The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่ม พระพฤหัสบดี ชวลิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruchawalit2529, 2022-07-10 05:42:42

รวมเล่ม พระพฤหัสบดี ชวลิต

รวมเล่ม พระพฤหัสบดี ชวลิต

เอกสารประกอบการสมคั รเขา้ รับการ

คดั เลือกเพอ่ื รบั รางวัล พระพฤหสั บดี

ประจาปี พ.ศ. 2565

นายชวลิต สนิทมจั โร
ตาแหนง่ ครู

โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์)

สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แบบใบสมคั รเข้ารับการคัดเลือกเพือ่ เสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร ก

คำนำ

แบบรายงานประวัติผู้ประกอบวิชาชีพครู และผลงานเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเสนอขอรับรางวัล
“พระพฤหัสบดี” ประจำปี 2565 ประเภทบุคคล ครแู ละคณาจารย์ ของสำนักงานคณะกรรมการ สกสค.

ขอขอบพระคุณ นายสนอง ศรีเกตุ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์)
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชน ที่ให้การสนับสนุนและเอื้อเฟื้อข้อมูล จน
แบบใบสมัครเข้ารับการคดั เลอื กเพือ่ เสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 เลม่ น้ีสำเร็จดว้ ยดี

หวังเป็นอยา่ งยิง่ วา่ แบบรายงานประวตั ิผู้ประกอบวิชาชพี ครู และผลงานเลม่ นี้ จะอำนวยประโยชน์
แกผ่ ู้ทสี่ นใจศกึ ษาค้นคว้า หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใดผจู้ ัดทำขออภัย ณ ทีน่ ดี้ ้วย

นายชวลิต สนทิ มัจโร
ครู โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์)

แบบใบสมัครเขา้ รับการคัดเลอื กเพือ่ เสนอรบั รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร ข

สารบัญ

หน้า

คำนำ ก

สารบัญ ข

ประวัตสิ ว่ นตวั 1

ประวัตกิ ารศึกษา 1

ประวตั กิ ารทำงาน 1

ประวัตกิ ารรบั รางวัลหรอื เกยี รตบิ ัตรการยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ 2

ความเห็นของผบู้ ังคับบญั ชา 4

เอกสารผลงานในการพจิ ารณาคัดเลือกเพอ่ื เสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 5

องคป์ ระกอบที่ 1 ดา้ นผลงาน 5

ผลงานที่ 1 ถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู “เรยี นรู้สจุ รติ CHAWALIT Design” 5

ผลงานท่ี 2 เด็กแม่ขรรี ุน่ ใหม่ใส่ใจร่วมใจปลอดภยั ยาเสพตดิ และอบายมุข 11

องคป์ ระกอบท่ี 2 ด้านคุณภาพ 13

ถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู “เรยี นรสู้ ุจริต CHAWALIT Design” 13

ภาคผนวก 21

ภาคผนวก ก เอกสารอา้ งอิงหนงั สือการรบั รองของผบู้ งั คับบัญชา 22

ภาคผนวก ข เอกสารอ้างองิ ประวัติการรบั ราชการ 24

ภาคผนวก ค เอกสารอา้ งอิงสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/บตั รประจำตวั ข้าราชการ 27

ภาคผนวก ง เอกสารอา้ งอิงสำเนาเกียรติบตั ร 30

ภาคผนวก จ เอกสารอ้างอิงผลของความก้าวหน้าและความสำเร็จของงาน 37

แบบใบสมคั รเขา้ รับการคัดเลอื กเพ่ือเสนอรับรางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนิทมจั โร 1

แบบ รวพ. 1 (ก)
(ก)

แบบใบสมัครเข้ารบั การคดั เลอื กเพอื่ เสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565
กลมุ่ ครู และคณาจารย์

สำนักงาน สกสค. จังหวดั พทั ลงุ

1. ชอ่ื /นามสกุล นายชวลิต สนิทมัจโร
วัน/เดอื น/ปีเกดิ 8 กรกฎาคม 2529 เลขบตั รประจำตัวประชาชน 1-9399-00085-74-4
ท่ีอยูป่ จั จุบนั เลขที่ 235 ถนน ไชยบุรี ตำบล/แขวง คหู าสวรรค์
อำเภอ เมอื งพทั ลุง จังหวดั พัทลุง รหัสไปรษณีย์ 93000
โทรศพั ท์ 089-5996140 E-mail [email protected]
(รายละเอยี ด ตามภาคผนวก ค เอกสารอา้ งองิ สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน/บัตรประจำตัวขา้ ราชการ )

2. ตำแหน่งปจั จุบัน ครู วิทยฐานะ - โรงเรียน บ้านแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)
สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 2
เริม่ ปฏิบตั ิงานวนั ที่ 16 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และปฏบิ ัตหิ นา้ ทใี่ นตำแหนง่ ปจั จุบนั เมอื่
วันที่ 16 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 รวมเวลาท้ังส้ิน 4 ปี 8 เดอื น
สถานทีท่ ำงาน โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค)์
ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ตำบล แม่ขรี อำเภอ ตะโหมด จังหวัด พัทลงุ
รหัสไปรษณีย์ 93160 โทรศัพท์ 074-695215 E-Mail [email protected]
(รายละเอยี ด ตามภาคผนวก ข เอกสารอา้ งองิ ประวตั ิการรบั ราชการ)

3. ประวัติการทำงาน (ให้ระบุเฉพาะช่วงเวลาท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สนับสนุนสวัสดิการ และ/หรือ
สวสั ดภิ าพใหแ้ ก่ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ผ้ปู ฏิบตั ิงานด้านการศกึ ษา ผปู้ กครอง และผเู้ รยี น)

วัน/เดอื น/ปี ตำแหน่ง สถานทีท่ ำงาน
16 พฤศจกิ ายน 2560
ครผู ู้ช่วย โรงเรยี นบ้านแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์)
16 พฤศจิกายน 2562
สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

ครู คศ.1 โรงเรียนบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2

(รายละเอยี ด ตามภาคผนวก ข เอกสารอ้างอิงประวัติการรับราชการ)

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคดั เลือกเพอ่ื เสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร 2

4. ประวัติการรับรางวัลหรือเกียรติบัตรการยกย่องเชิดชูเกียรติ (ถ้ามีก็ให้ระบุเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการ

ส่งเสริมสนับสนุนสวัสดิการและ/หรือสวัสดิภาพให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานด้าน
การศกึ ษา ผูป้ กครองและผู้เรียนพรอ้ มแสดงหลกั ฐานอ้างอิง)

วนั /เดอื น/ปี ชื่อรางวลั /เกียรติบัตร หน่วยงานท่ีมอบรางวลั
ระดับประเทศ

เกยี รติบัตร

ผู้วิจัยและส่งผลงานวิจัยเข้ารับการคัดสรร เพื่อรับ

30 เมษายน 2565 รางวลั ผลงานวจิ ยั ของครุ สุ ภา ประจำปี 2565 สำนกั งานเลขาธิการคุรุสภา

จาก รองศาสตรจารย์ประวิต เอราวรรณ์

เลขาธกิ าร ก.ค.ศ. รกั ษาการ เลขาธิการคุรสุ ภา

16 มกราคม 2564 เกียรติบัตร สำนกั งานคณะกรรมการ

รางวลั ครดู ไี ม่มอี บายมขุ ประจำปีการศกึ ษา 2563 ศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
จาก นายอมั พร พนิ ะสา ร่วมกบั
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
สำนักงานเครือข่ายองค์กร
นายสงกรานต์ ภาคโชคดี
ผู้อำนวยการสำนักงานเครือข่ายองคก์ รงดเหลา้ งดเหลา้
และ
พระราชปริยตั กิ วี
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั

เกยี รตบิ ตั ร

29 ตุลาคม 2563 ผู้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมจรรยาบรรณของ
11 กนั ยายน 2563 วิชาชีพครู ตามโครงการจรรยาบรรณสู่ครูดี เพ่ือ
29 มิถุนายน 2563 เด็กดี ประจำปี 2563 กิจกรรม “คารวะครูผู้สร้าง สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา

ผูน้ ำทางชวี ิต”
จาก นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์

เลขาธกิ ารคุรุสภา

เกียรตบิ ตั ร

รางวัล ครูดีของแผ่นดิน ชั้นที่ 5 โครงการเครือข่าย สำนักงานปลดั กระทรวง

ครดู ีของแผน่ ดิน เจรญิ รอยตามเบ้อื งพระยุคลบาท ศกึ ษาธกิ าร

จาก นายประเสรฐิ บุญเรือง รว่ มกบั

ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำนักงานคณะกรรมการ
นายอำนาจ วชิ ยานุวตั ิ ศึกษาขั้นพ้นื ฐาน,

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กรมสง่ เสรมิ การปกครอง
นายประยรู รตั นเสนยี ์ ส่วนท้องถนิ่

อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และ

พลเอกเอกชัย ศรวี ลิ าศ มลู นิธิครดู ีของแผ่นดนิ
ประธานกรรมการมูลนธิ ิครดู ีของแผ่นดิน

เกยี รติบตั ร มลู นธิ คิ รูดีของแผ่นดิน
รางวัล ครูดีของแผ่นดินข้นั พ้นื ฐาน โครงการเครือข่าย
ครูดีของแผน่ ดนิ เจริญรอยตามเบอ้ื งพระยคุ ลบาท
จาก พลเอกเอกชยั ศรีวลิ าศ

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มัจโร 3

วนั /เดือน/ปี ช่อื รางวลั /เกยี รตบิ ตั ร หน่วยงานท่มี อบรางวลั

ประธานกรรมการมูลนธิ คิ รูดขี องแผน่ ดนิ

เกยี รติบัตร

รางวัล ชมเชย โครงการประกวดเรือ่ งเล่าการเรียนรู้

Thai MOOC ของฉัน กระทรวงการอุดมศกึ ษา

1 พฤษภาคม 2563 จาก รศ.ดร. ฐาปนยี ์ ธรรมเมธา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ

ผู้อำนวยการโครงการทหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย นวตั กรรม

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวัตกรรม

เกยี รติบัตร สำนักงานคณะกรรมการ

รางวลั ครดู ไี มม่ ีอบายมุข ประจำปีการศกึ ษา 2562 ศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

จาก นายอำนาจ วิชยานุวัติ รว่ มกับ

16 มกราคม 2563 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สำนกั งานเครือข่ายองคก์ ร
นายสงกรานต์ ภาคโชคดี งดเหล้า

ผู้อำนวยการสำนักงานเครอื ขา่ ยองคก์ รงดเหลา้ และ

พระราชปริยัติกวี มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลง

อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั กรณราชวิทยาลัย

เกียรติบัตร

ผู้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมจรรยาบรรณของ

วิชาชีพครู ตามโครงการจรรยาบรรณสู่ครูดี เพื่อ

29 ตุลาคม 2562 เด็กดี “ครดู ีจึงบอกตอ่ ” ประจำปี 2562 สำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

จาก นางวัฒนาพร ระงับทกุ ข์

รองเลขาธิการสภาการศึกษา ปฏิบัติหน้าที่ใน

ตำแหน่ง เลขาธิการคุรสุ ภา

ระดบั จังหวัด

โล่รางวลั และเกยี รติบตั ร

รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 ระดับประถมศึกษา

(ป.4 - ป.6) การประกวดสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์

“การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ : ส่งเสรมิ ความเป็น สำนักงานศึกษาธกิ าร
21 กันยายน 2564 พลเมืองดี” ตามโครงการสรา้ งและสง่ เสริมความเป็น จังหวัดพัทลุง

พลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทด้านการศึกษาสูก่ าร

ปฏบิ ตั ิ ประจำปีงบประมาณ 2564 จงั หวัดพทั ลุง

จาก นายสุทัศน์ แกว้ พูล

ศึกษาธิการจังหวัดพทั ลงุ

ระดบั เขตพน้ื ที่

เกียรตบิ ัตร

รางวัล ผู้มีจรรยาบรรณวิชาชีพดีเด่น ประจำปี 2565 สำนักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศกึ ษา
16 มกราคม 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประเภท ครูสายผู้สอน
จาก ดร.วันชัย วงศ์ศลิ ป์ พัทลงุ เขต 2

ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา

พัทลุง เขต 2

แบบใบสมคั รเข้ารับการคัดเลอื กเพื่อเสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มัจโร 4

วัน/เดอื น/ปี ช่อื รางวัล/เกยี รตบิ ัตร หน่วยงานที่มอบรางวัล

24 พฤศจิกายน เกียรติบตั ร
2564
รางวัล ชมเชย ผลงานกจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมถอด

บทเรียน (Best Practice) ครูผู้สอนภายใต้โครงการ สำนักงานเขตพื้นท่ี
เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลใน การศกึ ษาประถมศึกษา
สถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสจุ ริต)
จาก ดร.วันชัย วงศ์ศลิ ป์ พทั ลุง เขต 2

ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา

พทั ลุง เขต 2

(รายละเอียด ตามภาคผนวก ง เอกสารอ้างองิ สำเนาเกยี รตบิ ตั ร)

5. มีผลงานการส่งเสริม สนบั สนนุ สวัสดิการและ/หรือสวสั ดิภาพให้แกผ่ ู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา
ผูป้ ฏิบัตงิ านด้านการศึกษา ผู้ปกครองและผเู้ รียน ดงั ปรากฏรายละเอยี ดดังแนบทา้ ย

ขอรบั รองว่าข้อมลู ทงั้ หมดเปน็ ความจริงทกุ ประการ ทง้ั นี้ได้แนบสำเนาบตั รประชาชนมาด้วยแลว้

ลงช่อื .......................................................ผู้สมัคร
(นายชวลิต สนทิ มจั โร)

ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)
วนั ท่ี...........เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2565

ความเหน็ ของผู้บังคับบัญชา

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................ผ้บู งั คับบัญชาของผสู้ มคั ร
(นายสนอง ศรีเกตุ)

ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)

วันท่.ี ......... เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2565

แบบใบสมคั รเข้ารับการคัดเลอื กเพอื่ เสนอรบั รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มัจโร 5

เอกสารผลงานในการพิจารณาคดั เลอื กเพื่อเสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565
กลุม่ ครู และคณาจารย์

สำนักงาน สกสค. จงั หวดั พทั ลงุ
**********************************************************************************

องค์ประกอบท่ี 1 ดา้ นผลงาน

ผลงานในการส่งเสริม สนับสนุนสวัสดิการและ/หรือสวัสดิภาพให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ผปู้ ฏิบตั ิงานด้านการศกึ ษา ผปู้ กครองและผเู้ รียน ที่ดำเนินการในรอบ 3 ปที ี่ผ่านมา

ผลงานท่ี 1

1.ชอ่ื ผลงาน
ถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรบั ครู “เรยี นรูส้ จุ รติ CHAWALIT Design”

2.กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค)์

3.จดุ ประสงค์
1. เพือ่ ออกแบบขน้ั ตอนกระบวนการจัดการเรยี นรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT Design กลมุ่ สาระ

การเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
2. เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) และใหส้ อดคลอ้ งกบั คณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการ
โรงเรียนสุจริต ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามข้ันตอนกระบวนการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT
Design

4.เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
1. นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์ มผี ลสัมฤทธิท์ างการ

เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพ่ิมสงู ขน้ึ รอ้ ยละ 5
2. นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค)์ มีผลพัฒนาคุณลักษณะ

อันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พทุ ธศักราช 2560) และไดร้ ับการสร้างเสริมคุณลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต สูงขน้ึ รอ้ ยละ 5

เชิงคณุ ภาพ
1. นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค)์ มมี ผี ลสมั ฤทธ์ิ

ทางการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เพิ่มสูงขน้ึ
2. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) มีคุณลกั ษณะ

อันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศกั ราช 2560) และคุณลกั ษณะ 5 ประการตามโครงการโรงเรียนสุจริต ดขี ้ึน

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคัดเลอื กเพอ่ื เสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร 6

5.ลักษณะงาน
การถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู เรื่อง “เรียนรู้สุจริต CHAWALIT Design” ซึ่งใช้เป็น

แนวทางสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน รวมไปถึงเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิด
ความรู้ความเขา้ ใจและเกิดทักษะต่างๆท่ีจำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ควบคู่ไปกับการมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
8 ประการที่จำเป็นตอ่ การเรยี นรู้ของนกั เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทง้ั น้ใี นการถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับ
ครู เรอ่ื ง “เรียนรสู้ จุ ริต CHAWALIT Design” มลี กั ษณะขนั้ ตอนของการดำเนนิ งานดงั นี้

ขนั้ ที่ 1 วางแผนและออกแบบกจิ กรรม (P)
ในขัน้ นี้เป็นการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทฤษฏีหรอื หลักการสำคญั ต่างๆท่ีเกย่ี วข้องกับกระบวนการ

จัดการเรยี นการสอนเพ่อื ทจี่ ะนำมาออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน
และได้นำหลักการของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) และคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต
มาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน

ขน้ั ที่ 2 ดำเนนิ การปฏบิ ตั ิ (D)
ในข้ันนขี้ ้าพเจา้ ได้มกี ารออกแบบกระบวนการจัดการเรยี นรู้ 8 ข้นั ตอน รปู แบบ CHAWALIT

