The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มหน่วยที่ 7 ปริมาณน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kamon Cha, 2021-03-05 03:04:54

รวมเล่มหน่วยที่ 7 ปริมาณน้ำ

รวมเล่มหน่วยที่ 7 ปริมาณน้ำ

ผลการสอนโดยใช้วธิ กี ารแบบเปิด (Open Approach)
เร่ือง ปรมิ าณนำ้

ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3

โรงเรียนขจรเกยี รติถลาง
ปกี ารศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 2



คำนำ

เอกสารฉบับนี้เป็นการสรุปผลการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach) ของ
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขจรเกียรติถลาง ปีการศึกษา 2563 ในเรื่อง ปริมาณน้ำ โดย
ได้นำแนวคิดวิธีการแบบเปิดจาก รศ.ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ มาปรับใช้กับการเรียนการสอน
คณติ ศาสตร์ในชนั้ เรียนมกี ารทำการศกึ ษาชน้ั เรียน (Lesson Study) ควบค่ไู ปกบั การสอนแบบเปดิ
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดกจิ กรรมและเป็นประโยชนต์ อ่ ครูและนกั เรยี นต่อไป

สารบญั ข

คำนำ หน้า
สารบัญ
กจิ กรรมคาบที่ 1 “ขวดไหนจุได้มากกวา่ ” ก
กจิ กรรมคาบที่ 2 “มีน้ำอยู่เท่าไร” ข
กิจกรรมคาบที่ 3 “เล็กกว่าลิตร” 1
กิจกรรมคาบท่ี 4 “ต๊ะ ตงุ ตวง”
กิจกรรมคาบที่ 5 “มาคำนวณปริมาณนำ้ กันเถอะ” 10
กิจกรรมคาบที่ 6 “อะไรน้อยทสี่ ดุ ” 22
ภาพกิจกรรมการจดั การเรียนการสอน 36
49
62
63

1

แผนการจดั การเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
ในโครงการพัฒนาวิชาชพี ครคู ณิตศาสตร์ ด้วยนวัตกรรมศกึ ษาชนั้ เรียน (Lesson Study)

และวธิ กี ารสอนแบบเปดิ (Open Approach) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3
โรงเรยี นขจรเกียรตถิ ลาง สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดภูเกต็

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ ขนาดและการวดั หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7

เรอ่ื ง ปรมิ าณนำ้ หน้า 83 - 84 กจิ กรรมเรื่อง ขวดไหนจไุ ดม้ ากกว่า

คาบท่ี 1/6 จำนวน 50 นาที วนั ที่ 25 มนี าคม 2564

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียน ขจรเกยี รตถิ ลาง

ชอ่ื ผ้รู ่วมสรา้ งแผน

1.นางบปุ ผา แสงศรี รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนขจรเกียรตถิ ลาง

2.นางสาวธิดารัตน์ โสตะกุล หวั หนา้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

3. นางสาวณฐั ธดิ า มะอนนั ต์ ครปู ระจำวชิ าคณิตศาสตร์ ป.3

4. นางสาวกมลชนก จา่ ภา นักศึกษาฝึกปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา

5. นางสาวนนั วรรณ คำภรี ะ นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา

ชอ่ื ผ้บู นั ทกึ นางสาวกมลชนก จา่ ภา

ชอ่ื ผู้สอน นางสาวกมลชนก จา่ ภา

1. เป้าหมายของบทเรยี นระดับหน่วยการเรียนรู้และเปา้ หมายของบทเรียนในแตล่ ะคาบในหน่วยการเรียนรู้
นน้ั (Aim of the Lesson)

เปา้ หมายของบทเรียนระดับหนว่ ยการเรียนรู้
1) นกั เรยี นสามารถแสดงวธิ ีการเปรยี บเทียบปรมิ าณของนำ้ ได้
2) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของหน่วยแสดงปริมาณที่เรียกว่า “ลิตร” และสามารถเขียน
สญั ลกั ษณ์แสดงหน่วยแสดงปริมาณ “ลติ ร” ได้
3) นกั เรียนสามารถวัดปรมิ าณของนำ้ ทีม่ ปี ริมาณน้อยกวา่ 1 l (ลติ ร) ได้
4) นกั เรียนสามารถเขา้ ใจความหมายของเดซลิ ิตร (10 เดซลิ ิตร เป็น 1 ลิตร) ได้
5) นักเรยี นสามารถเขา้ ใจความสัมพันธก์ ารวดั ปรมิ าณของนำ้ ท่อี ยู่ในภาชนะ โดยใชถ้ ว้ ยตวง 1 l (ลติ ร)
และ 1 dl (เดซิลิตร) ได้
6) นักเรียนสามารถสร้างถ้วยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้
7) นักเรยี นสามารถคำนวณหาปริมาณของนำ้ ได้
8) นักเรยี นสามารถบอกปรมิ าณบรรจขุ องภาชนะตา่ ง ๆ ได้
9) นกั เรียนสามารถเข้าใจความหมายของหนว่ ยแสดงปริมาณที่เรยี กว่า “มิลลลิ ติ ร” และสามารถเขียน
สัญลกั ษณแ์ สดงหนว่ ยแสดงปรมิ าณ “มิลลลิ ติ ร” ได้

ลขิ สทิ ธิ์ของศนู ย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต ศนู ยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

2

10) นักเรียนสามารถเปลีย่ นหนว่ ยวัดปริมาณน้ำได้
11) นกั เรียนสามารถแก้สถานการณป์ ัญหาเกีย่ วกบั ปริมาณน้ำได้
เป้าหมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหน่วยการเรียนรนู้ ้นั (คาบที่ 1/6)
นักเรียนสามารถแสดงวิธีการเปรยี บเทยี บปรมิ าณของเหลวได้

