึกษา
ของผเู้ รียน ตลอดจนความสำเร็จของผสู้ อนอีกด้วย

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านแม่ขรี
(สวิงประชาสรรค์) ประกอบดว้ ย

สว่ นท่ี 1 การประเมนิ ผลการเรยี นร้ตู ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ

การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทง้ั 8 กลุ่ม โรงเรยี นได้ดำเนนิ การประเมนิ ผลใน
ลักษณะตา่ งๆ ดังตอ่ ไปน้ี

1. การประเมินผลก่อนเรยี น
การประเมินผลก่อนเรียน กำหนดให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีต้อง
ประเมินผลก่อนเรียน เพื่อหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบ้ืองต้น สำหรับนำไปจัดกระบวนการเรียนรู้ให้
สอดคลอ้ งกับพ้ืนฐานของผู้เรียน ตามแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แต่จะไม่นำ
ผลการประเมินน้ีไปใช้ในการพิจารณาตดั สินผลการเรียน การประเมินผลก่อนเรยี นประกอบด้วยการประเมิน
ดังตอ่ ไปนี้
1.1 การประเมินความพรอ้ มและพน้ื ฐานของผเู้ รยี น
เปน็ การตรวจสอบความรู้ ทักษะ และความพร้อมตา่ งๆ ของผเู้ รียนที่เป็นพ้ืนฐานของเรอื่ งใหม่ๆ ท่ี
ผเู้ รียนต้องเรียนโดยใชว้ ิธีการที่เหมาะสม เพ่ือจะได้ทราบวา่ ผู้เรียนมีความพร้อมและพื้นฐานที่จะเรียนทุกคน
หรอื ไม่ แล้วนำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุง ซ่อมเสรมิ หรอื เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมและพื้นฐานพอเพียง
ทุกคนซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี การประเมินพื้นฐานและความพร้อม
ของผู้เรียนก่อนเรียน จึงมีความสำคัญและจำเป็นท่ีผู้สอนทุกคนจะต้องดำเนินการ เพ่ือเตรียมผู้เรียนให้มี
ความพร้อมในการเรียนทุกคร้ังจะทำให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถคาดหวัง
ความสำเร็จไดอ้ ยา่ งแน่นอน
การประเมนิ ความพรอ้ มและพ้นื ฐานของผู้เรยี นกอ่ นเรียนมีแนวปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1) วเิ คราะหค์ วามรู้และทักษะทเ่ี ป็นพื้นฐานก่อนเรียน
2) เลือกวิธีการและจัดทำเคร่ืองมือสำหรับประเมินความรู้ และทักษะพื้นฐานอย่างเหมาะสมและมี
ประสทิ ธิภาพ
3) ดำเนนิ การประเมินความรูแ้ ละทกั ษะพืน้ ฐานของผู้เรียน
4) นำผลการประเมินไปดำเนินการปรับปรุงผเู้ รียนให้มคี วามรู้และทักษะพ้ืนฐานอย่างพอเพียงก่อน
ดำเนนิ การสอน
5) จัดการเรียนการสอนในเรอ่ื งท่จี ัดเตรยี มไว้

1.2 การประเมินความรอบรใู้ นเรือ่ งที่จะเรียนกอ่ นการเรยี น

เป็นการประเมินผเู้ รียนในเรื่องท่ีจะทำการสอน เพือ่ ตรวจสอบวา่ ผู้เรียนมคี วามรู้และทกั ษะในเร่ืองท่ี
จะเรียนนั้นมากนอ้ ยเพยี งไร เพื่อนำไปเป็นขอ้ มลู เบือ้ งต้นของผู้เรียนแต่ละคนวา่ เรม่ิ ต้นเรียนเรอ่ื งนั้นๆ โดย

มีความรู้เดิมอยู่เท่าไรเพื่อจะได้นำไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนภายหลัง การเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นตาม
แผนการเรยี นรู้แล้ว วา่ เกิดพัฒนาการหรือเกิดการเรียนรูเ้ พ่ิมข้ึนหรือไม่เพียงไร ซึง่ จะทำให้ทราบถงึ ศกั ยภาพ
ในการเรียนรู้ของผู้เรียน และประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียน ซ่ึงจะใช้เป็นประโยชน์ในการ

สนองตอบการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มต่อไป แต่ประโยชน์ที่เกิดขึ้นในเบ้ืองต้นของการ
ประเมินผลก่อนเรียน ก็คือผู้สอนสามารถนำผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดเตรียม วิธีการจัด

กจิ กรรมการเรียนให้สอดคล้องกับความรู้เดิมของผ้เู รียนว่าต้องจดั อย่างเข้มข้นหรือมากนอ้ ยเพียงไร จึงจะทำ
ให้แผนการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ สามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการต่างๆ ตามตัวช้ีวัด
ด้วยกนั ทกุ คน ในขณะท่ีไมท่ ำให้ผเู้ รียนมีพืน้ ความรู้เดิมอยแู่ ล้วเกิดความรู้สกึ เบื่อหนา่ ย และเสียเวลาเรียนใน

สิ่งท่ีตนรู้แล้ว การประเมินความรอบรู้ก่อนเรียนมีขั้นตอนการปฏิบัติเหมือนกับการประเมินความพร้อมและ
พ้ืนฐานของผเู้ รียนต่างกันเฉพาะความรู้ ทกั ษะทีจ่ ะประเมนิ เท่านั้น

2. การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น
การประเมินระหว่างเรียนเป็นการประเมินท่ีมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุจุดปร ะสงค์
การเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ค่ี รูได้วางแผนไว้หรอื ไม่ เพ่ือนำสารสนเทศทไี่ ด้จากการประเมินไปส่กู าร

ปรบั ปรงุ แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและเกิดพัฒนาการสูงสุด
ตามศักยภาพ

การประเมินผลระหว่างเรยี นมีแนวทางในการปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน ดังนี้
2.1 วางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลระหว่างเรียน ผู้สอนจัดทำแผนการเรียนรู้ กำหนด
แนวทางการประเมินผลให้สอดคลอ้ งกับตัวชวี้ ัด ซึ่งในแผนการเรียนรู้จะระบภุ าระงานที่จะทำให้ผเู้ รียนบรรลุ

ตามตวั ชวี้ ดั อย่างเหมาะสม
2.2 เลือกวิธีการประเมินท่ีสอดคล้องกับภาระงานหรือกิจกรรมหลักที่กำหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ

ท้ังน้ีวิธกี ารประเมินทีเ่ หมาะสมอย่างย่ิงสำหรับการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากส่ิงท่ีผ้เู รียน
ไดแ้ สดงให้เหน็ ว่ามคี วามรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคอ์ ันเปน็ ผลจากการ
เรียนรู้ ตามที่ผ้สู อนได้จดั กระบวนการเรียนรู้ให้วิธีการประเมินทีผ่ ้สู อนสามารถเลือกใชใ้ นการประเมนิ ระหว่าง

เรยี น มดี ังน้ี
1) การประเมินด้วยการสื่อสารสว่ นบคุ คล ได้แก่

(1) การถามตอบระหว่างทำกิจกรรมการเรยี น
(2) การพบปะสนทนาพดู คยุ กับผเู้ รยี น
(3) การพบปะสนทนาพูดคุยกบั ผู้เกย่ี วขอ้ งกับผู้เรียน

(4) การสอบปากเปล่าเพ่อื ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ และทศั นคติ
(5) การอา่ นบนั ทึกเหตุการณ์ต่างๆ ของผเู้ รยี น

(6) การตรวจแบบฝึกหดั และการบ้าน พรอ้ มให้ข้อมูลป้อนกลับ
2) การประเมินจากการปฏบิ ัติ (Performance Assessment)

เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติเพ่ือให้ได้ข้อมูล

สารสนเทศวา่ ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรมู้ ากน้อยเพียงใด

การประเมนิ การปฏบิ ัตผิ ู้สอนต้องเตรยี มการในสิ่งสำคญั 2 ประการ คอื
(1) ภาระงานหรือกิจกรรมที่จะให้ผเู้ รียนปฏิบัติ (Tasks)
(2) เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)
วิธีการประเมินการปฏบิ ัติจะเป็นไปตามลักษณะงาน ดงั นี้
ก. ภาระงานหรือกิจกรรมท่ีผู้สอนกำหนดให้ผู้เรียนทำเป็นรายบุคคล/กลุ่ม จะประเมิน
วธิ ีการทำงานตามขั้นตอนและผลงานของผ้เู รียน
ข. ภาระงานหรือกิจกรรมที่ผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจำวันจะประเมินด้วยวิธีการ
สังเกต จดบันทกึ เหตุการณเ์ กีย่ วกบั ผู้เรียน
ค. การสาธิต ได้แก่ การให้ผู้เรียนแสดงหรือปฏิบัติกิจกรรมตามที่กำหนด เช่น การใช้
เครื่องมือปฏิบัติงาน การทำกายบริหาร การเล่นดนตรี จะประเมินวิธีการและขั้นตอนในการสาธิตของ
ผู้เรยี นด้วยวิธกี ารสังเกต
ง. การทำโครงงาน การจัดการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กำหนดให้ผู้สอน
ต้องมอบหมายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติโครงงานอย่างน้อย 1 โครงงานในทุกช่วงชั้น ดังน้ันผู้สอนจึงต้องกำหนด
ภาระงานในลกั ษณะของโครงงานใหผ้ เู้ รียนปฏิบตั ใิ นรปู แบบหนึ่ง ใน 4 รูปแบบต่อไปน้ี