Design ซึ่งมีการกำหนดขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอน
สำหรับใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในห้องเรียน เพือ่ เป็นการส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิดความรู้ความเข้าใจ
และทกั ษะต่างๆที่จำเป็นตอ่ การเรยี นรู้ โดยมีทั้งหมด 8 ขน้ั ตอน ดังน้ี

1) ขัน้ การกำหนดเนอื้ หาสาระ Content Knowledge
ขั้นการกำหนดเนื้อหาสาระ หมายถึง การกำหนดข้อมลู ความรู้หรือสิ่งทีเ่ ป็นเนื้อหาสาระสำคัญตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตามโครงสร้างรายวชิ า ของหลักสตู รสถานศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน สำหรับการจดั การเรียนรู้ให้แกน่ ักเรยี นไดม้ ีความรแู้ ละทักษะเพ่ือให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายท่ีหลักสูตร
กำหนด

2) ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น Happiness to Learn
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน หมายถึง การเตรียมตัวนักเรียนก่อนที่จะเริ่มทำการเรียนการสอน เพื่อให้
นักเรียนได้ทราบว่ากำลังจะเรียนเกี่ยวกับอะไร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร้าความสนใจและเตรียมความพร้อม
ใหก้ บั นกั เรียน ใหม้ าอยู่กบั การจัดการเรียนการสอนของครูผ้สู อน และต้องเปน็ การเช่อื มโยงความรู้เดิม ซึ่งเป็น

แบบใบสมัครเข้ารับการคดั เลอื กเพื่อเสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 7

ทส่ี ิ่งที่นกั เรยี นรกู้ นั อยูแ่ ลว้ ไปสู่ความรู้ใหม่ทก่ี ำลังจะสอน ซ่งึ จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรยี นใหมไ่ ดช้ ัดเจนมาก
ยงิ่ ขึ้น

3) ขนั้ การทำกจิ กรรมก่อนการเรียน Activity before Learn
ขั้นการทำกิจกรรมก่อนการเรียน หมายถึง การทำกิจกรรมเพื่อเร้าความสนใจของนักเรียน หรือ
ดงึ ดูดความสนใจของนักเรยี นมาอยู่ทีก่ ารสอนของครู และเป็นการเตรยี มนกั เรยี นให้มีสมาธิ ในการฟงั เรื่องที่ครู
จะสอน จะทำใหน้ ักเรยี นรู้ว่าต่อไปจะเรยี นเรือ่ งอะไร และสามารถนำเอาความรแู้ ละทกั ษะเดิมทีม่ อี ยู่มาสัมพันธ์
กับบทเรียนใหม่ ซงึ่ ทำให้นกั เรยี นเห็นแนวทางในการเรียนรู้ และจะทำใหน้ ักเรียนเข้าใจบทเรียนใหม่ได้ชัดเจน
ยงิ่ ข้ึน

4) ข้นั การทบทวนความรู้เดมิ Working Memory
ขัน้ ทบทวนความรู้เดมิ หมายถึง การดึงความรขู้ องผเู้ รยี นในเรอ่ื งท่ีจะเรียน เพ่อื ช่วยให้ผู้เรียนมีความ
พร้อมในการเช่ือมโยงความรู้ใหม่กบั ความรเู้ ดมิ ของตน ซึ่งผสู้ อนอาจใช้วิธีการต่าง ๆได้อย่างหลากหลาย

5) ขัน้ ลงมอื ปฏิบตั ิ/ลงมือทำ Acting Experrimentation
ขั้นลงมือปฏิบัติ/ลงมือทำ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน โดยยึดสิ่งที่เป็นเนื้อหา
สาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามโครงสร้างรายวิชา ของ
หลกั สูตรสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สำหรบั การจดั การเรยี นรใู้ ห้แก่นกั เรยี นไดม้ คี วามรูแ้ ละเกดิ ทักษะ

6) ขนั้ การเรยี นรดู้ ้วยการต้ังคำถาม Learning to Question
ขั้นการเรียนรู้ด้วยการต้ังคำถาม หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการทางความคิด
ของผู้เรียน โดยครูผู้สอนจะป้อนคำถามในลักษณะต่าง ๆ จากการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับ ที่สามารถจะพัฒนา
ทักษะทางด้านความคดิ ของผู้เรียน โดยถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคดิ เชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์
หรือการประเมินคา่

7) ขั้นสรุปความคดิ รวบยอด Idea Concept
ขั้นสรุปความคิดรวบยอด หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้ฝึกสรุปความคิดรวบ
ยอดจากการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยครูผ้สู อนมีบทบาทหน้าที่ในการให้คำแนะนำ/คำช้ีแนะ ให้กับผู้เรียนได้สรุป
องค์ความรู้ที่ถกู ตอ้ งและเหมาะสม

8) ขน้ั การทดสอบความรู้ Test Knowledge
ขั้นการทดสอบความรู้ หมายถึง การทดสอบความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรยี นรู้ทถ่ี ูกต้อง มแี มน่ ยำ และมคี วามชัดเจน ในความเขา้ ใจความคิดรวบยอดของผู้เรยี น ซึง่ จะเป็นการเรา้ ให้
ผเู้ รยี นได้แสดงพฤติกรรมหรอื ความสามารถที่ตอ้ งการออกมา โดยใช้เครอื่ งมือการทดสอบที่มีความหลากหลาย
และมีคณุ ภาพ

ขั้นท่ี 3 ขั้นประเมนิ ผลการทำกจิ กรรม (C)
การประเมินผลและตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนจากการใช้นวัตกรรมกระบวนการ

จัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT Design กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
โดยการ

1. จดั ทำเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการจดั การเรียนรู้ เช่น แบบทดสอบ / ใบงาน
2. สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น ในการพฒั นาตนเองให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และ

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคดั เลือกเพอ่ื เสนอรับรางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร 8

คุณลักษณะ 5 ประการตามโครงการโรงเรียนสุจริต คือ มีทักษะการคิด มีวินัย มีความซื่อสัตย์ สุจริต รู้จัก
พอเพยี ง และมจี ิตสาธารณะ

ขั้นที่ 4 ปรบั ปรุงแก้ไข (A)
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้มีการ

พัฒนาต่อยอดของนวัตกรรมต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มสูงขึ้น พร้อมทั้งมี
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละบรรลุตามคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสจุ ริตเพิ่มขนึ้

6. สัดส่วนความรบั ผิดชอบงาน
กิจกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู เรื่อง “เรียนรู้สุจริต CHAWALIT

Design” ดำเนนิ การรบั ผดิ ชอบโดย นายชวลิต สนทิ มจั โร ตำแหน่ง ครู โรงเรยี นบ้านแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์)
ซง่ึ ดำเนินการรบั ผดิ ชอบ ร้อยละ 100 ของกิจกรรมทง้ั หมด

แบบใบสมัครเขา้ รับการคัดเลอื กเพื่อเสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 9

7. ความต่อเน่ืองในการทำงาน

การจัดกระบวนการเรียนการสอน “เรียนรู้สุจริต CHAWALIT Design” ซึ่งใช้กระบวนการจัดการ
เรียนการสอน 8 ขั้นตอน ตามรูปแบบ CHAWALIT Design เป็นการส่งเสริมคุณลักษณะของนักเรียนสู่การ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากความพยายามคิดค้นนวัตกรรมของนายชวลิต สนิทมัจโร ตำแหน่ง ครู โรงเรียน

บ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) สำหรับใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน โดยมีการดำเนินการอย่าง
ต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา รวมไปถึงการนิเทศติดตามของผู้บริหารอย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง การ

ได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายบริหารของโรงเรียน ทำให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จ ส่งผลต่อนักเรียนได้มี
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทส่ี ูงข้ึน ดงั น้ี

- นักเรียนมีความรู้ มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง มีทกั ษะในการทำงานรว่ มกัน

มคี ุณธรรมกำกับใจ มนี ำ้ ใจ เออ้ื เฟอื้ เผ่อื แผ่ เปน็ นักเรยี นทมี่ คี ณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
- ครมู ีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง มีความภาคภมู ใิ จ และชืน่ ชมในผลสัมฤทธ์ิทีเ่ กิดข้ึนแก่

นกั เรยี น
- การมีวินัย อดทน ความรบั ผิดชอบ ตรงต่อเวลา ของนกั เรยี นและครู มีความสำคญั มากใน

การช่วยใหก้ ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนประสบความสำเรจ็ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

8. ความสำเรจ็ ของงานและหลักฐานอา้ งองิ

จากการใช้นวตั กรรม “เรยี นรู้สุจริต CHAWALIT Design” ซ่ึงใช้กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 8 ข้ันตอน
ตามรูปแบบ CHAWALIT Design ในการจดั การเรียนการสอน พบว่านักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมขึ้น
อกี ทง้ั ยงั มีการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมและมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ทด่ี ีขึ้นดังน้ี

ตารางที่ 1 ตารางเปรยี บเทยี บรอ้ ยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 (ระดบั 2.5 – 4 )

ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา หมายเหตุ
1 ภาษาไทย 2562 2563 (คา่ ความต่าง)
69.66 81.71
+12.05

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
(ระดับ 2.5 – 4 ) ปกี ารศึกษา 2563 เพิ่มข้ึน จากปกี ารศึกษา 2562 รอ้ ยละ 12.05

(รายละเอยี ด ตามภาคผนวก จ เอกสารอา้ งองิ ผลของความก้าวหน้าและความสำเรจ็ ของงาน)

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคดั เลือกเพ่ือเสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มจั โร 10

ตารางท่ี 2 ตารางเปรยี บเทียบรอ้ ยละผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ในระดบั ดี ข้ึนไป

ท่ี คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ปีการศึกษา หมายเหตุ
(ค่าความตา่ ง)
1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2562 2563
2 ซอื่ สตั ย์ สุจรติ * +0.00
3 มวี ินยั * 100.00 100.00 +1.03
4 ใฝเ่ รยี นรู้ +9.95
5 อยู่อย่างพอเพียง* 97.75 98.78 +10.14
6 มงุ่ มั่นในการทำงาน +12.20
7 รกั ความเปน็ ไทย 87.80 97.75 +3.82
8 มีจติ สาธารณะ* +0.00
85.37 95.51 +4.98
รวม
87.80 100.00 +5.27

87.64 91.46

100.00 100.00

93.90 98.88

92.53 97.80

จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 โดยภาพรวม
ปกี ารศกึ ษา 2563 เพ่ิมขึ้น จากปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละ 5.27 เม่ือพิจารณาถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่
สอดคล้องกับคุณลักษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรยี นสุจริต คือ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. อยู่อย่าง
พอเพยี ง 4. มีจติ สาธารณะ พบวา่ ผลการประเมินเพมิ่ ข้นึ จากปกี ารศึกษา 2562 ทกุ ด้าน

แผนภูมิเปรยี บเทียบผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคน์ ักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

105

100

95

90

85

80

75 รักชาติ ศาสน์ ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง ม่งุ มนั่ ในการ รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ ภาพรวม
กษตั ริย์ ทางาน
97.75 87.8 85.37 87.8 100 93.9 92.53
2562 100 98.78 97.75 95.51 100 87.64 100 98.88 97.8

2563 100 91.46

2562 2563

(รายละเอยี ด ตามภาคผนวก จ เอกสารอา้ งองิ ผลของความกา้ วหน้าและความสำเร็จของงาน)

แบบใบสมัครเขา้ รับการคัดเลอื กเพื่อเสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมัจโร 11

ผลงานท่ี 2

1. ชอ่ื ผลงาน
เดก็ แมข่ รีร่นุ ใหม่ใส่ใจรว่ มใจปลอดภยั ยาเสพติดและอบายมุข

2. กลมุ่ เป้าหมาย
นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์)

3. จุดประสงค์
๑. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง เพอื่ ไม่ใหไ้ ปยงุ่ เก่ยี วกับยาเสพติดและอบายมุข

ตา่ ง ๆ
๒. เพ่อื ลดปญั หาการแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ และอบายมขุ ในสถานศึกษา
๓. เพอ่ื สนับสนุนและสง่ เสริมการดำเนินงานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และอบายมุขให้มคี วาม

เขม้ แขง็ และยั่งยนื

4. ลักษณะงาน
กิจกรรม เด็กแม่ขรีรุ่นใหม่ใส่ใจร่วมใจปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข เป็นการจัดกิจกรรมโดยการ

อบรมให้ความรู้เก่ียวกับการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา รูปแบบออนไลน์ผ่าน
ระบบ Zoom Meeting กบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค)์ ซึ่งสอดคล้องกบั
สถานการณ์ในปัจจุบันที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID – 19) ส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงและมกี ารปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ สถานการณ์โดยการบูรณาการเช่นการนำเทคโนโลยีต่างๆเข้ามามีส่วน
ร่วมในการดำเนินการจัดกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีทักษะทางด้านการใช้
เทคโนโลยี โดยถอื วา่ เปน็ สมรรถนะหลักสำคัญของการเรยี นการสอนในสถานการณป์ ัจจบุ นั

5. สดั ส่วนความรับผดิ ชอบ
กิจกรรม เด็กแม่ขรีรุ่นใหม่ใส่ใจร่วมใจปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข ดำเนินการรับผิดชอบโดย

นายชวลิต สนิทมัจโร ตำแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) ซึ่งดำเนินการรับผิดชอบ ร้อยละ
100 ของกิจกรรมทง้ั หมด และมกี ารเชญิ วทิ ยากรภายนอกที่มีความรคู้ วามสามารถและมีความเชย่ี วชาญในด้าน
ของการแก้ไขและป้องกันยาเสพติด เช่น เจ้าหน้าที่ตำรวจ จากสถานีตำรวจภูธรตะโหมด อำเภอตะโหมด
จังหวัดพัทลุง และเจ้าหน้าที่จากสาธารณสุขอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง มาให้ความรู้กับนักเรียนเกี่ยวกบั
การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ และอบายมุขในสถานศึกษา

6. ความตอ่ เน่ืองในการทำงาน
กิจกรรม เดก็ แม่ขรีรุ่นใหม่ใส่ใจร่วมใจปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

เป็นประจำทกุ ปกี ารศกึ ษา ทง้ั น้ีเนอื่ งมาจากนกั เรยี นโรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์ บางส่วนมีนิสัยและ
การแสดงออกทางพฤตกิ รรมต่างๆท่ีเสีย่ งต่อการถกู ชกั ชวนให้เข้าไปสู่วงจรของอบายมขุ เชน่ การดื่มเหลา้ การ
สูบบุหรี่ หรือการเล่นการพนนั ในรูปแบบต่างๆ และเนื่องจากสภาพแวดล้อมทางสังคมและความเปน็ อย่ขู อง
ชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่มีลักษณะเปน็ ชุมชนที่มขี นาดใหญแ่ ละมีความแออัดเน่ืองจากเป็นศูนย์กลางทางดา้ น
การค้าท่ีสำคญั ของอำเภอตะโหมด มกี ารม่ัวสุ่มของกล่มุ เยาวชน ซง่ึ โรงเรียนบา้ นแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค์) จัด
การศกึ ษาในระดับปฐมวัยถึงชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ถือไดว้ า่ ผู้เรียนมอี ายุยังนอ้ ยและมีความเส่ียงสูงต่อการถูก

แบบใบสมคั รเข้ารบั การคดั เลอื กเพื่อเสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 12

ชักชวนให้ไปยุ่งเกยี่ วกบั อบายมุขต่างๆ ไดง้ ่าย ด้วยความท่ีเป็นวัยอยากรอู้ ยากลอง ท้งั นสี้ ังเกตไดจ้ ากมีนักเรียน
บางคนมีพฤติกรรมทางอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น อารมณ์ร้อน หงุดหงิด โมโหง่าย ซึ่งพฤตกิ รรมต่างๆท่ี
แสดงออกมาเหลา่ นี้เป็นผลเก่ียวเนื่องมาจากการเขา้ ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขต่างๆ ดังนั้นทางโรงเรียนจึงจำเป็น
จะต้องจัดกิจกรรม เด็กแม่ขรีรุน่ ใหมใ่ ส่ใจร่วมใจปลอดภยั ยาเสพติดและอบายมขุ ขึ้นเป็นประจำทุกๆปี ทั้งนีก้ ็
จะมีการนิเทศติดตามของผู้บรหิ ารอย่างเป็นระบบและมีความต่อเน่อื ง การไดร้ ับการสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร
ของโรงเรียน ทำให้การดำเนนิ งานประสบผลสำเร็จ ส่งผลต่อนกั เรยี นมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง เพ่ือ
ไม่ให้ไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพตดิ และอบายมุขตา่ ง ๆได้

7. ความสำเร็จของงาน
เมื่อนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) ได้เข้าร่วมกิจกรรม เด็กแม่ขรี

รนุ่ ใหม่ใส่ใจรว่ มใจปลอดภยั ยาเสพติดและอบายมุข ทำให้นกั เรยี นเกิดความรู้ และมีความตระหนักต่อผลดีของ
การไม่ยงุ่ เกี่ยวกับอบายมุขตา่ งๆ เช่น สรุ า บุหร่ี หรอื การพนันโดยนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ทุกคน รู้จัก
วิธีการป้องกันตนเองใหห้ ่างไกลจากยาเสพติดโดยการใช้เวลาวา่ งที่มีใหเ้ กดิ ประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้เวลา
วา่ งให้เป็นประโยชน์ เชน่ การอ่านหนงั สอื การออกกำลังกาย การชว่ ยเหลอื งานผู้ปกครองในสว่ นท่สี ามารถทำ
ได้ ซง่ึ นักเรยี นท่อี ยใุ่ นกลมุ่ เสี่ยงก็ไดม้ กี ารปรับปรงุ และพฒั นาตนเองให้ดีขน้ึ สังเกตไดจ้ ากนกั เรียนกลุ่มน้ีมีความ
สนใจและมคี วามตัง้ ใจในการเรยี น และมคี วามขยันจนสง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเพมิ่ ขน้ึ