2. ลำดับกจิ กรรมการสอน ให้แบง่ เน้ือหาสาระในคาบทจี่ ะสอนออกเป็นกจิ กรรมย่อย ๆ ในแตล่ ะชว่ ง
เพอ่ื ให้ไดค้ วามรู้ ความคดิ รวบยอด แนวคิด วิธีการ ฯลฯ ท่เี ป็นข้อความรสู้ ว่ นยอ่ ย ๆ เมอ่ื ครบคาบเรยี น
แลว้ จะได้ตามจดุ ประสงค์ของคาบเรียนน้นั

การแสดงแทนโลกจรงิ ของนกั เรยี น
- ปริมาณน้ำสม้ ในขวดท่มี ีรปู ทรงต่างกนั
ส่ือกงึ่ รูปธรรม
- ภาชนะใสแบบต่าง ๆ ได้แก่ แก้วน้ำ โถตวง กระบอกใส ขวดนำ้ ใส
การแสดงแทนโลกคณิตศาสตร์
- การเปรยี บเทยี บปริมาณน้ำในภาชนะท่มี ีรูปทรงต่างกนั

3. ขัน้ ตอนการสร้างสถานการณป์ ัญหาปลายเปิด
3.1 เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ต้องการจะเน้นใน

สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดของหน่วยการเรียนรู้นี้ (พิจารณาเปรียบเทียบระหว่างหนังสือเรียน
คณติ ศาสตร์ไทย กบั หนงั สือเรียนคณติ ศาสตรญ์ ีป่ ่นุ )

3.1.1 เนอื้ หาสาระ

1. ถ้วยตวง (measuring cup) หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการตวงของเหลวหรือของแข็งที่มีอนุภาค
ขนาดเล็ก บริเวณปากภาชนะจะบากเป็นร่องเพ่ือให้เทของเหลวหรือของแห้งออกมาไดส้ ะดวก และด้านข้างจะ
มเี ครอ่ื งหมายบอกปริมาณของเหลวหรือของแห้งท่บี รรจอุ ยู่

2. คิดเกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบปริมาณน้ำ (think about how to compare amount of
water) หมายถึง การหาวิธีการในการหาผลต่าง (difference) ปริมาณของเหลวที่บรรจุในภาชนะที่มีขนาด
แตกต่างกนั

3. กิจกรรมการเปรียบเทียบโดยตรง (direct comparison activity) หมายถึง กิจกรรมการนำ
สิ่งของสองสิ่งที่ตอ้ งการเปรียบเทียบกันมาวางทาบหรือทับหรือเทียบหรือชนกันโดยมีจุดเริ่มต้นเดียวกัน ทำให้
เห็นความตา่ ง (difference) ทีช่ ดั เจน แลว้ ทำให้ทราบว่าสงิ่ ใดยาวหรอื สนั้ ใหญห่ รอื เล็ก มากหรอื นอ้ ย ทั้งน้ีการ
ทำให้เห็นความต่างมคี วามหมายเดียวกนั กับการลบ (subtraction)

4. กิจกรรมการเปรียบเทียบโดยอ้อม (indirect comparison activity) หมายถึง กิจกรรมการหา
ความตา่ งของสิ่งของสองสิ่งโดยใช้เครอ่ื งมือมาช่วยเพื่อการเปรียบเทียบ

ลิขสทิ ธิ์ของศนู ยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศูนย์วิจัยคณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

3

5. หนว่ ยไม่เจาะจง (arbitrary unit) หมายถึง หน่วยทีใ่ ช้ในการวดั ปริมาณต่าง ๆ ท่ผี ใู้ ชก้ ำหนดข้ึนมา
หรือ หน่วยทผ่ี ู้ใช้กำหนดขน้ึ มาเองเพอื่ ใช้ในการวัดปรมิ าณต่าง ๆ

6. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ
มีเกณฑท์ แี่ น่นอนและใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย

3.1.2 ทกั ษะ/กระบวนการ
1. ทกั ษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการทำงานกลุ่มและมคี วามสามคั คีในกลุม่ )
2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ (นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์เกีย่ วกบั การเลือกเครื่องมือและคดิ หาวิธีการท่ีใช้
ในการเปรยี บเทยี บปรมิ าณน้ำได้เหมาะสม)
3. ทักษะการให้เหตุผล (นักเรียนสามารถให้เหตุผลการเลือกเครื่องมือเพื่อใช้เปรียบเทียบปริมาณน้ำ
ได)้
4. ทักษะการเชื่อมโยง (นักเรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้เดมิ เกีย่ วกับการเปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ มาใช้
ในการเปรียบเทยี บปริมาณน้ำได้)
5. ทักษะการนำเสนอ (นักเรียนสามารถนำเสนอแนวคิดในการเปรียบเทยี บปริมาณนำ้ ได้)
6. ทกั ษะการส่อื สาร (นักเรียนสามารถสอื่ สารและต้ังคำถาม เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจท่ีตรงกันได้)
3.1.3 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีความรับผิดชอบและมวี นิ ัยในการทำงาน
2. นกั เรียนเกิดการยอมรบั และรับฟังในความคดิ เห็นของคนอ่นื
3. มีความกลา้ แสดงออก
4. การปฏบิ ัตติ ามกติกาและข้อตกลงในชนั้ เรยี น

3.2 คำสำคัญในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด ธรรมชาติการคิดหรือกระบวนการเรียนรู้ของ
นักเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ก่อนหน้านี้ หรือจากชั้นเรียนก่อนหน้านี้ หรือจากประสบการณ์ใน
ชีวิตประจำวันของนักเรียนที่ครูรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่กำหนดในข้อ 3.1 เพื่อใช้ในการพิจารณาภาษาที่จะกำหนด “คำสำคัญ” (Key words) ใน
สถานการณป์ ญั หาปลายเปิด