(1) โครงงานสำรวจ
(2) โครงงานส่ิงประดิษฐ์
(3) โครงงานแก้ปญั หาหรือการทดลองศึกษาค้นควา้
(4) โครงงานอาชพี

วธิ ีการประเมินผลโครงงาน ใช้การประเมิน 3 ระยะ คือ
1) ระยะก่อนทำโครงงาน โดยประเมนิ ความพร้อมด้านการเตรียมการ และความเปน็ ไปได้
ในการปฏบิ ตั ิงาน
2) ระยะทำโครงงาน โดยประเมินการปฏิบัติจริงตามแผน วิธีการและขั้นตอนกำหนดไว้
และการปรับปรุงงานระหวา่ งปฏบิ ตั ิงาน
3) ระยะสิ้นสุดการทำโครงงาน โดยประเมินผลงานและวิธีการนำเสนอผลการดำเนิน
โครงงาน
การกำหนดใหผ้ ้เู รียนทำโครงงาน สามารถทำได้ 3 แบบ คือ
1) โครงงานรายบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกปฏิบัติงานตามความสามารถ ความ
ถนดั และความสนใจ
2) โครงงานกลมุ่ เป็นการทำโครงงานขนาดใหญ่และซับซ้อนต้องให้ผู้เรียนท่ีมีความสามารถ
ตา่ งกันหลายด้านช่วยกนั ทำ การประเมินโครงงานควรเนน้ การประเมินกระบวนการกล่มุ
3) โครงงานผสมระหว่างรายบุคคลกับกลุ่ม เป็นโครงงานท่ีผู้เรียนทำร่วมกัน แต่เม่ือเสร็จ
งานแล้วใหแ้ ตล่ ะคนรายงานผลดว้ ยตนเอง โดยไม่ตอ้ งไดร้ ับการช่วยเหลือจากสมาชิกในกลุ่ม
ในการประเมินการปฏิบัติงานดังกล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจำเป็นต้องสร้างเคร่ืองมือเพื่อใช้
ประกอบการประเมินการปฏบิ ตั ิ เชน่
- แบบวดั ภาคปฏิบัติ
- แบบสังเกตพฤติกรรม

- แบบตรวจสอบรายการ
- เกณฑก์ ารให้คะแนน (Rubrics)

เป็นตน้
3) การประเมินตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment)
การประเมินสภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึง
โดยงานหรือกิจกรรมท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณ์ที่เป็นจริง (Real life) หรือ
ใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็นงานที่มีสถานการณ์ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic)
มากกวา่ งานปฏบิ ตั ใิ นกิจกรรมการเรียนท่วั ไป
วิธีการประเมินสภาพจริงไมม่ ีความแตกตา่ งจากการปฏิบตั ิ (Performance Assessment)
เพียงแตอ่ าจมีความยุง่ ยากในการประเมินมากกว่า เน่ืองจากเป็นสถานการณจ์ รงิ หรอื ตอ้ งจัดสถานการณ์ให้
ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทำให้ทราบความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียนว่า มี
จดุ เดน่ และข้อบกพรอ่ งในเรือ่ งใด อันจะนำไปสู่การแกไ้ ขท่ตี รงประเดน็ ทีส่ ดุ

4) การประเมินดว้ ยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment)
การประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมงาน เป็นวิธีการประเมนิ ทช่ี ่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพ
จริงมีความสมบูรณ์สะท้อนศักยภาพท่ีแท้จริงของผู้เรียนมากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม (Collect)
ผลงานจากการปฏิบัติจริงทั้งในชน้ั เรียนหรือในชีวิตจริงทเ่ี ก่ียวข้องกับการเรียนร้ตู ามสาระการเรยี นรูต้ า่ งๆ มา
จดั แสดงอย่างเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสะทอ้ นใหเ้ ห็น (Reflect) ความพยายาม เจต
คติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธิ์ผล (Achievement) ของการเรียนรขู้ องผู้เรียน การวางแผน
ดำเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานท่ีสมบูรณ์จะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมินจากแฟ้มสะสมงานแทน
การประเมินจากการปฏบิ ัติจริง
การประเมินดว้ ยแฟ้มสะสมงานมแี นวทางในการดำเนนิ งานดงั น้ี
1) กำหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่า ต้องการ
สะท้อนส่ิงใดเก่ียวกับความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน ทั้งนี้อาจพิจารณาจากตัวชี้วัดตามสาระการ
เรียนรู้ทสี่ ะทอ้ นได้จากการใหผ้ เู้ รียนจัดทำแฟม้ สะสมงาน
2) กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน
เพอื่ ให้ผเู้ รียนไดท้ ำแฟม้ สะสมงาน
3) กำหนดให้วิธีการประเมินงานเพ่ือพัฒนาชิ้นงาน ซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถสูงสดุ ทงั้ น้ีครูควรจดั ทำเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สำหรับให้ผู้เรียนนำไปใช้เป็นข้อชี้นำ
ในการพฒั นางาน
4) ส่งเสรมิ ให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนร่วมในการประเมินจากทุกฝ่าย
แล้วนำข้อมูลท่ีสอดคล้องกันไปเป็นสารสนเทศหลัก ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สำหรับให้
ผูเ้ รียนใช้ในการปรับปรงุ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
5) จดั ให้มีการนำเสนอผลงานที่ได้สะสมไว้ โดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม ซ่ึงผู้สอนและผู้เรียน
ควรวางแผนร่วมกนั ในการคัดเลอื กช้ินงานท่ีดีทีส่ ุด ทัง้ น้ีการนำเสนอชน้ิ งานแต่ละชิ้นควรมหี ลกั ฐานการพฒั นา
งานและการประเมินผลงานด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมินผลงานประกอบไวด้ ้วย ในการใช้วิธีการประเมิน
โดยแฟ้มสะสมงาน ผู้สอนควรคำนึงด้วยว่าแฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลือกใช้แฟ้ มสะสมงาน

ประเภทใด ควรคำนึงถงึ รปู แบบและแนวทางในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานใหเ้ หมาะสม เพ่ือให้แฟ้มสะสมงาน
ช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรคข์ องผูเ้ รียนด้วย

2.3 กำหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินผลปลายภาคเรียน หรือปลายปี
การประเมินระหว่างเรียนมีวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อมุ่งนำสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุง

กระบวนการจัดการเรียนของผู้เรียน การประเมินระหว่างเรียนที่ดำเนินการอย่างถูกต้อง เข้มงวด และ
จริงจัง จะให้ผลการประเมินท่ีสะท้อนภาพความสำเร็จ และศักยภาพของผู้เรียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์ และ
น่าเชื่อถือ ดังน้ัน ควรให้น้ำหนักความสำคัญของการประเมินระหว่างเรียนในสัดส่วนที่มากกว่าการ

ประเมินตอนปลายภาคเรียนหรอื ปลายปี ท้งั น้โี ดยคำนึงถงึ ธรรมชาติของรายวิชาและตวั ชี้วดั เป็นสำคญั แต่
อย่างไรก็ตามในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรายวิชาปลายภาคเรียนหรือปลายปี ต้องนำผล การ

ประเมินระหว่างเรียนไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนด้วย ทั้งน้ีให้เป็นไปตามสัดส่วนและแนวดำเนินการใน
ระเบียบที่สถานศกึ ษาผกู้ ำหนด

2.4 จัดทำเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ผู้สอนต้องจัดทำเอกสารบันทึก

ขอ้ มูลสารสนเทศเกี่ยวกับการประเมินผลระหว่างเรียนอย่างเป็นระบบชัดเจน เพื่อใชเ้ ป็นแหล่งขอ้ มูลในการ
ปรับปรงุ แก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน ใช้เป็นหลักฐานสำหรับการสื่อสารกับผู้เกี่ยวขอ้ งและใชเ้ ป็นหลักฐานสำหรับ

ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของผู้สอน ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความโปรง่ ใสและความยุติธรรมในการประเมนิ ทั้งนใี้ ห้
เป็นไปตามระเบยี บท่ีสถานศึกษากำหนด

ขอ้ มลู หลกั ฐานการประเมินระหว่างท่ีพึงแสดง ได้แก่

1) วิธกี ารและเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู
2) ข้อมูลเก่ียวกับความสามารถของผู้เรียนตามวิธีการประเมิน เช่น บันทึกการสังเกต

พฤติกรรม บันทึกคะแนนจากผลการประเมินชิ้นงาน บันทึกคะแนนการประเมินโครงงาน บันทึกเกี่ยวกับ
การประเมนิ แฟ้มสะสมงาน เปน็ ต้น

3. การประเมินเพ่อื สรุปผลการเรียน

การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนเป็นการประเมิน เพ่ือมุ่งตรวจสอบความสำเรจ็ ของผู้เรียนเมื่อ
ผ่านการเรยี นรใู้ นช่วงเวลาหน่งึ หรือส้ินสดุ การเรยี นรายวิชาปลายป/ี ปลายภาคประกอบดว้ ย