ภาพการเข้าร่วมกิจกรรม เด็กแม่ขรีรนุ่ ใหมใ่ สใ่ จร่วมใจปลอดภัยยาเสพติดและอบายมุข
โดยครผู ้รู ับผิดชอบ เชญิ เจา้ หน้าที่ตำรวจ จากสถานตี ำรวจภูธรตะโหมด มาเป็นวทิ ยากรบรรยาย

แบบใบสมัครเข้ารบั การคดั เลือกเพอื่ เสนอรับรางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 13

องคป์ ระกอบที่ 2 ด้านคุณภาพ

ผลงานในการส่งเสริม สนับสนุนสวัสดิการและ/หรือสวัสดิภาพให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นการศกึ ษา ผปู้ กครองและผเู้ รียน ทภ่ี าคภูมใิ จเพียง 1 ผลงาน

ผลงานทภ่ี าคภมู ใิ จ

1.ชอ่ื ผลงาน
ถอดบทเรยี น (Best Practice) สำหรับครู “เรยี นรสู้ ุจริต CHAWALIT Design”

2.ความสำคญั และความจำเปน็ ของงาน
จากวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง

พุทธศักราช 2560) ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย
ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ศักยภาพ (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน, 2551 : 4) เพือ่ ให้บรรลุ
วิสยั ทัศน์ดังกลา่ ว โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค)์ สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพัทลุง
เขต 2 ซึ่งเป็นสถานศึกษาที่บริหารและจัดการศึกษาภาคบังคับ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศกั ราช 2542 เปดิ สอนตงั้ แต่ระดบั ชั้นปฐมวัย ถงึ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยไดด้ ำเนินจดั การเรียนการ
สอนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2564) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560) รวมทั้งสิ้น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประกอบด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ศิลปะ การงานอาชพี และภาษาต่างประเทศ
และได้มีการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อันประกอบด้วยกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน
และกิจกรรมพัฒนาสังคมและสาธารณะประโยชน์ อีกด้วย ซึ่งในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนี้ มุ่งให้ผู้เรียน
พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ เสรมิ ให้เปน็ ผูม้ ศี ลี ธรรม จรยิ ธรรม ระเบียบวนิ ยั สรา้ งจิตสำนึกของการทำประโยชน์
เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. 2551 : 2) และสบื เนอื่ งจากในปัจจบุ ันน้ี อยา่ งทท่ี ราบกนั ดวี ่าสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) ได้ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในหลายๆแห่ง
ครูผสู้ อนจึงจำเปน็ ต้องมกี ารปรบั เปลยี่ นวิธกี ารจัดการเรียนการสอนเพ่อื ใหท้ นั ต่อสถานการณป์ ัจจุบนั นน่ั คอื การ
นำทักษะทางด้านเทคโนโลยีต่างๆมาบูรณาการหรือปรับประยุกต์ใช้เพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่าง
ต่อเนื่อง การจัดการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพนั่นคือการจัดการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการเรยี นรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT Design มีการจัดเรียนการสอนโดยการกำหนดข้นั ตอน
ของกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางแกค่ รูผู้สอน สำหรับใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนรายวิชาต่างๆในห้องเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและเกิด
ทกั ษะตา่ งๆ ในศตวรรษที่ 21 ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การเรียนรูข้ องนกั เรยี น ควบคไู่ ปกบั การมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8
ประการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรู้ถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญท่ีจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ ดังน้ัน
ครูผู้สอนควรมีความรู้ความเข้าใจในความหมายเกี่ยวกับกระบวนการของการออกแบบและการจัดการเรียนรู้

แบบใบสมคั รเขา้ รับการคัดเลอื กเพือ่ เสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร 14

รวมไปถึงทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 สภาพปัจจุบัน
และปัญหาเกีย่ วกับการเรยี นรู้ในประเทศไทย การวิเคราะห์ผู้เรียนและวิธีที่จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนร้ไู ด้ดี
การกำหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้ การจัดการเรียนรูท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การบูรณาการเน้ือหาในกล่มุ
สาระการเรียนรู้ต่างๆ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง การจัดทำแผนการเรียนรู้ระดับต่าง ๆ ทั้งนี้โดย
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรยี นได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพของแต่ละคน และสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้
ในชีวิตจริงได้ เพราะฉะนั้นครูยุคใหม่จึงควรมีวิธีคิดหรือกระบวนทัศน์ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเรียนการ
สอนให้นักเรียนเรียนรู้แบบให้รู้จริง (Mastery Learning) และเน้นลงมือปฏิบัติ (Action Learning) เตรียม
ผู้เรียนไปเป็นคนทางานทีใ่ ช้ความรู้ (Knowledge worker) และเป็นบุคคลที่พร้อมเรียนรู้ (learning person)
และทักษะที่สาคัญที่สุดที่ครูผู้สอนต้องปลูกฝังให้เกิดกบั ผู้เรียนเพื่อให้เขาเป็นบุคคลที่มีทักษะในด้านของการ
ปฏิบัติงาน และทักษะความสาเร็จส่วนบุคคล นั่นคือทักษะการเรียนรู้ (learning skills) ของคนศตวรรษที่ 21
การที่จะพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ ผู้ทม่ี ีความสามารถดังกล่าว ครูผู้สอนจงึ ต้องเปน็ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการ
เรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ท่ีดนี ั้นต้องเกิดจากการวางแผนและออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสม มีแบบแผนที่
ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตลอดจนถึงการเลือกใช้
เทคนิคการเรียนรูท้ ี่หลากหลาย ครูผู้สอนที่มีความสามารถในการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ จะเห็นแนวทาง
และหาวธิ กี ารท่ีชว่ ยส่งเสริมให้ผู้เรียนไดร้ ับประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่มี ีคุณค่าและมีความหมายตอ่ ชีวิต สามารถ
สร้างพลังแห่งการเรยี นรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกดิ การค้นพบวิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และประสบผลสาเร็จตาม
เป้าหมายที่ไดก้ าหนด และการที่จะทาให้ครูผู้สอนเป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการออกแบบการเรียนรูท้ ี่ดไี ด้นนั้
จาเป็นต้องมีการพัฒนาครูผสู้ อนให้มีความสามารถดังกล่าว นับเป็นความความท้าทายตอ่ การจัดการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 สำหรับแนวคิดทฤษฎีที่สำคัญที่นำมาวเิ คราะห์และใช้ในการออกแบบกระบวนการ
สอนน่นั คอื การนำขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอนของ สมทิ และราแกน (Smith & Ragan, 1999) ทีส่ ามารถ
นำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนรู้ประเภทใดก็ได้ ที่นิยมใช้อย่างแพรห่ ลาย 4 ขั้นตอนคือ ขั้นนำ (introduction)
ขนั้ สอน (body) ข้ันสรปุ (conclusion) และขน้ั ประเมินผล (assessment) มาใช้เป็นข้ันตอนในการออกแบบ
นวัตกรรมขั้นตอนกระบวนการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT Design คือ 1. ขั้นการกำหนด
เนื้อหาสาระ (Content Knowledge) 2. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Happiness to Learn) 3. ขั้นการทำกิจกรรม
ก่อนการเรียน (Activity before Learn) 4. ขั้นการทบทวนความรู้เดิม (Working Memory) 5. ขั้นลงมือ
ปฏิบัติ/ลงมือทำ (Acting Experrimentation) 6. ขั้นการเรียนรู้ด้วยการตั้งคำถาม (Learning to Question)
7. ขนั้ สรุปความคิดรวบยอด (Idea Concept) 8. ข้ันการทดสอบความรู้ (Test Knowledge) เพอ่ื นำไปใช้เป็น
แนวทางสำหรับครูผู้สอน สำหรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหอ้ งเรียน และเป็นการส่งเสริมให้
นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและเกิดทักษะต่างๆ ในศตวรรษที่ 21 ควบคู่กับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8
ประการที่จำเปน็ ต่อการเรยี นรขู้ องนักเรียน ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3. กลมุ่ เปา้ หมายและความคาดหวงั
เชิงปริมาณ
1. นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์ มีผลสมั ฤทธทิ์ างการ

เรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เพ่ิมสูงขนึ้ รอ้ ยละ 5
2. นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์) มีผลพฒั นาคุณลกั ษณะ

อันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พทุ ธศกั ราช 2560) และไดร้ บั การสร้างเสรมิ คุณลักษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต สงู ขน้ึ ร้อยละ 5

เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบา้ นแม่ขรี (สวิงประชาสรรค)์ มีมผี ลสัมฤทธิ์

ทางการเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เพมิ่ สงู ขึ้น
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) มีคุณลักษณะ

แบบใบสมคั รเข้ารับการคัดเลอื กเพื่อเสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 15

อันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศกั ราช 2560) และคุณลกั ษณะ 5 ประการตามโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ดขี ึ้น

4.วธิ ีการดำเนนิ การ
การถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู เรื่อง “เรียนรู้สุจริต CHAWALIT Design” ซึ่งใช้เป็น

แนวทางสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน รวมไปถึงเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้เกิด
ความรู้ความเขา้ ใจและเกิดทกั ษะต่างๆที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ควบคู่ไปกับการมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
8 ประการที่จำเป็นต่อการเรยี นรู้ของนักเรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ทง้ั นี้ในการถอดบทเรยี น (Best Practice) สำหรับ
ครู เรื่อง “เรยี นรู้สุจรติ CHAWALIT Design” มวี ธิ ีการดำเนนิ การดังนี้

ขน้ั ที่ 1 วางแผนและออกแบบกิจกรรม (P)
ในขัน้ นเี้ ป็นการศกึ ษาข้อมูลเกี่ยวกบั ทฤษฏีหรือหลักการสำคัญต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ

จัดการเรยี นการสอนเพ่อื ท่ีจะนำมาออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน
และได้นำหลักการของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) และคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต
มาใชเ้ พือ่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียน

ขั้นท่ี 2 ดำเนนิ การปฏบิ ัติ (D)
ในขน้ั นีข้ า้ พเจ้าได้มกี ารออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ 8 ขน้ั ตอน รูปแบบ CHAWALIT

Design ซึ่งมีการกำหนดขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอน
สำหรบั ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในห้องเรียน เพ่ือเป็นการสง่ เสริมให้ผ้เู รียนเกดิ ความรู้ความเข้าใจ
และทักษะตา่ งๆท่จี ำเป็นตอ่ การเรียนรู้ โดยมีท้ังหมด 8 ขั้นตอน ดังนี้

1) ขน้ั การกำหนดเน้ือหาสาระ Content Knowledge
ขั้นการกำหนดเนื้อหาสาระ หมายถึง การกำหนดข้อมลู ความรู้หรือสิ่งที่เป็นเนื้อหาสาระสำคัญตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตามโครงสรา้ งรายวชิ า ของหลักสูตรสถานศกึ ษาข้ัน
พ้นื ฐาน สำหรบั การจดั การเรียนรู้ใหแ้ กน่ ักเรียนไดม้ ีความร้แู ละทักษะเพ่อื ให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายท่ีหลักสูตร
กำหนด

แบบใบสมคั รเขา้ รับการคัดเลือกเพือ่ เสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 16

2) ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน Happiness to Learn
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน หมายถึง การเตรียมตัวนักเรียนก่อนที่จะเริ่มทำการเรียนการสอน เพื่อให้
นักเรียนได้ทราบว่ากำลังจะเรียนเกี่ยวกับอะไร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร้าความสนใจและเตรียมความพร้อม
ให้กับนกั เรยี น ให้มาอยู่กบั การจัดการเรยี นการสอนของครูผู้สอน และตอ้ งเป็นการเชอ่ื มโยงความร้เู ดิม ซึ่งเป็น
ทีส่ ่งิ ท่ีนกั เรียนรูก้ นั อยแู่ ล้ว ไปสคู่ วามรู้ใหมท่ ีก่ ำลงั จะสอน ซึ่งจะช่วยใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจบทเรียนใหม่ได้ชัดเจนมาก
ยิ่งข้ึน

3) ขั้นการทำกิจกรรมกอ่ นการเรยี น Activity before Learn
ขั้นการทำกิจกรรมก่อนการเรียน หมายถึง การทำกิจกรรมเพื่อเร้าความสนใจของนักเรียน หรือ
ดึงดดู ความสนใจของนกั เรยี นมาอยู่ทีก่ ารสอนของครู และเปน็ การเตรยี มนกั เรยี นใหม้ ีสมาธิ ในการฟังเร่ืองที่ครู
จะสอน จะทำใหน้ ักเรยี นรู้ว่าต่อไปจะเรยี นเรอ่ื งอะไร และสามารถนำเอาความร้แู ละทกั ษะเดมิ ที่มีอยู่มาสัมพันธ์
กบั บทเรียนใหม่ ซึ่งทำให้นกั เรียนเหน็ แนวทางในการเรียนรู้ และจะทำใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจบทเรียนใหม่ได้ชัดเจน
ยิง่ ข้ึน

4) ขั้นการทบทวนความรู้เดมิ Working Memory
ขั้นทบทวนความรเู้ ดิม หมายถึง การดงึ ความรขู้ องผูเ้ รียนในเรอื่ งที่จะเรียน เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรียนมีความ
พร้อมในการเช่อื มโยงความร้ใู หมก่ บั ความรู้เดมิ ของตน ซึ่งผสู้ อนอาจใชว้ ธิ กี ารต่าง ๆได้อยา่ งหลากหลาย

5) ขน้ั ลงมือปฏบิ ตั /ิ ลงมอื ทำ Acting Experrimentation
ขั้นลงมือปฏิบัติ/ลงมือทำ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน โดยยึดสิ่งที่เป็นเนื้อหา
สาระสำคัญตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามโครงสร้างรายวิชา ของ
หลักสูตรสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน สำหรับการจดั การเรยี นรใู้ หแ้ ก่นกั เรยี นไดม้ ีความรแู้ ละเกิดทักษะ

6) ขน้ั การเรียนร้ดู ้วยการตั้งคำถาม Learning to Question
ขั้นการเรียนรู้ด้วยการตั้งคำถาม หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนากระบวนการทางความคิด
ของผู้เรียน โดยครูผู้สอนจะป้อนคำถามในลักษณะต่าง ๆ จากการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับ ที่สามารถจะพัฒนา
ทักษะทางด้านความคดิ ของผูเ้ รียน โดยถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคดิ เชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์
หรอื การประเมินคา่

7) ขัน้ สรปุ ความคิดรวบยอด Idea Concept
ขั้นสรุปความคิดรวบยอด หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้ฝึกสรุปความคิดรวบ
ยอดจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนมีบทบาทหน้าที่ในการให้คำแนะนำ/คำช้ีแนะ ให้กับผู้เรียนได้สรุป
องคค์ วามรู้ทถ่ี ูกต้องและเหมาะสม

8) ขนั้ การทดสอบความรู้ Test Knowledge
ขั้นการทดสอบความรู้ หมายถึง การทดสอบความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ทถี่ ูกตอ้ ง มีแม่นยำ และมีความชัดเจน ในความเข้าใจความคดิ รวบยอดของผเู้ รยี น ซึง่ จะเปน็ การเรา้ ให้
ผู้เรยี นไดแ้ สดงพฤติกรรมหรอื ความสามารถทตี่ อ้ งการออกมา โดยใชเ้ คร่ืองมอื การทดสอบท่ีมีความหลากหลาย
และมีคุณภาพ

แบบใบสมัครเข้ารบั การคดั เลอื กเพ่ือเสนอรับรางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 17

ข้นั ท่ี 3 ขนั้ ประเมินผลการทำกจิ กรรม (C)
การประเมินผลและตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนจากการใช้นวัตกรรมกระบวนการ

จัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอน รูปแบบ CHAWALIT Design กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
โดยการ

1. จดั ทำเคร่อื งมือวัดผลและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ เช่น แบบทดสอบ / ใบงาน
2. สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียน ในการพัฒนาตนเองให้มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และ
คุณลักษณะ 5 ประการตามโครงการโรงเรียนสุจริต คือ มีทักษะการคิด มีวินัย มีความซื่อสัตย์ สุจริต รู้จัก
พอเพยี ง และมจี ิตสาธารณะ

ขัน้ ท่ี 4 ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (A)
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้มีการ

พัฒนาต่อยอดของนวัตกรรมต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มสูงขึ้น พร้อมทั้งมี
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ละบรรลตุ ามคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรียนสจุ ริตเพ่มิ ข้นึ

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กเพอื่ เสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 18

5. ความกา้ วหนา้ และความสำเรจ็ ของงาน

จากการใช้นวตั กรรม “เรียนรสู้ จุ ริต CHAWALIT Design” ซึ่งใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ 8 ขนั้ ตอน
ตามรปู แบบ CHAWALIT Design ในการจดั การเรียนการสอน พบว่านกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมขึ้น
อีกทง้ั ยงั มีการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมและมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ด่ี ีขนึ้ ดงั น้ี

ตารางท่ี 3 ตารางเปรียบเทยี บรอ้ ยละของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 6 (ระดบั 2.5 – 4 )