การเปรียบเทียบปรมิ าณนำ้ แบง่ ออกเปน็
การเปรียบเทียบโดยตรง (direct comparison activity) หมายถึง กิจกรรมการนำสิ่งของ สองสิ่งที่
ต้องการเปรียบเทียบกันมาวางทาบหรือทับหรือเทียบหรือชนกันโดยมีจุดเริ่มต้นเดียวกัน ทำให้เห็นความต่าง
(difference) ที่ชัดเจน แล้วทำให้ทราบว่าสิ่งใดยาวหรือสั้น ใหญ่หรือเล็ก มากหรือน้อย ทั้งนี้การทำให้เห็น
ความต่างมคี วามหมายเดยี วกนั กับการลบ (subtraction)
การเปรียบเทียบโดยอ้อม (indirect comparison activity) หมายถึง กิจกรรมการหาความต่างของ
ส่ิงของสองสงิ่ โดยใชเ้ ครื่องมือมาช่วยเพ่อื การเปรียบเทียบ

3.3 สถานการณป์ ญั หาในรูปคำสั่งทช่ี ัดเจนและนกั เรียนเข้าใจไดง้ ่ายๆ

ลิขสิทธิ์ของศนู ยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศูนยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

4

สถานการณป์ ัญหา : มนี ำ้ หวาน 2 ขวดราคาเทา่ กนั ครคู วรซือ้ นำ้ ขวดใด จงึ จะไดป้ ริมาณที่มากกว่า
คำสัง่ : 1. ลองคาดคะเนวา่ น้ำขวดใดมปี รมิ าณน้ำเยอะกว่ากัน เพราะอะไร

2. ลองคดิ เกี่ยวกับวธิ กี ารเปรียบเทยี บปริมาณน้ำให้ไดห้ ลากหลายวิธีมากท่สี ดุ

3.4 การสรา้ งหรือออกแบบส่ือให้สัมพันธ์กบั คำส่ังในสถานการณป์ ัญหาปลายเปดิ โดยมสี ื่อหลักท่ี
ใช้ในการสรา้ งสถานการณป์ ญั หาปลายเปดิ และสื่อสง่ เสริมทจ่ี ะใชใ้ นขณะทนี่ กั เรยี นนำเสนอแนวคดิ ต่อชน้ั
เรยี น หรือในขณะทค่ี รูสรปุ บทเรียน

สื่อหลัก
- สถานการณป์ ญั หา คำส่ัง และใบกจิ กรรม
- ขวดน้ำ 2 ขวดทจ่ี นุ ้ำหวานสองชนดิ ที่มีปริมาณใกลเ้ คยี งกัน แตม่ รี ปู ร่างแตกตา่ งกัน
- ถาดรองน้ำ
สื่อเสรมิ
- แก้วน้ำพลาสติกใสหลากหลายขนาด
- เหยอื กนำ้ 2 ใบท่ีมีความจุมากกวา่ ขวดน้ำ
- ถว้ ยแกว้ หรอื ชามแก้ว 2 ใบท่ีมีความจมุ ากกว่าขวดนำ้
- ถังน้ำ 1 ใบ
- เทปสำหรบั ทำสัญลกั ษณ์
- แถบขอ้ ความสรปุ “แมจ้ ะเปลยี่ นรปู ทรงของภาชนะทีบ่ รรจุ แต่ปริมาณของนำ้ กย็ งั เท่าเดมิ ”

3.5 การกำหนดเวลาที่ใช้ในแตล่ ะคำสั่ง และการกำหนดคาบพร้อมกับเป้าหมายของบทเรียนของ
แตล่ ะคาบ

1. ข้นั นำเสนอสถานการณป์ ญั หา (5 นาที)
1) ครูกลา่ วทกั ทายนักเรียน จากนนั้ ครนู ำเสนอปากกา 2 แทง่ แล้วถามนักเรียนว่า “แท่งไหนยาวกว่า
กัน” และถามต่อว่า “เราจะรไู้ ด้อยา่ งไรว่าแท่งไหนยาวกว่า” (นำมาวางเทยี บกัน ให้ปลายดา้ นหน่ึงอยู่ตำแหน่ง
เท่ากันแล้วดูปลายอีกด้านหนึ่ง แท่งที่ยาวกว่าจะมีความยาวมากกว่า, ใช้เครื่องมือมาวัดความยาว เช่น ไม้
บรรทดั , นำบลอ็ กมาเรยี งตอ่ กันตามความยาวของปากกาแลว้ เปรยี บเทยี บความยาวจากบล็อก)
2) จากนั้นครูนำขวดน้ำ 2 ขวดที่มีปริมาณใกล้เคียงกัน แต่มีรูปร่างแตกต่างกัน มานำเสนอหน้าชั้น
เรียนแล้วถามวา่ “นักเรยี นเหน็ อะไรบา้ ง” (มีขวดน้ำ 2 ขวด, ขวดที่ 1 มนี ้ำสีแดง, ขวดที่ 2 มนี ้ำสเี ขยี ว, ท้ังสอง
ขวดมีรูปร่างตา่ งกัน) จากนนั้ ครูให้นักเรียนลองคาดคะเนดู วา่ ขวดใดมปี รมิ าณมากกว่ากัน
3. ครูนำเสนอเครื่องมือท่ีใช้ช่วยในการเปรียบเทียบปริมาณน้ำหวานในขวด ได้แก่ ถัง ถ้วยแก้วหรือ
ชามแก้ว เหยือกน้ำ แกว้ พลาสติกเล็ก พร้อมกับตดิ คำส่งั และให้นกั เรยี นอ่านพร้อมกัน 1 รอบ
4. ครูให้นักเรียนส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาเพื่อจับสลากเสี่ยงดวงว่าใครจะได้อุปกรณ์ในการ
เปรียบเทียบปรมิ าณแบบใดบา้ ง