3.1 การประเมนิ หลงั เรยี น
เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องท่ีได้เรียนจบแล้ว เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการ

เรียนรู้ตามตัวชี้วัดท่ีคาดหวังหรือไม่ เม่ือนำไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนว่าผู้เรียนเกิด

พัฒนาการข้ึนมากน้อยเพียงไร ทำให้สามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงไร และ
กิจกรรมการเรียนท่ีจัดข้ึนมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการ

เรียน สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้มากมาย ไดแ้ ก่
1) ปรับปรุงแก้ไขซ่อมเสรมิ ผูเ้ รียนให้บรรลตุ วั ชี้วัด หรือจดุ ประสงคข์ องการเรยี น
2) ปรับปรงุ แก้ไขวิธเี รียนของผเู้ รยี นให้มปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ขึน้

3) ปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การประเมินหลังเรียนน้ี ถ้าจะให้สอดคล้องกับการประเมินก่อนเรียนเพ่ือการ

เปรียบเทยี บพัฒนาการของผู้เรียนสำหรับการวจิ ัยในชน้ั เรียน ควรใช้วิธกี ารและเคร่ืองมือประเมินชุดเดยี วกัน
หรอื ค่ขู นานกนั

3.2 การประเมินผลการเรียนปลายภาค
เป็นการประเมินผลเพอื่ ตรวจสอบผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรียนในการเรียนรายวิชาตา่ งๆ ตาม

ตวั ชีว้ ัด การประเมินผลน้ีนอกจากจะมจี ุดประสงค์เพ่ือการสรปุ ตัดสนิ ความสำเร็จของผู้เรียน ในแต่ละรายวชิ า
รายภาค เปน็ สำคญั แล้ว ยังใช้เป็นข้อมูลสำหรับปรับปรงุ แกไ้ ข ซอ่ มเสริมผู้เรยี นที่ไม่ผ่านการประเมนิ ตัวชว้ี ัด
ของแต่ละรายวชิ า ใหเ้ กดิ พฒั นาการและมีผลการเรียนตามตวั ชวี้ ดั อยา่ งครบถ้วนสมบรู ณด์ ว้ ย

การประเมินผลการเรียนปลายภาค สามารถใช้วิธีการและเคร่ืองมือการประเมินได้อย่าง
หลากหลาย ให้สอดคล้องกบั ตัวชี้วัด เนอ้ื หาสาระ กจิ กรรมและชว่ งเวลาในการประเมิน อย่างไรก็ดีเพื่อให้
การประเมินผลการเรียนดังกล่าวมีส่วนที่เก่ียวข้องสัมพันธ์และสนับสนุนการเรียนการสอน จึงให้นำผลการ
ประเมินผลระหว่างเรียนไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการเรียนปลายภาค โดยสัดส่วนการประเมินผล
ระหว่างเรยี นมากกวา่ การประเมนิ ผลปลายภาคเรียน

วธิ ีการปฏิบตั กิ ารประเมนิ ผลตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่

การดำเนนิ การประเมินผลตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ โรงเรียนได้กำหนดวิธีการปฏิบตั ิดังน้ี
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการร่วมกันกำหนดหลกั การประเมนิ ผล 8 กล่มุ สาระ ดงั นี้
1. ทุกกลุ่มสาระให้มีการประเมินผลทุกรายวิชาให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
และคณุ ลักษณะ โดยมกี ารประเมินผลดงั นี้

1.1 การประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น
1.1.1 ประเมินผลก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความพร้อมและพ้ืนฐานของผู้เรียนและจัด

กจิ กรรมซ่อมเสริมเพื่อใหม้ คี วามรพู้ ้นื ฐานเพยี งพอท่ีจะเรียน
1.1.2 ประเมินก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรอบรูใ้ นเนื้อหา และทักษะท่ีจะเรม่ิ เรยี น เพ่ือ

เป็นข้อมูลเปรยี บเทยี บผลการเรยี นหลังเรียน แสดงการพฒั นาการของผู้เรยี น
1.1.3 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลเป็นระยะๆ และสอดคล้องกับ

ตัวชี้วัด โดยใช้การประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายทั้งวิธีการวัด เครื่องมือ และ
แหล่งข้อมูล เพื่อมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน และนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขจนผู้เรียน
สามารถบรรลุตามเกณฑ์ขั้นต่ำท่ีกำหนดไว้ โดยใช้วิธีการทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั ศักยภาพของแต่ละบุคคล
ในกรณีท่ีผู้เรียนต้องการพัฒนาปรับปรุงผลการเรียนใหส้ ูงขึ้น ให้ผ้สู อนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุง
แก้ไขผลงาน/ชน้ิ งานตนเองจนเตม็ ศักยภาพของผเู้ รยี นภายในเวลาทกี่ ำหนดให้

1.1.4 การประเมินรายภาค ในการประเมินผลปลายภาคสามารถประเมินจากการปฏิบัติ
การสื่อสาร เช่น การสัมภาษณ์จากผลงาน / ช้ินงาน โครงงานหรือแบบทดสอบ ท้ังน้ีให้สอดคล้องกับ
ตัวชี้วดั

2. การกำหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับการประเมินปลายภาค ให้กลุ่มสาระการเรียนรู้แต่ละกลุ่ม
ร่วมกันกำหนดตามหลกั การท่ีคณะกรรมการการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการดังน้ี

2.1 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของการ
ประเมนิ ผลท้งั หมด ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ และกล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใหม้ ีการประเมนิ ผลไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70

2.2 การประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมินผลปลายภาค ให้มีการประเมินท้ังด้าน
ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ และคณุ ลักษณะ

2.3 ในรายวิชาเดียวกันให้มีการกำหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับปลายภาค และวางแผน
ประเมินผลตลอดภาคเรยี นร่วมกัน

2.4 ในกรณีที่มีการประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ให้มีการประเมินโดยใช้วิธีการให้ผู้เรียน
ตอบแบบทดสอบอตั นัย โดยมีการให้คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 70 ของการทดสอบครัง้ น้ัน

3. การจัดทำเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผูเ้ รียน ประกอบดว้ ย
3.1 ผู้สอนแต่ละรายวิชาจัดทำแผนการประเมินผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาคเรียน

โดยมีหัวขอ้ ดังน้ี

1) การประเมนิ ผลก่อนเรยี น
2) การประเมินระหวา่ งเรียน

3) การประเมนิ ปลายภาค
4) อัตราส่วนน้ำหนักคะแนนระหว่างความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และ
คุณลักษณะ (A) และรายละเอียดน้ำหนักคะแนนของแต่ละตัวช้ีวัด พร้อมทั้งระบุวิธีการวัด เครื่องมือวัด

และประเมนิ ผลในแตล่ ะตัวชวี้ ดั
5) กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประกอบด้วย คุณลักษณะตามธรรมชาติ

วิชา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ท้ังน้ีให้ใช้แบบสรุปผลการประเมินตามแบบบันทึกท่ี
แนบทา้ ยค่มู อื น้ี

3.2 จัดทำแบบบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่แสดงสารสนเทศของผู้เรียน ทั้งน้ีเพ่ือใช้เป็น

แหล่งข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน และใช้เป็นหลักฐานสำหรับส่ือสารกับผู้เกี่ยวข้อง และใช้
เป็นหลกั ฐานสำหรับตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของผู้สอน ดังน้ันข้อมูลควรแสดงถึงร่องรอยการพฒั นา พร้อม

ระบุข้อสังเกตท่ีเน้นข้อค้นพบท่ีเป็นจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งระหว่างเรียนและปลาย
ภาค

3.3 จัดทำแบบบันทึกการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน

เพื่อแสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน และสรุปผลการ
ประเมนิ ตามแบบสรุปผลการประเมนิ แนบท้ายคมู่ อื นี้

3.4 จัดทำแบบบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือแสดงร่องรอยหลักฐาน
การพฒั นาคณุ ลักษณะผเู้ รยี น และสรุปผลการประเมนิ ตามแบบสรุปผลการประเมนิ แนบท้ายคูม่ อื น้ี

3.5 นำผลการประเมนิ จากขอ้ 3.2, 3.3 และ 3.4 มาสรปุ และบนั ทึกลงในแบบ ปพ.5

4. การตดั สนิ ผลการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่
4.1 การตัดสนิ ผลการเรียนให้นำผลการประเมนิ ระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมิน ปลาย

ภาค โดยใช้เกณฑ์ดงั นี้

ตารางแสดงคะแนน และระดบั ผลการเรยี น

ชว่ งคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ความหมาย ระดบั ผลการเรียน
80 - 100 ผลการเรียนดีเย่ยี ม 4
75 - 79 ผลการเรยี นดีมาก 3.5
70 - 74 ผลการเรียนดี 3
65 - 69 ผลการเรยี นคอ่ นข้างดี 2.5
60 - 64 ผลการเรยี นน่าพอใจ 2
55 - 59 ผลการเรียนพอใช้ 1.5
50 - 54 ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด 1
0 - 49 ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ขนั้ ต่ำทกี่ ำหนด 0

เมอ่ื ครูผ้สู อนตดั สินผลการเรียนแลว้ ใหด้ ำเนินการดังนี้
ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุ่มสาระพิจารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้

คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพ่ือนำเสนอผู้บริหารสถานศกึ ษาอนุมัติผลการ
เรยี น

สง่ ผลการเรียนให้ ครูท่ีปรึกษากรอกผลการเรยี นลงในแบบ ปพ.6 และนายทะเบียนวัดผล

กรอกในแบบ ปพ.1
5. การใหผ้ ลการเรยี น “ร”

5.1 การใหผ้ ลการเรียน “ร” หมายถึง ผู้เรยี นท่ีมลี ักษณะดังนี้
1) ผเู้ รยี นไม่ไดร้ บั การประเมนิ หรือประเมนิ แล้วไม่ผา่ นเกณฑร์ ะหวา่ งเรยี น
2) ผู้เรียนไมไ่ ดร้ บั การประเมนิ ปลายภาค

5.2 วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เมือ่ ผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผลระหวา่ ง
เรียนหรือปลายภาค ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพ่ืออนุมัติผลการ

เรียน “ร” แลว้ ประกาศผลใหน้ ักเรียนทราบ
6. การให้ผลการเรยี น “มส”
6.1 การให้ผลการเรียน “มส” หมายถงึ ผู้เรยี นมเี วลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80

ของเวลาทัง้ หมด
6.2 วธิ ีการให้ผลการเรยี น “มส” ให้ผู้สอนรายงานพรอ้ มแนบเวลาเรยี นของผเู้ รียน เสนอ

ผู้บรหิ ารเพอ่ื อนุมัติผลการเรยี น “มส” ก่อนประเมินผลปลายภาค 2 สัปดาห์
7. การแกไ้ ข “0”
7.1 ผ้เู รยี นนำใบแจง้ ความจำนงการแกไ้ ข “0” พบครผู ู้สอนประจำวชิ า

7.2 ผู้สอนดำเนินการพัฒนาผู้เรียนในผลการเรียนรู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถ
บรรลุผลตามเกณฑท์ ่กี ำหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไมเ่ กนิ “1”

7.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “0” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพื่อเสนอต่อ
ผ้บู ริหารอนมุ ตั ิ และแจง้ ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง

8. การแก้ไข “ร”
8.1 ผ้เู รยี นนำใบแจง้ ความจำนงการแกไ้ ข “ร” พบครูผสู้ อนประจำวิชา
8.2 ผู้สอนดำเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” นั้นๆ โดยให้ผลการเรียนตาม

เกณฑ์ข้อ 4
8.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเหน็ ชอบ เพื่อเสนอตอ่ ผูบ้ รหิ ารอนมุ ัติ แลว้ แจง้ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
9. การแก้ไข “มส”
9.1 ผู้เรียนนำใบแจง้ ความจำนงไปพบครูผ้สู อนประจำวิชา
9.2 ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดำเนินการพัฒนาแก้ไขในส่ิงน้ันจน

บรรลุเกณฑข์ ัน้ ต่ำทกี่ ำหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรียนไม่เกนิ “1”
9.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการเห็นชอบ เพอ่ื เสนอผ้บู ริหารอนมุ ัติ แล้วแจง้ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง
10. การแก้ไข “0” “ร” และ “มส” ให้ดำเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นภายใน 2 สัปดาห์

หลงั จากไดร้ ับแจง้ ประกาศของงานวัดผลโรงเรียน

สว่ นที่ 2 การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน

กิจก รรมพัฒ น าผู้เรีย น เป็นกิ จก รรมที่ สถาน ศึก ษาได้ ให้ผู้เรี ยน ใน ทุ ก ระ ดับ ช้ัน การ ศึก ษาได้พั ฒ น า
ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของ
สถานศึกษา มีการดำเนินการอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีรูปแบบ และวิธีการท่ีครูที่ปรึกษากิจกรรมและ
ผเู้ รยี นร่วมกนั กำหนด ผู้เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด จึง
จะผ่านเกณฑ์การประเมินระดับชั้น

1. ลักษณะกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คือ
1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้

เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถคน้ พบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต
วฒุ ิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา และการสร้างสัมพันธภาพท่ีดี ซึ่งครูทุกคนตอ้ งทำหน้าท่ี
แนะแนวใหค้ ำปรึกษาดา้ นชวี ิต การศึกษาต่อและการพฒั นาตนเองสโู่ ลกอาชพี และการมีงานทำ

1.2 กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจรต้ังแต่
ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน โดยเน้นการทำงานร่วมกัน
อย่างเป็นกลุ่ม ได้แก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวิชาการ กิจกรรมพัฒนานิสัยรักการอ่าน
การคิด วิเคราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และ
ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ และกจิ กรรมพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น

1.3 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่สี ่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพ่ือแสดงถึงความ
รบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มจี ิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรม
สรา้ งสรรคส์ งั คม

2. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม
1) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจุดประสงค์ของแต่ละ

กจิ กรรม โดยประเมินจากพฤตกิ รรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย
ตามสภาพจริง

2) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนว่าเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี
สถานศกึ ษากำหนดไว้หรอื ไม่

3) ตัดสินให้ผู้เรียนที่ผ่านจุดประสงค์สำคัญของกิจกรรม มีผลงานชิ้นงานหรือหลักฐาน
ประกอบและมีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ให้เปน็ ผู้ผ่านการประเมนิ ผลการร่วมกิจกรรม ผู้เรียนท่มี ี
ผลการประเมินบกพร่องในเกณฑใ์ ดเกณฑ์หนึ่ง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้องซอ่ ม
เสรมิ ข้อบกพร่องให้ผา่ นเกณฑก์ ่อน จึงจะไดร้ ับการตดั สินใหผ้ ่านกจิ กรรม

3. การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนเล่อื นช้ัน/จบหลกั สูตร
เปน็ การประเมินสรุปผลการผ่านกิจกรรมตลอดปีการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนเพื่อนำผลไป

พิจารณาตดั สนิ การเลื่อนช้ัน โดยมีขนั้ ตอนปฏิบัติดังน้ี
3.1 คณะกรรมการท่ีไดร้ ับแต่งตัง้ รวบรวมผลการประเมินแตล่ ะกจิ กรรมมาตัดสินตามเกณฑ์

การตัดสนิ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น และรายงานผลตอ่ ผปู้ กครอง
3.2 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คณะกรรมการบริหาร

หลกั สูตรและวิชาการเพ่อื พจิ ารณาเหน็ ชอบ
3.3 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาพิจารณาตัดสินอนุมตั ผิ ลการประเมินรายภาค
3.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสิน

ผลการเล่ือนชั้น/จบหลักสูตร เสนอผูบ้ รหิ ารอนมุ ตั ิ

4. เกณฑ์ตัดสินผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
4.1 เกณฑ์การตัดสินรายกจิ กรรมพิจารณาสจาก
1) เขา้ รว่ มกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาทั้งหมด
2) ผูเ้ รยี นมพี ฤตกิ รรมด้านการเรยี นรู้ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70
3) ผู้เรยี นปฏิบัติกิจกรรมและผ่านจุดประสงค์สำคัญของแตล่ ะกิจกรรมกำหนด ทุก

ขอ้
4.2 ผเู้ รยี นต้องผา่ นเกณฑ์ ข้อ 4.1 ถือว่าผา่ นรายกิจกรรม
4.3 เกณฑ์การตัดสินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมินผ่านทั้ง

กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนทุกกิจกรรมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ถือว่าผ่าน
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

4.4 เกณฑ์การผ่านเลื่อนชั้น / จบหลักสูตร ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมิน ผ่าน
ทุกกิจกรรมรายภาค

5. แนวทางการซอ่ มเสริมกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน
5.1 กรณีไม่ผ่านเน่ืองจากเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบ คณะกรรมการพัฒนาและการ

ประเมินกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กำหนดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนไปปฏบิ ตั ติ ามเวลาที่กำหนด ภายใต้การควบคุมดูแล
ของท่ีปรึกษากจิ กรรมน้ันๆ จนกวา่ ผเู้ รียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมนน้ั ได้ อาจารยป์ ระจำกจิ กรรม สรุปรายงานผลการ

ปฏิบัติกิจกรรมให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือตัดสินผลการผ่าน
กจิ กรรมรายภาค

5.2 กรณีไม่ผ่านจุดประสงค์สำคัญของกิจกรรมให้คณะกรรมการมอบหมายภาระงานท่ี
ผูเ้ รยี นไมผ่ ่านไปปฏบิ ตั ิภายใต้การดแู ลของอาจารย์ท่ปี รกึ ษากิจกรรม จนกวา่ ผเู้ รยี นจะปฏบิ ตั ิตามภาระงานนั้น
ได้ ให้ที่ปรึกษาสรุปผลการปฏิบัติส่งให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินการซ่อมเสริม เพ่ือตัดสินผล
การผา่ นกิจกรรมเปน็ รายภาค

5.3 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินท้ังกรณีใน ข้อ 5.1 และ ข้อ 5.2 ส่ง
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการ เห็นชอบและเสนอผ้บู รหิ ารอนุมตั ติ ่อไป

สว่ นท่ี 3 การพฒั นาและประเมินผลคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสำคัญของคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่มีการจัดการศึกษาเป็น