ท่ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา หมายเหตุ
1 ภาษาไทย 2562 2563 (ค่าความตา่ ง)
69.66 81.71
+12.05

จากตารางที่ 3 พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
(ระดบั 2.5 – 4 ) ปกี ารศกึ ษา 2563 เพม่ิ ขึน้ จากปกี ารศึกษา 2562 ร้อยละ 12.05

(รายละเอียด ตามภาคผนวก จ เอกสารอ้างอิงผลของความก้าวหน้าและความสำเร็จของงาน)
ตารางท่ี 4 ตารางเปรยี บเทยี บร้อยละผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

ในระดับดี ขึ้นไป

ท่ี คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ปกี ารศึกษา หมายเหตุ
(ค่าความตา่ ง)
1 รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2562 2563
2 ซ่ือสตั ย์ สุจรติ * +0.00
3 มวี ินยั * 100.00 100.00 +1.03
4 ใฝเ่ รียนรู้ +9.95
5 อยู่อย่างพอเพียง* 97.75 98.78 +10.14
6 มุง่ ม่ันในการทำงาน +12.20
7 รกั ความเป็นไทย 87.80 97.75 +3.82
8 มีจติ สาธารณะ* +0.00
85.37 95.51 +4.98
รวม
87.80 100.00 +5.27

87.64 91.46

100.00 100.00

93.90 98.88

92.53 97.80

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคดั เลอื กเพื่อเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มจั โร 19

จากตารางที่ 4 พบวา่ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยภาพรวม
ปกี ารศกึ ษา 2563 เพ่ิมขึ้น จากปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละ 5.27 เม่ือพิจารณาถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่
สอดคล้องกับคุณลักษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต คือ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. อยู่อย่าง

พอเพียง 4. มีจิตสาธารณะ พบวา่ ผลการประเมินเพม่ิ ขึน้ จากปีการศึกษา 2562 ทุกดา้ น

แผนภูมิเปรยี บเทียบผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงคน์ ักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

105

100

95

90

85

80

75 รักชาติ ศาสน์ ซ่อื สัตย์ สจุ รติ มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มงุ่ ม่ันในการ รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ ภาพรวม
กษัตรยิ ์ ทางาน
97.75 87.8 85.37 87.8 100 93.9 92.53
2562 100 98.78 97.75 95.51 100 87.64 100 98.88 97.8

2563 100 91.46

2562 2563

(รายละเอียด ตามภาคผนวก จ เอกสารอ้างอิงผลของความกา้ วหนา้ และความสำเรจ็ ของงาน)
6.ปจั จัยความสำเร็จของงาน

ปจั จัยด้านการบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นมโี ครงสร้างการบริหารแบบกระจายอำนาจ และ
บริหารแบบมีส่วนร่วม ด้วยความร่วมมอื ของทุกฝา่ ย ทั้งคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน

และผ้ปู กครอง ตลอดถงึ ชมุ ชน ให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้กำลังใจ รวมถงึ ด้านงบประมาณอยา่ งเตม็ ที่ กำหนด
เป้าหมายในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมที่ชัดเจน สร้างความตระหนักและความเข้าใจแก่ทุกฝ่าย เกี่ยวข้อง
ประสานความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ น

ปัจจัยด้านอาคารสถานที่ สอ่ื อปุ กรณ์ และแหลง่ เรียนรู้ โรงเรียนมคี วามพร้อมดา้ นอาคาร
สถานท่ี ส่ือ อปุ กรณท์ ่ีเออ้ื ต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ปัจจัยด้านบุคลากร ครูผู้สอนของโรงเรียนได้รบั การอบรมพัฒนาด้านการจัดกิจกรรมการ
เรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง เปน็ บคุ ลากรวชิ าชีพ มคี วามรูแ้ ละสามารถจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย
วิธี เช่น ดา้ นการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ฯลฯ

ปัจจัยดา้ นนกั เรยี น ใหค้ วามรว่ มมอื และมคี วามพร้อมในร่วมกิจกรรม คดิ เอง ทำเอง แก้ปัญหาเอง
นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา เห็นคุณค่าและความสำคัญของการพัฒนาตนเองเห็นคุณค่าและ

ความสำคญั ของการพัฒนาโรงเรยี น นกั เรยี นมีความรักและสามัคคีกัน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน ชน่ื ชมยินดแี ละพงึ พอใจ พรอ้ มใหก้ ารสนับสนุนกิจกรรมอย่างดยี ิง่ มสี ่วนรว่ ม

ในกิจกรรมพัฒนานักเรียน ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

ใหก้ บั นักเรยี น เห็นคุณคา่ และความสำคัญของการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรยี น
กระบวนการ มคี วามชัดเจน เขา้ ใจง่าย ไม่ซ้ำซ้อน ทำงานอย่างมรี ะบบ มกี ารกำกับ ติดตาม

อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคดั เลอื กเพอื่ เสนอรับรางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 20

7. ปญั หาอปุ สรรคและวิธแี กไ้ ข
1. ปญั หาความไม่ตอ่ เน่อื งของการเรยี นการสอนเน่อื งจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ทำให้นกั เรียนบางคน

ท่ีมฐี านะทางบ้านคอ่ นข้างยากจนเข้าถงึ การจัดการเรียนการสอนได้อย่างไม่เตม็ ท่ี อันเนอ่ื งมาจากข้อจำกัดของ
การใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน เช่น การจดั การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ ท้ังน้ี ครูผู้สอน
จึงแก้ไขปัญหาดงั กล่าวโดยการนัดหมายนักเรียนมาเรียนทโี่ รงเรยี นเปน็ การส่วนตัวเฉพาะรายทม่ี ปี ัญหา

2. ปัญหาทางดา้ นครอบครัวของนกั เรยี นบางคน ซง่ึ บางครอบครัวในบรเิ วณชมุ ชนใกลโ้ รงเรียนไม่ค่อย
ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการศึกษา ผู้ปกครองบางท่านไม่เคยกวดขันการทำการบ้านของบุตรหลาน เลยทำให้
นักเรียนขาดความรบั ผิดชอบต่อภาระงานที่ครูผู้สอนมอบหมายให้ ทั้งนี้ ครูผู้สอนจึงแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดย
การลงพืน้ ทีพ่ ูดคยุ ทำความเข้าใจกับผปู้ กครองเป็นรายๆไป

8.ความม่งุ ม่นั และเสยี สละในการทำงาน
ข้าพเจ้านายชวลิต สนิทมัจโร ตำแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์) ได้ประพฤติ

ปฏิบัติตนและยดึ กฎระเบยี บขอ้ บงั คับของทางราชการในเรอ่ื งของการปฏบิ ัตหิ น้าที่ทีต่ ้องตรงตอ่ เวลา อุทิศเวลา
ใหแ้ ก่ทางราชการ รวมไปถึงไม่ละทงิ้ หน้าทร่ี าชการโดยไมม่ เี หตุอนั ควร โดยมาปฏิบตั ริ าชการในการจดั การเรียน
การสอน อย่างตอ่ เนื่องและสม่ำเสมอ อุทิศเวลาให้กับทางราชการ เพ่อื มาปฏิบตั ิหน้าท่ีทไี่ ด้รับมอบหมาย และ
ปฏิบัติหน้าท่ีครูประจำชั้น และครูผู้สอนกลุ่มสาระภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อย่างเต็มเวลาเต็ม
ความสามารถ โดยไมเ่ อาเวลาราชการไปหาผลประโยชน์หรือทำธรุ กิจส่วนตวั ทั้งน้ีหากไดร้ ับมอบหมายงานจาก
ผ้อู ำนวยการโรงเรียน หรอื ผบู้ ังคับบัญชาใหป้ ฏิบัติหน้าทใ่ี ด ๆ ข้าพเจ้ากจ็ ะรบั ผิดชอบและมีความมุ่งม่ันในการ
ปฏิบัติงาน ให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนดแม้งานนั้นต้องนำไปทำต่อที่บ้านหรืออยู่ปฏิบัติหน้าที่นอกเวลา
ราชการ หรอื ไดร้ บั คำส่งั ใหท้ ำงานในวนั หยุดราชการ ขา้ พเจ้ากไ็ มเ่ คยหลีกเล่ียงต่อหน้าท่ีทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

9.แนวทางในการพฒั นางานในอนาคต
ข้าพเจ้าได้นำนวัตกรรม การถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู“เรียนรู้สุจริต CHAWALIT