ลขิ สิทธข์ิ องศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศูนย์วจิ ัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

5

5. ครูแจกอุปกรณ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบปริมาณให้แก่นักเรียนทุกกลุ่ม พร้อมทั้งใบกิจกรรมและ
ปากกาเมจกิ จากน้ันครูแจ้งเวลาในการทำกจิ กรรม

2. การเรียนร้ดู ้วยตนเองของนักเรยี น (20 นาท)ี
6. นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยให้นักเรียนช่วยกัน
เปรียบเทียบปริมาณน้ำสีแดงและน้ำสีเขียว พร้อมอธิบายเกี่ยวกับวิธีการเปรียบเทียบปริมาณน้ำให้ได้
หลากหลายวิธีทสี่ ุด
7. ในขณะที่นักเรียนลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนักเรียน สังเกตแนวคิดของนักเรียนว่าตอบสนอง
ต่อคำสง่ั หรือไม่ ถ้าหากพบความผดิ พลาดครูอาจกระตุ้นนักเรียนอีกคร้ังโดยให้ทบทวนสถานการณ์ปัญหา หรือ
ตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหาของกลุ่มตนเองอีกครั้ง และบันทึกแนวคิดของนักเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการ
จัดลำดับในการนำเสนอและอภิปรายแนวคิดในขั้นถดั ไป
3. ขนั้ อภิปรายและเปรยี บเทยี บแนวคดิ ทง้ั ชั้นเรยี น (15 นาท)ี
8. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแนวคิดการเปรียบเทียบปริมาณน้ำหน้าชั้นเรียน และให้
นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความเหมือนและความแตกต่างของแต่ละแนวคิด จากนั้นให้กลุ่มที่มีวธิ ี
คิดท่ีแตกตา่ งจากกล่มุ ทนี่ ำเสนอก่อนหนา้ ออกมานำเสนอต่อ พรอ้ มกระตนุ้ ให้นักเรยี นฟังและซักถามเพ่ือน
4. สรุปเพอื่ เชอ่ื มโยงแนวคิดของนกั เรียนที่เกดิ ขน้ึ ในชั้นเรยี น (10 นาที)
9. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั สรุปเชือ่ มโยงความร้ทู ไี่ ด้จากทำกิจกรรม ในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้
- วธิ ีการทน่ี ักเรียนใชใ้ นการเปรยี บเทยี บปริมาณนำ้
- ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของน้ำกับภาชนะท่ีบรรจุ (แม้จะเปลี่ยนรปู ทรงของภาชนะทีบ่ รรจุ แต่
ปรมิ าณของนำ้ กย็ งั เทา่ เดิม)

3.6 การคาดคะเนแนวคดิ ของนักเรยี นทจ่ี ะตอบสนองต่อคำสงั่ แตล่ ะคำสัง่
คำส่งั :
1. ลองคาดคะเนว่านำ้ ขวดใดมปี รมิ าณน้ำเยอะกว่ากนั เพราะอะไร

- เลอื กขวดสแี ดง เพราะ มีขนาดกว้างกว่า ขวดอว้ นกวา่
- เลือกขวดสีเขียว เพราะ สูงกว่า
2. ลองคดิ เกยี่ วกับวิธกี ารเปรียบเทียบปริมาณน้ำใหไ้ ดห้ ลากหลายวธิ มี ากทส่ี ดุ

- นักเรียนใช้วิธีการวางขวดน้ำทั้งสองขวดเทียบกัน
ซึ่งเป็นวิธีการเปรียบเทียบทางตรง เมื่อนักเรียนวาง
ขวดท้งั สองเทียบกนั แล้วจะพบว่าความสูงของขวดไม่
เท่ากัน และขนาดของขวดไม่เท่ากัน ซึ่งคำตอบของ
นักเรียนอาจจะบอกว่าขวดที่สูงกว่ามีปริมาณน้ำ
มากกว่าขวดที่เตี้ยกว่า หรือนักเรียนอาจจะบอกว่า
ขวดทีใ่ หญ่กวา่ มีปริมาณนำ้ มากกวา่ ขวดท่เี ล็กกวา่

ลิขสทิ ธ์ิของศนู ยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต ศูนยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

6

- นักเรียนเทน้ำจากขวดหนึ่งลงในอีกขวด เพ่ือ
พิจารณาความต่างจากขอบของน้ำซึ่งเป็นวิธีการ
เปรียบเทยี บทางตรง เนอื่ งจากใชภ้ าชนะท่เี ปน็ ขวดท่ี
1 เป็นตัวเปรียบเทียบน้ำส้มในขวดว่าน้ำในขวดใดมี
มากกวา่

- นักเรียนเทน้ำจากขวดที่ 1 ลงในภาชนะที่มีความจุ
มากกวา่ ได้แก่ โถตวง กระบอกนำ้ ขวดใสขนาดใหญ่
แล้วขีดเส้นขอบหรือวัดความสูงด้วยไม้บรรทัดเพ่ือ
แสดงปริมาณน้ำในภาชนะแรกและเทน้ำจากขวดที่
2 ลงในภาชนะแบบเดียวกัน เพื่อดูว่าระดับน้ำใน
ขวดที่ 2 อยู่ต่ำหรอื สงู กว่า ซึง่ เปน็ วธิ กี ารเปรียบเทยี บ
ทางอ้อม โดยใช้ภาชนะอื่นเป็นตัวเปรียบเทียบ
ปริมาณไมใ่ ชข่ วดน้ำทงั้ สองขวด