วิธีการหลกั ท่ีสำคัญท่ีสดุ การจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเป็นมนษุ ย์ท่สี มบูรณ์ จึงจำเป็นต้องมีการพฒั นาผู้เรยี นให้
เป็นผทู้ ่มี ีการพฒั นาการทง้ั ด้านปัญญา จติ ใจ ร่างกาย และสงั คม การพฒั นาจิตใจจึงถอื เป็นส่งิ ท่สี ำคัญอยา่ ง
ย่ิง ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราท่ี 23 “การจัดการศึกษา ท้ัง
การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ต้องเนน้ ทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู้
และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ” มาตรา 24 วรรค 4 “จัดการเรียนการสอนโดย
ผสมผสานสาระความรู้ต่างๆ อย่างเป็นสัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม แล ะ
คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ไว้ในทกุ วิชา

ดว้ ยเหตดุ ังกล่าวขา้ งต้น หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกำหนดไว้
ใน จุดหมายของหลกั สตู รเป็นข้อแรก คือ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพี่ ึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของ
ตนเอง มวี ินัยและปฏิบัตติ นตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และกำหนดให้สถานศึกษาได้สร้างหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง ท้ังน้ีเพ่ือให้เป็น
หลักสูตรท่ีตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นไปตามความต้องการจำเป็นของ
ชุมชนท้องถิ่นของตนอง โดยท่ีสถานศึกษาจะต้องร่วมกับชุมชนกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ด้าน
คุณธรรม จริยธรรมค่านิยมที่สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความจำเป็นของชุมชน และท้องถ่ิน และกำหนด
เป็นเกณฑ์การจบหลักสูตรข้อหนึ่ง ในแต่ละระดับ คือ ผู้เรียนต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึ ง
ประสงค์ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากำหนด
2. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้กำหนดให้
สถานศึกษาทกุ แหง่ พัฒนาผเู้ รียน ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่ือสตั ย์สุจรติ
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง

6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

ความหมายและตัวบง่ ชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.1 คณุ ลักษณะ : รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

ความหมาย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่
แสดงออกด้วยกาย วาจาและใจ

ตวั บง่ ชคี้ ณุ ลกั ษณะ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2.1.1 มีความจงรกั ดภี ักดใี นสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2.1.2 ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมศาสนา
2.2 คณุ ลักษณะ : ซือ่ สัตย์สจุ ริต
ความหมาย ซื่อสตั ย์สุจรติ หมายถึง ลักษณะของบุคคลทแี่ สดงออกดว้ ยกาย
วาจาและใจ
ตวั บง่ ชค้ี ณุ ลักษณะ ซ่ือสตั ย์สุจรติ
2.2.1 ไมน่ ำส่งิ ของผูอ้ นื่ มาเป็นของตน
2.2.2 ไมพ่ ูดเทจ็ ทัง้ ตอ่ หนา้ และลับหลงั
2.3 คณุ ลกั ษณะ : มีวินัย
ความหมาย มีวินัย หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่
จดจ่อ ตั้งใจ มุง่ มั่นตอ่ หนา้ ทก่ี ารงาน การศึกษาเลา่ เรียน และการเปน็ อย่ขู องตนเอง และผูอ้ ยู่ในความดแู ล
ตลอดจนสังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่
กำหนด ยอมรับผลการกระทำทงั้ ผลดแี ละผลเสียทีเ่ กดิ ขนึ้ รวมท้ังปรับปรุงการปฏบิ ัตใิ หด้ ขี ้นึ ดว้ ย
ตวั บ่งชค้ี ุณลักษณะ มวี ินยั
2.3.1 มีความพยายามปฏิบัติภารกิจ หน้าที่การงาน การศึกษา หรือหน้าท่ีที่
ได้รับมอบหมายอย่างเตม็ ความสามารถ
2.3.2 ตรงตอ่ เวลา
2.3.3 ทำงานโดยคำนึงถึงคณุ ภาพของงาน
2.3.4 ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัติ
2.4 คณุ ลกั ษณะ : ใฝเ่ รยี นรู้
ความหมาย ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความใฝ่
เรียน ใฝร่ ู้
ตัวบ่งชีค้ ุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้
2.4.1 มีการซักถามปญั หาในและนอกบทเรียนสม่ำเสมอ
2.4.2 รจู้ กั ใช้แหลง่ เรียนรภู้ ายในและนอกโรงเรยี นประกอบการเรียนรู้

2.5 คณุ ลักษณะ : อยอู่ ยา่ งพอเพียง
ความหมาย อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงถึงการ

ประพฤตปิ ฏิบัติตนเป็นผูป้ ระหยัดเวลา ทรัพย์ และแรงงาน ทั้งของตนเองและสว่ นรวม ตลอดจนวางแผน
ออมเพื่ออนาคต

ตัวบ่งชคี้ ุณลักษณะ อยู่อยา่ งพอเพียง
2.5.1 เลือกใชส้ ่ิงของทีเ่ หมาะสมกับสถานภาพของตนและการใชง้ าน
2.5.2 ใชน้ ำ้ ใชไ้ ฟ อย่างระมัดระวงั และเฉพาะส่วนทจี่ ำเป็น
2.6 คุณลกั ษณะ : มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
ความหมาย มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง ความสามารถทางร่างกาย
ความคิด จิตใจ ที่จะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนด ไม่ย่อท้อต่อปัญหา
อุปสรรค
ตวั บง่ ชีค้ ุณลักษณะ มุ่งมนั่ ในการทำงาน
2.6.1 มีความเข้มแข็ง พยายามเอาชนะปญั หาอปุ สรรคโดยไมย่ ่อทอ้
2.6.2 มีจติ ใจหนักแนน่ สามารถควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมใหเ้ ป็นปกติเมื่อพบ
กบั ปัญหาหรอื ส่งิ ยั่วยุตา่ งๆ
2.7 คณุ ลกั ษณะ : รกั ความเป็นไทย
ความหมาย รกั ความเป็นไทย หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงถงึ การปฏบิ ัติตนท้ัง
กาย ใจ และความคดิ ท่คี ำนึงถงึ ความเปน็ ไทย
ตัวบ่งชี้คุณลกั ษณะ รกั ความเป็นไทย
2.7.1 ใช้สงิ่ ของท่ีผลติ ในประเทศ
2.7.2 เข้าร่วมกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม – ประเพณีไทยและแต่งกาย
แบบไทย
2.7.3 ใชภ้ าษาไทยได้ถูกต้อง

2.8 คณุ ลกั ษณะ : มีจติ สาธารณะ
ความหมาย มีจิตสาธารณะ หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงถึงการใช้วาจา ใจ
และกาย ตอ่ บคุ คลอืน่ ดว้ ยความเมตตา ใหค้ วามชว่ ยเหลือ โดยไม่หวังส่ิงตอบแทน
ตวั บ่งชี้คุณลักษณะ มจี ติ สาธารณะ
2.8.1 รว่ มกจิ กรรมการบำเพ็ญประโยชนส์ าธารณะ เชน่ วดั , โบราณสถาน
2.8.2 อาสาปฏิบตั กิ จิ กรรมสาธารณประโยชน์

3. เกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

3.1 เกณฑก์ ารประเมินตวั บง่ ชี้
1) เกณฑ์ระดับคุณภาพ
ระดับคุณภาพ
ดีเยยี่ ม หมายถึง ผ้เู รียนมีพฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ี ร้อยละ 80 – 100
ของจำนวนครัง้ ของการประเมินทง้ั หมด
ดี หมายถึง ผูเ้ รยี นมพี ฤติกรรมตามตัวบ่งช้ี รอ้ ยละ 65 – 79
ของจำนวนคร้งั ของการประเมินทงั้ หมด
ผา่ น หมายถึง ผ้เู รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งช้ี รอ้ ยละ 50 – 64
ของจำนวนคร้ังของการประเมนิ ทัง้ หมด

ไม่ผ่าน หมายถึง ผ้เู รียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ รอ้ ยละตำ่ 50
ของจำนวนครัง้ ของการประเมินท้งั หมด

2) เกณฑ์การตดั สินการผ่านแตล่ ะตัวบ่งช้ี
ผู้เรียนตอ้ งมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งชอี้ ย่ใู นระดบั ผ่านข้ึนไป ถือว่าผา่ นแต่ละตัวบ่งชี้

3.2 เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
3.2.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมนิ ตัวบ่งชมี้ าเปน็ ระดับคุณภาพของ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ตล่ ะข้อ
3.2.2 ให้คิดค่าฐานนยิ ม จากเกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะ 8 ข้อ สรุปเป็นคุณลักษณะ

อันพงึ ประสงค์ของรายวชิ าน้ันๆ
3.2.3 ให้คิดค่าฐานนิยม จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา สรุปเป็นคุณลักษณะอัน

พงึ ประสงคข์ องผ้เู รียนรายบคุ คล
3.3 เกณฑ์การตัดสนิ แต่ละคณุ ลักษณะ
ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการประเมนิ อยู่ในระดบั คุณภาพ ผ่านขึน้ ไป ถอื วา่ ผ่าน

แนวการพัฒนาและประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. ระดบั ผ้ปู ฏิบัติ
ในการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น โรงเรียนกำหนดให้ผู้สอนทุกรายวิชา