Design” เผยแพรภ่ ายในโรงเรียน เมือ่ มคี รทู สี่ นใจในกระบวนการจดั การเรยี นการสอนตามรูปแบบ CHAWALIT
Design สามารถที่จะนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอน สำหรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน
ห้องเรียน นอกจากนี้ยังมีการเผยแพร่ภายนอกโรงเรียน โดยผ่านทางช่อง Youtube ซึ่งถือได้ว่าเป็นการ
เผยแพร่ผลงานผ่านทางระบบออนไลน์ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ทั้งนี้เมื่อได้รับข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะตา่ งๆ กจ็ ะนำมาปรบั ใช้เพอื่ ทจี่ ะได้เปน็ แนวทางในการพฒั นากระบวนการเรียนการสอนในอนาคต
ให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขนึ้

แบบใบสมคั รเขา้ รับการคดั เลอื กเพอื่ เสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนิทมัจโร 21

ภาคผนวก

แบบใบสมัครเขา้ รับการคัดเลอื กเพ่ือเสนอรับรางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มจั โร 22

ภาคผนวก ก

เอกสารอ้างองิ หนังสือการรบั รองของผบู้ ังคับบัญชา

แบบใบสมคั รเข้ารับการคดั เลอื กเพอ่ื เสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมัจโร 23

ศธ 04225.057/ 1 โรงเรียนบา้ นแม่ขรี (สวงิ ประชาสรรค์)
หมู่ 1 ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด

จงั หวดั พัทลุง 93000

หนังสือฉบับนี้ให้ไว้เพื่อรับรองว่า นายชวลิต สนิทมัจโร ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ -
โรงเรียนบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์ สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 ปัจจุบัน
ปฏิบัติหน้าที่เป็นครูผู้สอน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนบ้านแม่ขรี (สวิงประชาสรรค์)
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลงุ สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพทั ลุง เขต 2 เริ่ม
ปฏิบัติหน้าที่ ณ โรงเรียนบ้านแมข่ รี (สวิงประชาสรรค)์ เมื่อวนั ที่ 16 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ถึงวันที่
15 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2565 เป็นระยะเวลา 4 ปี 8 เดอื น เป็นผมู้ ีความรคู้ วามสามารถและมีความประพฤติ
ดี มีคุณสมบัติตามเกณฑ์เสนอชือ่ เพือ่ ขอรับรางวัล “พระพฤหัสบดี” ประจำปี 2565 ประเภทบุคคล ครูและ
คณาจารย์ ของสำนกั งานคณะกรรมการ สกสค.

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 10 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2565

(นายสนอง ศรเี กตุ)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์)

-

แบบใบสมคั รเข้ารบั การคดั เลอื กเพ่อื เสนอรบั รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนิทมจั โร 24

ภาคผนวก ข

เอกสารอา้ งองิ ประวัตกิ ารรบั ราชการ

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 25

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 26

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคัดเลอื กเพอ่ื เสนอรบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนิทมจั โร 27

ภาคผนวก ค

เอกสารอา้ งอิงสำเนาบัตรประจำตวั ประชาชน/บัตรประจำตวั ขา้ ราชการ

แบบใบสมคั รเข้ารับการคดั เลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 28

รบั รองสำเนาถกู ต้อง
(นายชวลติ สนทิ มจั โร)

แบบใบสมคั รเข้ารบั การคดั เลือกเพ่ือเสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนิทมจั โร 29

รับรองสำเนาถกู ตอ้ ง
(นายชวลิต สนทิ มจั โร)

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลือกเพอ่ื เสนอรบั รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 30

ภาคผนวก ง

เอกสารอา้ งอิง สำเนาเกียรตบิ ัตร

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 31

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 32

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 33

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 34

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 35

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคัดเลอื กเพ่ือเสนอรบั รางวัลพระพฤหสั บดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มัจโร 36

แบบใบสมัครเขา้ รับการคดั เลือกเพอ่ื เสนอรับรางวลั พระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 37

ภาคผนวก จ

เอกสารอา้ งองิ ผลของความก้าวหนา้ และความสำเรจ็ ของงาน

แบบใบสมัครเขา้ รบั การคัดเลอื กเพอื่ เสนอรับรางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลิต สนทิ มจั โร 38

ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นโรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวงิ ประชาสรรค)์

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปกี ารศกึ ษา 2562
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ชั้น จำนวนนร . 0 ส รุ ป ผล ก ำร เ รี ย น ผลกำรเรียน
0 จ ำ น วน นั ก เ รี ย น ท่ี ไ ด้ รั บ ผล ก ำร เ รี ย น ระดับ 2.5 - 4
ภาษาไทย 89 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 จำนวน ร้อยละ
คณิตศาสตร์ 89 0 11 4 12 8 12 10 32 62 69.66
วทิ ยาศาสตร์ 89 0 15 6 8 10 8 14 28 60 67.42
สงั คมศึกษา 89 0 20 7 5 9 17 10 21 57 64.04
ประวตั ิศาสตร์ 89 0 7 4 9 10 12 16 31 69 77.53
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 89 0 0 3 19 21 18 7 21 67 75.28
ศิลปะ 89 0 7 10 10 18 16 12 17 63 70.79
การงาน 89 0 2 2 4 3 15 8 55 81 91.01
ภาษาต่างประเทศ 89 0 0 1 7 10 18 25 28 81 91.01
คอมพิวเตอร์ 89 2 9 11 16 16 17 18 67 75.28
890 0 0 0 0 6 27 26 30 89 100.00
รวม
64 46 85 111 159 145 281 696 78.20

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปกี ารศึกษา 2563
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6

ชั้น จำนวนนร . 0 ส รุ ป ผล ก ำร เ รี ย น ผลกำรเรียน
0 จ ำ น วน นั ก เ รี ย น ที่ ไ ด้ รั บ ผล ก ำร เ รี ย น ระดับ 2.5 - 4
ภาษาไทย 82 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 จำนวน ร้อยละ
คณิตศาสตร์ 82 0 0 7 8 22 24 11 10 67 81.71
วิทยาศาสตร์ 82 0 8 6 13 16 13 10 16 55 67.07
สงั คมศึกษา 82 0 7 14 14 13 12 10 12 47 57.32
ประวัติศาสตร์ 82 0 6 4 14 12 11 13 22 58 70.73
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 82 0 4 2 6 13 22 17 18 70 85.37
ศิลปะ 82 0 0 3 10 23 13 13 20 69 84.15
การงาน 82 0 0 1 6 9 20 13 33 75 91.46
ภาษาต่างประเทศ 82 0 1 0 1 2 19 18 41 80 97.56
คอมพวิ เตอร์ 82 5 11 11 19 15 10 11 55 67.07
820 0 0 0 0 5 23 31 23 82 100.00
รวม
31 48 83 134 172 146 206 576 70.24

แบบใบสมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กเพ่อื เสนอรบั รางวัลพระพฤหัสบดี ประจำปี 2565 / นายชวลติ สนทิ มจั โร 39

ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ไม่ผ่ำน จำนวน ร้อยละ ระดบั 2-3
ผ่ำน ดี ดี่เยี่ยม ไม่ผ่ำน ผ่ำน ดี ด่ีเย่ียม จานวน ร้อยละ

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 0 0 14 75 0 0.00 15.73 84.27 89 100.00
ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต* 0 2 10 77 0 2.25 11.24 86.52 87 97.75
มวี นิ ยั * 0 2 31 56 0 2.25 34.83 62.92 87 87.80
ใฝเ่ รียนรู้ 0 4 31 54 0 4.49 34.83 60.67 85 85.37
อยู่อยา่ งพอเพยี ง* 0 0 30 59 0 0.00 33.71 66.29 87 87.80
มุ่งม่ันในการทางาน 0 11 22 56 0 12.36 24.72 62.92 78 87.64
รักความเป็นไทย 0 00 89 0 0.00 0.00 100.00 89 100.00
มจี ติ สาธารณะ* 0 1 39 49 0 1.12 43.82 55.06 88 93.90

ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ไ ม่ ผ่ำน จำนวน ด่ี เ ย่ี ย ม ไ ม่ ผ่ำน ร้อยละ ดี่ เ ย่ี ย ม ระดบั 2-3
ผ่ำน ดี ผ่ำน ดี จานวน ร้อยละ
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 0 60 0 73.17
ซอื่ สตั ย์ สจุ ริต* 0 0 22 71 0 0.00 26.83 86.59 82 100.00
มวี ินยั * 0 0 10 48 0 0.00 12.20 58.54 81 98.78
ใฝเ่ รียนรู้ 0 10 24 41 0 12.20 29.27 50.00 72 97.75
อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง* 0 12 29 57 0 14.63 35.37 69.51 70 95.51
มุ่งม่ันในการทางาน 0 10 15 48 0 12.20 18.29 58.54 82 100.00
รักความเป็นไทย 0 7 27 82 0 8.54 32.93 100.00 75 91.46
มีจติ สาธารณะ* 0 00 56 0 0.00 0.00 68.29 82 100.00
5 21 6.10 25.61 77 98.88

โรงเรยี นบา้ นแมข่ รี (สวิงประชาสรรค์)

สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพัทลงุ เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version