- นักเรียนเทน้ำจากแต่ละขวด ลงในภาชนะรูปทรง
เดียวกันที่มีความจุมากกว่าคนละใบ ได้แก่ โถตวง
กระบอกน้ำ ขวดใสขนาดใหญ่ แล้วนำมาวาง
เปรียบเทียบปริมาณ เพื่อดูระดับความสูงของน้ำ ซึ่ง
เป็นวิธีการเปรียบเทียบทางอ้อม โดยใช้ถ้วยภาชนะ
อื่นเป็นตัวเปรียบเทียบปริมาณไม่ใช่ขวดน้ำทั้งสอง
ขวด

- นักเรียนเทขวดน้ำแต่ละขวดลงในแก้วใสที่มีขนาด
เท่ากนั เพอื่ ดูว่าแต่ละขวด เมอื่ นำไปเทใสแ่ กว้ ใสแล้ว
ขวดใดได้จำนวนแก้วมากกว่านั้นคือมีปริมาณน้ำ
มากกว่า ซึ่งจำนวนแก้วน้ำที่มีขนาดเท่ากันนี้ถือว่า
เป็น หน่วยวัดที่ไม่เป็นมาตรฐานที่นักเรียนใช้เป็น
เกณฑ์ในการหาปริมาณน้ำว่าขวดใดมีปริมาณ
มากกวา่ กนั

4. การจัดลำดับการนำเสนอแนวคิดของนกั เรยี นเพื่อให้เกิดการเช่ือมโยงทั้งแนวคดิ และความคดิ รวบยอด
ทางคณติ ศาสตรแ์ ละอน่ื ๆ ของบทเรยี นในแต่ละคาบ

- ใชก้ ารวางขวดนำ้ หวาน 2 ขวด เทยี บกนั (เปรียบเทยี บทางตรง)

ลิขสทิ ธขิ์ องศนู ย์วจิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศนู ย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

7

- ใชภ้ าชนะอืน่ ๆ มาใช้ในการเปรยี บเทยี บ (เปรยี บเทยี บโดยอ้อม)

5. ประเดน็ ทีจ่ ะใชใ้ นการร่วมอภปิ รายในชั้นเรยี นเพอื่ ใหน้ ักเรยี นบรรลุเป้าหมายของบทเรยี นในแต่ละคาบ
- การคาดคะเนปริมาณน้ำ
- ภาชนะที่นักเรยี นใช้ในการเปรยี บเทยี บ
- วธิ กี ารท่นี ักเรียนใช้ในการเปรียบเทียบ
- ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปริมาณของน้ำกับภาชนะทีบ่ รรจุ

6. การวดั และประเมนิ ผล

สง่ิ ทตี่ ้องการวดั วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการวดั
- การทำกิจกรรม
ด้านความรู้ (K) สังเกตจาก - ใบกิจกรรม

นักเรียนสามารถแสดงวิธีการเปรียบเทียบ - การตอบคำถาม - ใบกจิ กรรม

ปริมาณของเหลวได้ - การร่วมกจิ กรรม

- การทำ/ตรวจใบงาน

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) สงั เกตจาก

1. ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (นักเรียน - การทำกิจกรรมกลุ่ม

มีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่มและมีความ - การแกส้ ถานการณ์ปญั หา

สามัคคใี นกลุม่ ) - การนำเสนอแนวคิดหน้าชั้น

2. ทักษะการคิดวิเคราะห์ (นักเรียนสามารถ เรียน
วิเคราะห์เกี่ยวกบั การเลือกเคร่ืองมอื และคิด - การแสดงความคิดเหน็ หรือต้ัง
หาวิธีการที่ใช้ในการเปรยี บเทียบปริมาณนำ้ คำถาม
ได้เหมาะสม)

3. ทักษะการให้เหตุผล (นักเรียนสามารถให้

เหตุผล การเลือกเ ครื ่ อง มื อเ พื ่ อ ใ ช้

เปรยี บเทียบปริมาณน้ำได้)

4. ทักษะการเชื่อมโยง (นักเรียนสามารถ

เชื่อมโยงความรู้เดิมเกี่ยวกับการ

เปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ มาใช้ในการ

เปรยี บเทยี บปรมิ าณน้ำได)้

ลขิ สทิ ธิข์ องศูนยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศนู ยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

8

9

ตวั อย่างใบกจิ กรรม

ลขิ สทิ ธิ์ของศนู ย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ศนู ย์วิจยั คณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

10

แผนการจดั การเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ในโครงการพฒั นาวชิ าชพี ครคู ณิตศาสตร์ ดว้ ยนวตั กรรมศึกษาช้นั เรียน (Lesson Study)

และวิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3
โรงเรียนขจรเกยี รตถิ ลาง สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจงั หวัดภูเก็ต

กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ สาระการเรยี นรู้ ขนาดและการวัด หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7

เรือ่ ง ปรมิ าณนำ้ หนา้ 85 กิจกรรมเร่อื ง มนี ้ำอยู่เทา่ ไร

คาบท่ี 2/6 จำนวน 50 นาที วันท่ี 1 มีนาคม 2564

ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 โรงเรยี น ขจรเกียรติถลาง

ชือ่ ผรู้ ่วมสร้างแผน

1.นางบุปผา แสงศรี รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นขจรเกยี รติถลาง

2.นางสาวธิดารตั น์ โสตะกลุ หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์

3. นางสาวณัฐธดิ า มะอนนั ต์ ครปู ระจำวชิ าคณิตศาสตร์ ป.3

4. นางสาวกมลชนก จา่ ภา นักศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา

5. นางสาวนันวรรณ คำภรี ะ นักศึกษาฝึกปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

ชื่อผบู้ นั ทึก นางสาวกมลชนก จา่ ภา

ชื่อผสู้ อน นางสาวกมลชนก จ่าภา

1. เป้าหมายของบทเรียนระดับหนว่ ยการเรยี นรู้และเป้าหมายของบทเรียนในแตล่ ะคาบในหนว่ ยการเรียนรู้
น้นั (Aim of the Lesson)