ผู้รบั ผิดชอบงาน / โครงการ / กจิ กรรม และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นท่ีนอกเหนอื จากครผู ูส้ อนรายวิชาต่างๆ ได้
ดำเนนิ การดงั น้ี

1.1 ครูผสู้ อนรายวิชาต่างๆ ทุกรายวิชา ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตนโดยสอดแทรก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาในคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่ึงท่ีเหมาะสม และสอดคล้องกับ
การจัดกิจกรรมการเรียนรนู้ นั้ ๆ โดยใหร้ ะบไุ ว้ในแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทกุ แผน

1.2 ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท้ังกิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมชุมนุมต่างๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีนอกเหนือจากรายวิชาต่างๆ ให้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยระบุไวใ้ นแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

1.3 ผู้รับผิดชอบทั้ง ข้อ 1.1 และ 1.2 ดำเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและปรับปรุงผู้เรียน
เปน็ ระยะๆ เพ่อื แสดงพฒั นาการของผู้เรียน บันทึกร่องรอยหลักฐานการประเมินและปรับปรงุ อย่างต่อเน่ือง
เมอ่ื เสรจ็ สิ้นภาคเรยี น / ปลายปี หรอื สนิ้ โครงการ / กิจกรรม ให้มีการประเมนิ และสรุปผลบนั ทกึ ลงใน แบบ
ปพ. 5 และระบุ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ พร้อมแนบข้อมูลบันทึก
หลกั ฐานร่องรอยการประเมินและปรบั ปรงุ ประกอบส่งให้คณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรูข้ องตนเอง
ได้ตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบูรณ์

1.4 คณะกรรมการแต่ละกลมุ่ สาระรวบรวมผลการประเมินท้งั หมด และสรปุ ผลการประเมนิ ลงในใบ
แบบ ปพ. 5 ส่งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะของสถานศกึ ษาท่ีไดร้ ับการแต่งตัง้ เพื่อดำเนนิ การต่อไป

2. ระดับคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องสถานศกึ ษา
ให้มีการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกภาคเรียน / ปี

โดยสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ และตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับชั้น
ละ 3 – 5 คน ดำเนนิ การดงั นี้

2.1 คณะกรรมการทุกระดับช้ัน ศึกษาและทำความเข้าใจร่วมกันในเรื่องของเกณฑ์การประเมิน
ระดบั คณุ ภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมนิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดไว้

2.2 คณะกรรมการประเมินแต่ละระดับช้ัน นำผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากผู้
ปฏบิ ัติใน ข้อ 1 มาร่วมกันพิจารณาผลการประเมิน และขอ้ มูลจากการบันทึกร่องรอยหลกั ฐานท่ีแนบมาเป็น
รายบุคคลเทียบกับเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ แล้วตัดสินผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน บันทึกลงใน แบบ
ปพ. 5 ระบุจุดเด่นจุดดอ้ ยของผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล สง่ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการเห็นชอบ
และเสนอผบู้ รหิ ารอนุมัตผิ ลการประเมิน

2.3 กรณีท่ีคณะกรรมการไม่สามารถตัดสินผลการประเมิน เน่ืองจากข้อมูลไม่เพียงพอ
ใหค้ ณะกรรมการขอข้อมูลเพ่มิ เตมิ จากผ้รู ับผดิ ชอบ จนสามารถตัดสินผลการประเมินได้

2.4 นายทะเบียนนำผลการตดั สินมาดำเนนิ การจดั ทำ ปพ.4 และหลกั ฐานการศกึ ษาอื่นที่เก่ียวข้อง
และประกาศใหผ้ เู้ ก่ยี วข้องรับทราบตอ่ ไป

3. การประเมินการเล่ือนช้นั / การจบหลกั สตู ร

คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการ นำผลการประเมนิ รายภาค / รายปี มารว่ มพิจารณาและ
ตัดสนิ ผลการเล่อื นชน้ั / จบหลกั สตู ร

แนวทางในการซ่อมเสริมคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะร่วมกันพิจารณาว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะใดท่ีต้องพัฒนา
ปรับปรงุ

2. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะกำหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพร้อมระยะเวลาโดย
มอบหมาย ให้ท่ีปรึกษาในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดำเนินการติดตามช่วยเหลือแนะนำการปฏิบัติงาน
ตามแนวทางท่ีคณะกรรมการกำหนด

3. กจิ กรรม ในการพัฒนาปรบั ปรุงผู้เรียน
3.1 กำหนดภาระงานหรือกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับตัวบ่งช้ีของคุณลักษณะที่ต้องพัฒนา

ปรับปรงุ
3.2 ผู้เรียนร่วมกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนาปรับปรุงท้ังในและนอก

โรงเรียน
3.3 ผู้เรียนเสนอโครงงาน / งาน ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องพัฒนาปรับปรุงให้

คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะเหน็ ชอบ
4. ผเู้ รียนปฏิบัติตามแนวทางท่ีคณะกรรมการกำหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผลการปฏิบัติให้ท่ี

ปรึกษาในระบบดูแลทราบเป็นระยะๆ พร้อมกับมีผรู้ ับรองผลการปฏิบัตโิ ดยท่ปี รึกษาบันทึกข้อคดิ เห็นในการ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมจนเสร็จสิน้ กิจกรรม

5. ที่ปรกึ ษาในระบบดูแล บันทึกผลแสดงพัฒนาการคุณลักษณะของผูเ้ รียนท่ีแสดงรอ่ งรอยหลักฐาน
การปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ รวบรวมผลการปฏิบัตสิ ง่ คณะกรรมการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

6. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะพิจารณาร่องรอยหลักฐานผลการปฏิบัติกิจกรรมเทียบกับ
เกณฑ์ที่กำหนด แล้วประเมินและตัดสินผลการซ่อมเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรุปผลเสนอต่อคณะ
กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการเห็นชอบ เพ่อื เสนอต่อผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ติ อ่ ไป

7. นายทะเบียนวัดผลดำเนนิ การจัดทำ ปพ.4 และแจง้ แกผ่ ้เู ก่ยี วข้องต่อไป

สว่ นท่ี 4 การพัฒนาและประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น

การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จำนวน 3 ข้อ คือ

1. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ลเป็นระบบ และเขียนเสนอความคิดได้
ตัวบ่งช้ีที่ 1 เขียนรายงานเร่ืองท่ศี กึ ษาค้นคว้าได้
ตวั บง่ ช้ีที่ 2 ตอบคำถามจากเรอ่ื งท่ศี กึ ษาคน้ ควา้ ได้
ตวั บง่ ชี้ท่ี 3 เขียนแสดงความคดิ เห็นจากเรื่องที่อ่านได้
ตวั บ่งชี้ท่ี 4 เขียนสรปุ จากเร่ืองที่อ่านได้

2. นำความรู้ความเข้าใจท่ีได้จากการอ่านไปใช้ในการแกป้ ัญหา ตัดสินใจ คาดคะเนเรื่องราวหรือเหตกุ ารณ์
และสรุปเป็นแนวปฏบิ ัตไิ ด้
ตวั บ่งช้ที ี่ 1 ทำโครงงาน / รายงานในเรื่องทีส่ นใจไดต้ ามศักยภาพ
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2 นำเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศักยภาพ
ตัวบง่ ชี้ท่ี 3 เนอื้ หาในการทำโครงงาน / รายงานสอดคลอ้ งกับเร่ืองที่เรียน
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 4 เขยี นข้ันตอนในการปฏบิ ัตงิ านได้

3. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และสามารถเขียนถ่ายทอดความคิดเพอ่ื การสอื่ สารได้
ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 เขียนเรื่องราวเชงิ สรา้ งสรรคไ์ ด้ตามศกั ยภาพ
ตวั บง่ ชี้ท่ี 2 เขยี น / วาดภาพจากจินตนาการในเรอื่ งที่ตนสนใจได้

แนวทางและวธิ ีการประเมนิ

การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใชแ้ นวทางการวัดและ
การประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกำหนดแนวทางและ
วธิ กี ารประเมนิ ให้ครผู ูส้ อนทุกกลุม่ สาระการเรียนรนู้ ำไปใช้ในการประเมนิ ดังน้ี

1. วิธกี ารประเมนิ
1.1 ความสามารถจริงของผู้เรียนในการปฏิบตั ิกจิ กรรมทางการเรยี นรายวิชาต่างๆ ในส่วน

ทเี่ กีย่ วกับการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โดยการสังเกตของครู
1.2 มอบหมายให้ผเู้ รียนไปศึกษาคน้ ควา้ แลว้ เขียนเป็นรายงาน
1.3 ผลงานเชิงประจักษ์ต่างๆ เก่ียวกับการอ่าน การคิด การวิเคราะห์ และเขียนที่

รวบรวมและนำเสนอในรูปของแฟม้ สะสมงาน

1.4 การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบแบบเขยี นตอบ หรือเขียนเรยี งความ
1.5 การเขียนรายงานจากการปฏบิ ตั โิ ครงงาน
2. เกณฑก์ ารประเมิน ผลงาน : การเขยี นจากการอ่าน คดิ วิเคราะห์
2.1 การใชก้ ระบวนการอ่านอย่างมีประสทิ ธิภาพ
2.2 การแสดงความคดิ เห็นอย่างมีวิจารณญาณ
2.3 ใชก้ ระบวนการเขยี นส่ือความอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน
เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ : การอา่ น
ระดบั
ดเี ยี่ยม ระบุสาระของเรื่องท่ีอ่านได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน ลำดับเรื่องที่อา่ นได้ถกู ตอ้ ง