เปา้ หมายของบทเรยี นระดบั หนว่ ยการเรียนรู้
1) นักเรียนสามารถแสดงวธิ กี ารเปรียบเทียบปริมาณของน้ำได้
2) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของหน่วยแสดงปริมาณที่เรียกว่า “ลิตร” และสามารถเขียน
สญั ลกั ษณแ์ สดงหนว่ ยแสดงปรมิ าณ “ลติ ร” ได้
3) นกั เรยี นสามารถวัดปรมิ าณของนำ้ ทีม่ ีปริมาณน้อยกวา่ 1 l (ลติ ร) ได้
4) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของเดซิลิตร (10 เดซิลติ ร เป็น 1 ลิตร) ได้
5) นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจความสมั พันธก์ ารวดั ปรมิ าณของนำ้ ท่อี ยู่ในภาชนะ โดยใชถ้ ว้ ยตวง 1 l (ลิตร)
และ 1 dl (เดซิลติ ร) ได้
6) นักเรียนสามารถสร้างถว้ ยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้
7) นกั เรยี นสามารถคำนวณหาปริมาณของน้ำได้
8) นกั เรียนสามารถบอกปริมาณบรรจุของภาชนะต่าง ๆ ได้
9) นกั เรียนสามารถเขา้ ใจความหมายของหน่วยแสดงปริมาณทีเ่ รยี กว่า “มลิ ลลิ ติ ร” และสามารถเขียน
สัญลักษณ์แสดงหน่วยแสดงปรมิ าณ “มิลลลิ ิตร” ได้

ลขิ สิทธ์ขิ องศนู ย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไม่ได้รบั อนุญาต ศูนยว์ ิจยั คณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

11

10) นกั เรียนสามารถเปลี่ยนหนว่ ยวดั ปรมิ าณน้ำได้
11) นักเรียนสามารถแกส้ ถานการณป์ ญั หาเก่ยี วกบั ปริมาณนำ้ ได้
เป้าหมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหน่วยการเรยี นรนู้ ั้น (คาบท่ี 2/6)
1) นกั เรยี นสามารถเข้าใจความหมายของหนว่ ยแสดงปรมิ าณทีเ่ รียกวา่ “ลิตร” และสามารถเขียน
แสดงปริมาณนำ้ ในหนว่ ยลิตรได้
2) นกั เรียนสามารถวัดปริมาณของนำ้ ที่อยู่ในภาชนะ โดยทม่ี ปี รมิ าณเปน็ หน่วยเตม็ ลติ รได้

2. ลำดับกจิ กรรมการสอน ใหแ้ บง่ เน้ือหาสาระในคาบทจ่ี ะสอนออกเปน็ กิจกรรมย่อย ๆ ในแตล่ ะช่วง
เพ่ือให้ได้ความรู้ ความคดิ รวบยอด แนวคดิ วธิ กี าร ฯลฯ ท่เี ปน็ ขอ้ ความรู้ส่วนย่อย ๆ เมอ่ื ครบคาบเรยี น
แลว้ จะไดต้ ามจุดประสงค์ของคาบเรียนนนั้

การแสดงแทนโลกจรงิ ของนกั เรยี น
- ปรมิ าณนำ้ ในขวดพลาสติก และปรมิ าณนำ้ ในกระปุก
สื่อก่ึงรปู ธรรม
- ถว้ ยตวงน้ำ 1 ลติ ร
การแสดงแทนโลกคณติ ศาสตร์
- การวดั และแสดงปริมาณนำ้ ทม่ี หี น่วยเป็นลติ ร

3. ขั้นตอนการสรา้ งสถานการณ์ปัญหาปลายเปดิ
3.1 เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ต้องการจะเน้นใน

สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดของหน่วยการเรียนรู้นี้ (พิจารณาเปรียบเทียบระหว่างหนังสือเรียน
คณิตศาสตรไ์ ทย กบั หนังสอื เรียนคณติ ศาสตรญ์ ปี่ ุน่ )

3.1.1 เนื้อหาสาระ
1. ถ้วยตวง (measuring cup) หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการตวงของเหลวหรือของแข็งที่มีอนุภาค
ขนาดเล็ก บริเวณปากภาชนะจะบากเป็นร่องเพ่ือให้เทของเหลวหรือของแห้งออกมาได้สะดวก และด้านข้างจะ
มีเคร่ืองหมายบอกปริมาณของเหลวหรือของแหง้ ท่ีบรรจอุ ยู่
2. ถ้วยลติ ร (cup of liter) หมายถงึ ถว้ ยตวงที่ใชเ้ รียกแทนหน่วยลติ รในการวัดปรมิ าตรน้ำ 1 ลิตร

3. คิดเกี่ยวกับวิธีการแสดงปริมาณน้ำ (think about how to express amount of water)
หมายถงึ การหาวธิ กี ารในการแสดงปริมาณน้ำโดยเริม่ จากหนว่ ยวดั พ้ืนฐานไปสู่การใชห้ นว่ ยวัดมาตรฐาน

ลิขสทิ ธข์ิ องศูนยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ศูนยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

12

4. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ
มีเกณฑท์ ่แี น่นอนและใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย ตวั อยา่ งเชน่ ระบบเมตรกิ ที่เปน็ หน่วย ลิตร เดซิลติ ร เปน็ ตน้