ระบุประเด็นสำคัญของเรอ่ื งที่อ่านได้ถกู ตอ้ ง ระบุจดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขยี น
ดี ระบสุ าระของเรอื่ งทอ่ี ่านไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น ลำดับเรอ่ื งทอี่ ่านได้ถูกต้อง
ระบุประเด็นสำคญั ของเรื่องทอี่ ่านได้ถกู ต้อง ระบจุ ดุ มุ่งหมาย และเจตคติ
ของผู้เขียนไมค่ รบถว้ น
ผา่ น ระบุสาระของเรอ่ื งที่อ่านไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน ลำดับเร่ืองที่อ่านคอ่ นข้างถูกต้อง
ระบุประเดน็ สำคญั ของเร่อื งทอี่ า่ นได้ไม่สมบรู ณ์ ระบจุ ุดมุง่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขียนเพียงเลก็ นอ้ ย
ไม่ผ่าน ระบสุ าระของเรื่องที่อา่ นได้ไมค่ รบถว้ น ลำดบั เรอ่ื งท่ีอา่ นผิดพลาดเลก็ นอ้ ย
ระบุประเด็นสำคญั ของเรอื่ งที่อา่ นไมถ่ ูกตอ้ ง ไมร่ ะบุจดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขยี น

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ : การคิด วเิ คราะห์
ระดบั
ดีเยย่ี ม แสดงความคดิ เหน็ ชัดเจน มเี หตผุ ลระบุข้อมูลสนบั สนุนท่นี า่ เช่อื ถือมีความคดิ
ท่ีแปลกใหม่ เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมโดยสว่ นรวม
ดี แสดงความคิดเห็นค่อนขา้ งชัดเจน มีเหตผุ ลระบขุ อ้ มลู สนับสนนุ มีความคดิ
ทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อสังคมโดยสงั คมรอบข้างตนเอง
ผา่ น แสดงความคิดเหน็ ทีม่ เี หตผุ ลระบุขอ้ มลู สนบั สนุนทีพ่ อรับได้มคี วามคดิ ที่เป็น
ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
ไมผ่ า่ น แสดงความคดิ เหน็ มีเหตผุ ลไม่ชดั เจน ขาดข้อมลู สนับสนุน มีความคดิ ที่ยัง
มองไมเ่ ห็นประโยชนท์ ี่ชดั เจน

เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ : การเขียน
ระดบั
ดเี ยี่ยม มีจุดประสงคใ์ นการเขียนชัดเจนได้เนื้อหาสาระ รปู แบบการเขียนถูกต้องมีขั้นตอน
การเขยี นชดั เจนง่ายต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำถกู ต้อง
พฒั นาสำนวนภาษาทส่ี ือ่ ความหมายไดช้ ดั เจนกะทดั รดั

ดี มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนไดเ้ นื้อหาสาระ รปู แบบการเขียนถูกต้องมีขั้นตอน
การเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำผิดพลาดไม่เกิน 3
แหง่ พฒั นาสำนวนภาษาท่สี อ่ื ความหมายไดช้ ดั เจน

ผ่าน มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนและค่อนข้างได้เนื้อหาสาระ รูปแบบการเขียน
ถูกต้องมีข้ันตอนการเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ
ผิดพลาดมากกว่า 3 แหง่ ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาที่สือ่ ความหมายไดช้ ดั เจน

ไมผ่ า่ น ขาดจุดประสงค์ในการเขียนและเนื้อหาสาระน้อย ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ
ผดิ พลาดมาก ขาดการพฒั นาสำนวนภาษาท่ีสื่อความหมาย

4. การสรปุ ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น
4.1 ใหค้ ดิ คา่ ฐานนิยม (Mode) จากเกณฑก์ ารประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน

มาเปน็ ระดับคณุ ภาพของแตล่ ะรายวชิ า
4.2 ใหค้ ิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของแต่

ละรายวชิ า สรุปเป็นผลการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ของผูเ้ รียนรายบุคคล
5. เกณฑ์การตดั สินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
5.1 ระดับรายภาค
ผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน อยู่ในระดับคุณภาพ

ผ่าน ขน้ึ ไปถอื ว่า ผา่ น

5.2 การเลือ่ นชั้น / จบหลักสูตร
ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ผา่ นทุกรายภาค

แนวทางการพัฒนาและการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น

ระดับผู้ปฏบิ ตั ิ
กลมุ่ ครูผู้สอนแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้
1. แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันกำหนดแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด

วิเคราะห์ และเขียน ท่ีสอดคลอ้ งกับธรรมชาติของแตล่ ะกลมุ่ สาระ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการอา่ น คิด
วิเคราะห์ และเขียน ที่สถานศึกษากำหนด

2. ผู้สอนทุกรายวิชานำแนวทางท่ีกำหนดไว้ใน ข้อ 1 วางแผนการจัดกิจกรรมและดำเนินการจัด
กจิ กรรมการเรียนร้สู อดแทรกในการจดั การเรยี นการสอนของตนเอง

3. ผูส้ อนทกุ รายวิชาดำเนินการประเมนิ และปรับปรงุ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และ
เขียน เป็นระยะๆ เมื่อส้ินภาคเรียน / ปลายปี ประเมินผลพร้อมบันทึกร่องรอยหลักฐานในการพัฒนา
ปรบั ปรุง และรวบรวมหลกั ฐานการประเมนิ ไวท้ ่ีหมวดวิชาเพื่อใช้เป็นหลกั ฐานสำหรับตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน
ของผ้สู อน ซง่ึ จะแสดงใหเ้ ห็นถึงความโปร่งใส และความยุตธิ รรมในการประเมิน

4. บนั ทึกสรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น ลงใน
แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น

5. ผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ของผลการประเมินแต่ละ
รายวิชา แลว้ สรปุ ผลการประเมนิ ในระดบั กลุ่มสาระลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรุปผลการอา่ น คดิ วิเคราะห์
และเขียน ส่งคณะกรรมการประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ในระดับโรงเรยี นตอ่ ไป

กลมุ่ ผูร้ ับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาเรียนรู้ และกลุม่ ผู้รับผดิ ชอบงาน / โครงการ / กจิ กรรมในระดับ
โรงเรยี น

1. วางแผนกำหนดกจิ กรรมพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนที่สอดคล้อง
กับกิจกรรมในภาระงานทตี่ นเองรบั ผิดชอบ

2. ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาตามแผนที่วางไว้ และประเมินพัฒนาปรับปรุงผู้เรียนเป็นระยะๆ
พร้อมบันทกึ ร่องรอยหลกั ฐาน

3. เม่ือสน้ิ ภาคเรียน ให้มกี ารประเมินผล และสรปุ ผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
ไว้ พร้อมให้ข้อสังเกตท่ีเป็นจุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียน บันทึกใน แบบ ปพ. 5 และรวบรวมหลักฐาน
รอ่ งรอยการพัฒนาปรบั ปรงุ ไว้ที่ผู้ปฏิบตั ิ เพอ่ื เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏบิ ัติ สง่ ผล
การประเมนิ ให้คณะกรรมการประเมนิ ระดบั โรงเรียนตอ่ ไป

ระดบั คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ของสถานศึกษา

1. แต่งต้ังคณะกรรมการประเมนิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน จำนวน 3 – 5 คน ในแต่ละ
ระดบั ชัน้ เปน็ รายภาค

2. คณะกรรมการประเมนิ ฯ ศึกษาเกณฑ์การประเมิน เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั
3. นำผลการประเมินการอา่ นจากระดบั ผู้ปฏิบตั ิร่วมกันประเมนิ เพอื่ ตัดสินความสามารถในการอ่าน
คดิ วิเคราะห์ และเขียน ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
4. กรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถตัดสินได้ คณะกรรมการขอข้อมูลจากผู้ปฏิบัติเพ่ิมเติม หรือ
ทดสอบความสามารถซ้ำ แล้วจงึ ตัดสินผล
5. คณะกรรมการสรุปผลการประเมนิ เพือ่ เสนอผบู้ รหิ ารโรงเรยี นอนมุ ตั ิผลการประเมิน
6. นายทะเบียนวัดผลบันทึกลงใน ปพ.1 แล้วแจ้งผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ
เขียน ให้อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาเพื่อแจ้งผ้ปู กครอง

แนวทางในการซอ่ มเสรมิ และประเมนิ ผลการซอ่ มเสรมิ การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น

1. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขียน ร่วมกนั พิจารณาว่าผู้เรยี นมีจุดท่ีตอ้ ง
พัฒนาปรับปรงุ ดา้ นใด แต่งตง้ั ทป่ี รกึ ษาโดยระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนเปน็ กรรมการดำเนนิ การซอ่ มเสรมิ

2. กำหนดภาระงานให้ผู้เรยี นพัฒนา ปรับปรงุ ในดา้ นทีต่ อ้ งพัฒนาปรับปรงุ โดย
2.1 กรณไี มผ่ า่ นการประเมนิ การอา่ น
2.1.1 คณะกรรมการประเมินกำหนดภาระงานให้นักเรียนอ่าน บันทึกการอ่าน