5. ลติ ร เป็นชอื่ หน่วยมาตราตวงตามวธิ เี มตรกิ มีค่าเท่ากับ 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
6. หนว่ ยไมเ่ จาะจง (arbitrary unit) หมายถึง หน่วยท่ีใช้ในการวัดปริมาณต่าง ๆ ทผ่ี ู้ใชก้ ำหนดขึ้นมา
หรอื หน่วยทผี่ ูใ้ ชก้ ำหนดขึ้นมาเองเพ่ือใช้ในการวัดปรมิ าณตา่ ง ๆ
7. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ
มเี กณฑท์ ่ีแน่นอนและใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลาย
3.1.2 ทักษะ/กระบวนการ
1. ทักษะกระบวนการทำงานกลมุ่ (นักเรียนมสี ่วนร่วมในการทำงานกลุ่มและมีความสามัคคใี นกล่มุ )
2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ (นักเรียนสามารถวิเคราะห์เกย่ี วกับวธิ กี ารวัดปรมิ าณนำ้ )
3. ทกั ษะการเชอื่ มโยง (นกั เรียนสามารถเชอ่ื มโยงความร้เู ดิมมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา)
4. ทักษะการนำเสนอ (นกั เรียนสามารถนำเสนอแนวคดิ ในการวดั ปริมาณน้ำ)
5. ทักษะการสอ่ื สาร (นักเรียนสามารถส่อื สารและตั้งคำถาม เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจที่ตรงกนั ได้
3.1.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. มคี วามรับผดิ ชอบและมวี ินัยในการทำงาน
2. นักเรยี นเกดิ การยอมรบั และรบั ฟงั ในความคดิ เหน็ ของคนอนื่
3. มคี วามกลา้ แสดงออก
4. การปฏิบัตติ ามกติกาและข้อตกลงในชัน้ เรียน

3.2 คำสำคัญในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด ธรรมชาติการคิดหรือกระบวนการเรียนรู้ของ
นักเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ก่อนหน้านี้ หรือจากชั้นเรียนก่อนหน้านี้ หรือจากประสบการณ์ใน
ชีวิตประจำวันของนักเรียนทีค่ รูรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ เน้ือหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ที่กำหนดในข้อ 3.1 เพื่อใช้ในการพิจารณาภาษาที่จะกำหนด “คำสำคัญ” (Key words) ใน
สถานการณป์ ญั หาปลายเปิด

1. ถว้ ยลิตร (cup of liter) หมายถงึ ถ้วยตวงท่ีใช้เรียกแทนหนว่ ยลิตรในการวัดปริมาณนำ้ 1 ลิตร
2. หนว่ ยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวดั ท่บี ัญญตั ิให้ใชร้ ว่ มกันซ่งึ มคี วามแม่นยา
มีเกณฑท์ ่แี น่นอนและใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย ตัวอย่างเช่น ระบบเมตรกิ ท่เี ปน็ หนว่ ย ลติ ร เดซิลิตร เป็นตน้
3. ลิตร เปน็ ชอ่ื หนว่ ยมาตราตวงตามวิธเี มตริก มีคา่ เท่ากับ 1000 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

3.3 สถานการณป์ ัญหาในรปู คำสัง่ ท่ีชัดเจนและนักเรยี นเข้าใจไดง้ ่ายๆ
สถานการณ์ปัญหาท่ี 1 : มาสรา้ งถ้วยตวง 1 ลิตร กันเถอะ
คำสั่ง : ใหน้ ักเรียนสร้างถ้วยตวงที่มีขนาด 1 ลติ ร จากอปุ กรณ์ท่ีให้ พร้อมทง้ั เขียนวธิ ีในการสรา้ ง

ลขิ สิทธิ์ของศนู ยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต ศนู ยว์ ิจัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

13

สถานการณ์ปัญหาที่ 2 : คุณครูมีภาชนะที่บรรจุน้ำอยู่ ได้แก่ กระปุกพลาสติกและขวดพลาสติก ครู
อยากทราบปรมิ าณนำ้ ในภาชนะทัง้ สอง

คำสั่ง : ให้นักเรยี นวัดปริมาณน้ำในภาชนะตอ่ ไปน้ีด้วยถ้วยตวง 1 ลิตร ที่สร้างข้ึนเองแล้วบอกวา่ มนี ้ำ
อย่เู ทา่ ไร

3.4 การสรา้ งหรือออกแบบสื่อให้สัมพนั ธ์กับคำส่งั ในสถานการณ์ปญั หาปลายเปิด โดยมสี ่ือหลักท่ี
ใชใ้ นการสรา้ งสถานการณป์ ัญหาปลายเปิด และส่ือสง่ เสรมิ ทจ่ี ะใช้ในขณะท่ีนกั เรยี นนำเสนอแนวคิดตอ่ ชั้น
เรยี น หรือในขณะที่ครสู รุปบทเรยี น

สื่อหลัก
- สถานการณ์ปัญหา คำส่งั และใบกิจกรรม
- กระปุกพลาสติกบรรจนุ ำ้ 2 ลติ ร
- ขวดพลาสติกบรรจุนำ้ 2 ลติ ร
- ถว้ ยตวงมาตรฐานขนาด 1 ลิตร
ส่ือเสรมิ
- อุปกรณ์ในการสร้างถว้ ยตวง ไดแ้ ก่ ขวดพลาสตกิ (ที่ครูเตรยี มมาใหก้ ลุ่มละ 1 ขวด) กรรไกร ปากกา
เมจิก
- แถบขอ้ ความ “มีหน่วยที่เรียกว่า ลิตร เพ่ือแสดงปรมิ าณน้ำ”
- แถบข้อความ “1 ลิตร สามารถเขยี นแทนดว้ ย 1 l”

3.5 การกำหนดเวลาที่ใช้ในแต่ละคำสั่ง และการกำหนดคาบพร้อมกับเป้าหมายของบทเรียนของ
แต่ละคาบ
ชว่ งท่ี 1 (25 นาที)