พร้อมส่งเอกสารที่ได้อ่านไม่น้อยกว่า 5 เร่ือง หรือกรรมการกำหนดเรอ่ื ง 5 เร่ือง ให้อา่ น ภายในเวลาที่
กำหนด

2.1.2 คณะกรรมการประเมินผลการอ่านโดยต้ังประเด็นคำถามที่สอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมนิ ผูเ้ รียนตอบโดยการเขยี นตอบหรือตอบปัญหาปากเปลา่ ก็ได้

2.1.3 หรอื อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการฯ
2.1.4 คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการอ่านให้ผ่าน และได้ระดับไม่เกิน
“ผ่าน” กรณีท่ีซอ่ มเสริมไม่ผ่านให้คณะกรรมการประเมินกำหนดให้ผเู้ รยี นพัฒนาตามวิธีการ ข้อ 2.1.1 ถึง
2.1.3 จนกวา่ ผเู้ รยี นจะไดร้ ับการตดั สิน ผ่าน
2.2 กรณผี ู้เรียนไม่ผา่ นการคดิ วิเคราะห์
2.2.1 คณะกรรมการประเมินกำหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกคิด วิเคราะห์ ใน
เรอื่ งท่สี นใจภายใน 1 สปั ดาห์
2.2.2 คณะกรรมการประเมิน ประเมนิ การคิด วิเคราะห์ โดยต้งั ประเด็นคำถามท่ี
สอดคลอ้ งกับเกณฑ์การประเมิน ผ้เู รียนตอบโดยการเขยี นตอบ หรอื ตอบปากเปลา่
2.2.3 คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการคิด วเิ คราะห์ โดยให้ผลการประเมนิ ไม่
เกิน “ผ่าน”
2.2.4 ในกรณีที่ผลการประเมินไมผ่ า่ น ให้คณะกรรมการประเมินกำหนดใหผ้ ู้เรียน
พัฒนาตามวิธีการใน ข้อ 2.2.1 – 2.2.3 จนกวา่ ผเู้ รยี นจะได้รบั การตดั สิน ผ่าน
2.3 กรณีที่ผู้เรยี นไม่ผา่ นการประเมินการเขยี น
2.3.1 คณะกรรมการประเมิน กำหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกเขียนในเร่ืองที่
สนใจภายใน 1 สปั ดาห์ ภายใต้การควบคุมดแู ลของครูที่ปรึกษาในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื
2.3.2 ผเู้ รียนสง่ ผลงานการเขยี นท่ไี ดพ้ ฒั นาแล้วแก่คณะกรรมการประเมนิ
2.3.3 คณะกรรมการประเมินทำการประเมินผลงานการเขียนประกอบการ
สมั ภาษณ์นักเรยี นเกย่ี วกบั กระบวนการพฒั นาการเขยี น
2.3.4 คณะกรรมการตดั สินผลการเขียนโดยใหผ้ ลการประเมินไม่เกิน “ผา่ น”
2.3.5 ในกรณีท่ีผลการประเมินยังไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกำหนดให้
ผู้เรยี นพัฒนาตามวธิ ีการ ขอ้ 2.3.1 – 2.3.4 จนกวา่ ผเู้ รียนจะได้รับการตัดสนิ ผ่าน
3. คณะกรรมการประเมินการอ่านตัดสินผลการประเมินการอ่าน สง่ ผลการประเมินเสนอ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่งให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาอนมุ ตั ิ นายทะเบียนวดั ผลบันทกึ ลง ปพ.1 และแจง้ ผเู้ กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป

ส่วนท่ี 5 เกณฑ์การตดั สนิ การเลื่อนชนั้ และเกณฑ์การจบหลกั สูตร

การตัดสินการเลือ่ นชัน้
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ การอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และ
ตอ้ งเกบ็ ข้อมูลของผู้เรียนทกุ ดา้ นอย่างสม่ำเสมอและตอ่ เนอ่ื งในแต่ละภาคเรียนรวมทั้งสอนซ่อมเสริมผ้เู รียนให้
พฒั นาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ

ระดบั ประถมศึกษา
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรยี นทง้ั หมดในรายวิชาน้ันๆ
2) ผเู้ รียนต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด คอื ตวั ช้ีวัดที่
ตอ้ งผ่าน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของแต่ละรายวิชา

3) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด ในการ
อา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
การพิจารณาเล่ือนชั้นในระดับมัธยมศึกษา ถ้าหากผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และ
สถานศกึ ษาพจิ ารณาเหน็ วา่ สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพนิ ิจของสถานศกึ ษาที่จะผ่อนผัน
ให้เล่ือนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับช้นั ท่สี ูงขน้ึ สถานศกึ ษาจะต้ังคณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซำ้ ชั้นได้ โดยทัง้ นจี้ ะคำนงึ ถงึ วุฒิภาวะและ
ความรู้ความสามารถของผู้เรยี นเป็นสำคัญ

เกณฑ์การจบหลักสูตรระดบั ประถมศกึ ษา

(๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด
(๒) ผู้เรียนตอ้ งได้รับการประเมินทกุ ตัวช้วี ดั และผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
(๓) ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา(พ้ืนฐานและเพิม่ เตมิ )
(๔) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในระดับผา่ นตามเกณฑ์ขน้ั ต่ำ (ระดับ ๑ )
(๕) ผเู้ รียนต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น และมีผลการประเมินในระดับผา่ น (ผ)

ส่วนท่ี 6 การประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดับชาติ (National test)

ในก ารป ระเมิน ผลสัมฤ ทธิ์ทางก ารเรียน ด้วย แบ บป ระเมิน ผลสัม ฤทธิ์ทางกา รเรียน ท่ี เป็น ระดั บ
มาตรฐานระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้มีการประเมินเพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทุก
ระดบั ชน้ั เพือ่ ให้การดำเนินงานเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ โรงเรยี นจึงได้กำหนดแนวทางปฏิบตั ไิ วด้ งั น้ี

1. ผ้แู ทนสถานศกึ ษาเข้ารับการประชุมช้ีแจงวธิ กี ารดำเนินการทดสอบรว่ มกบั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ี
2. จัดส่งรายช่ือคณะกรรมการดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยประธาน
กรรมการ คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมหอ้ งสอบ คณะกรรมการตรวจคำตอบชนิดเขียนตอบ และ
กรรมการรบั – ส่งขอ้ สอบ ส่งไปใหส้ ำนักงานเขตพนื้ ท่ีเพื่อแต่งตั้ง
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินการประเมิน
คณุ ภาพตามคำส่ังจากข้อ 2 ถึงวิธีการดำเนินการสอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติได้ตรงกัน ตามแนว
ปฏิบัตใิ นคู่มือการประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนเพื่อให้เกิดความยตุ ิธรรม และเป็นไปตามการ
ดำเนินการสอบแบบทดสอบมาตรฐานอย่างเครง่ ครดั
4. คณะกรรมการกลางจัดพิมพ์รายชื่อพร้อมกำหนดรหัส / เลขที่นักเรียนตามจำนวนนักเรียน /
ห้องเรียน ท่ีกำหนดไว้ในคู่มือ นำไปประกาศไว้หน้าห้องสอบแต่ละห้อง เพื่อให้นักเรียนได้ทราบว่าตนเอง
เลขท่เี ทา่ ไร สอบห้องทเ่ี ทา่ ใด พรอ้ มติดเลขท่ีของนกั เรียนไวบ้ นโต๊ะทน่ี ่ังสอบ
5. คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการประชมุ ช้ีแจงนักเรียนให้ตระหนักถึงความสำคัญของ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชาติ ท้ังในด้านส่วนตัว ระดับโรงเรียน ระดับเขต และระดับชาติ
ควรใหค้ วามรว่ มมอื ต้ังใจในการสอบอย่างเต็มความสามารถ

6. กรณีท่ีนักเรียนไม่ได้รับการประเมินตามวันเวลาที่กำหนด ให้สถานศึกษาแต่งต้ังผู้รับผิดชอบ
ติดตาม และประสานงานกับเขตพ้ืนท่ีดำเนินการประเมินให้เสร็จส้ินภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากทราบ

รายชื่อนักเรยี นท่ียงั ไมไ่ ด้รับการประเมนิ
7. เม่ือสำนักงานเขตพื้นท่ีแจ้งผลการประเมินมายังสถานศึกษา ให้นำผลการประเมินมาทบทวน

คณุ ภาพรว่ มกันระหวา่ งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ กับคณะกรรมการสถานศึกษา และแจ้ง
ผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลและดำเนินการต่อไป โดยเฉพาะผู้เรียนและครูผู้สอนนำไปพจิ ารณาใน
การพัฒนาปรับปรุงตนเองตอ่ ไป

บรรณานุกรม

สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร; (2551). เอกสารประกอบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู.้
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องคก์ ารรับส่งสนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ).
. (2550) แนวทางการจดั ทำเอกสารหลกั ฐานการศึกษา ปพ.1 ปพ.2 และ ปพ.3
ตามหลักสตู รการศึกษาขืนพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรงุ เทพมหานคร
โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว.


Click to View FlipBook Version