1. ข้นั นำเสนอสถานการณ์ปญั หา (5 นาท)ี
1) ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนกิจกรรมในคาบเรียนที่ผ่านมาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ
ปริมาณน้ำ โดยที่ “ปริมาณของน้ำจะคงท่ี แมจ้ ะเปล่ียนภาชนะทบ่ี รรจุ”

ลิขสทิ ธ์ิของศนู ยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

14

2) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเปรียบเทียบปริมาณน้ำ โดยใช้หน่วยวัดพื้นฐาน แล้วถาม
นกั เรยี นวา่ รู้จกั หนว่ ยวัดพื้นฐานหรือไม่ ถา้ รจู้ กั มีอะไรบ้าง จากนัน้ เช่ือมโยงเข้าสหู่ น่วยลติ ร

3) ครูนำเสนอ ถ้วยตวงซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดปริมาณน้ำ และถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่าถ้วย
ตวงน้ีจุนำ้ ได้ปริมาณเท่าไร” จากนน้ั ร่วมกนั อภิปรายเกีย่ วกบั ปรมิ าณนำ้ 1 ลิตร

4) ครูติดแถบข้อความ “มีหน่วยที่เรียกว่า ลิตร เพื่อแสดงปริมาณน้ำ” และ “1 ลิตร สามารถเขียน
แทนดว้ ย 1 l” จากนน้ั ใหน้ กั เรียนอ่านพรอ้ มกันทั้งชั้นเรยี น 1 รอบ

5) ครูนำเสนอกิจกรรมและคำสั่งบนกระดาน “ให้นักเรียนสร้างถ้วยตวงขนาด 1 l” พร้อมกับแจก
อปุ กรณ์ จากนนั้ ครูแจ้งเวลาในการทำกจิ กรรม

2. การเรียนรดู้ ้วยตนเองของนกั เรียน (10 นาท)ี
6) นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือแก้ปัญหาเพื่อสร้างถ้วยตวงขนาด 1 l จากขวดพลาสติก โดยครูคอย
กระตุ้นให้นักเรียนทำกิจกรรมร่วมกนั และสำรวจแนวคิดในสร้างถว้ ยตวงของนกั เรียน
3. ข้นั อภิปรายและเปรียบเทียบแนวคิดทง้ั ชน้ั เรียน (5 นาท)ี
7) นักเรยี นแต่ละกลุม่ ออกมานำเสนอแนวคิดการสร้างถว้ ยตวงขนาด 1 l แล้วนักเรยี นในชน้ั รว่ มกัน
อภปิ รายความเหมือนและต่างของแตล่ ะแนวคิด
4. สรุปเพื่อเช่ือมโยงแนวคิดของนักเรยี นท่เี กิดข้ึนในชัน้ เรียน (5 นาท)ี
8) ครูใหน้ ักเรียนรว่ มกนั สรุปในประเด็น

- วธิ ีการสร้างถว้ ยตวงขนาด 1 ลิตร

ชว่ งท่ี 2 (25 นาท)ี
1. ขั้นนำเสนอสถานการณ์ปญั หา (5 นาท)ี
1) ครูนำเสนอสถานการณ์ปัญหาที่ 2 โดยนำขวดพลาสติกและกระปุกพลาสติกทใี่ ส่น้ำมาให้นักเรียนดู

และทายว่ามปี รมิ าณนำ้ อยกู่ ีล่ ติ ร
2) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาเพื่อจับสลากปริมาณน้ำทีต่ นเองจะได้รับ (ขวดพลาสติก

หรอื กระปกุ พลาสตกิ )
3) ครูติดสถานการณ์ปัญหาที่ 2 และคำสั่งบนกระดาน แล้วให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน พร้อมท้ัง

ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน
4) ครูกำหนดเวลาในการทำกิจกรรม จากนั้นแจกใบกิจกรรมและอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมให้กับ

นักเรยี นแต่ละกลุม่ เพอื่ ลงมือทำกจิ กรรม
2. การเรียนรดู้ ้วยตนเองของนกั เรยี น (10 นาที)
5) นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยใช้ขวดตวงขนาด 1

ลิตร ที่นกั เรียนสร้างไว้ในช่วงแรก ซง่ึ ใช้หน่วยมาตรฐาน คือ “ลติ ร” ในการเปรยี บเทยี บปรมิ าณนำ้
6) ในขณะที่นักเรียนลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนักเรียน สังเกตแนวคิดของนักเรียนวา่ ตอบสนอง

ตอ่ คำสง่ั หรอื ไม่ ถ้าหากพบความผดิ พลาดครูอาจกระตุ้นนกั เรยี นอีกครั้งโดยให้ทบทวนสถานการณป์ ัญหา หรือ

ลิขสิทธิ์ของศูนยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ศนู ย์วจิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

15

ตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหาของกลุ่มตนเองอีกครั้ง และบันทึกแนวคิดของนักเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการ
จดั ลำดบั ในการนำเสนอและอภิปรายแนวคิดในขนั้ ถดั ไป

3. ขั้นอภปิ รายและเปรียบเทยี บแนวคดิ ทงั้ ชน้ั เรียน (5 นาที)
7) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการวัดปริมาณน้ำ โดยใช้หน่วยมาตรฐาน
คือ “ลิตร” และให้นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความเหมือนและความแตกต่างของแต่ละแนวคิด
จากนั้นให้กลุ่มที่มีวิธีคดิ ที่แตกต่างจากกลุ่มที่นำเสนอก่อนหน้าออกมานำเสนอต่อ พร้อมกระตุ้นให้นกั เรียนฟงั
และซักถามเพ่อื น
4. สรุปเพอื่ เช่ือมโยงแนวคิดของนกั เรียนที่เกิดขนึ้ ในชั้นเรียน (5 นาที)
8) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันวัดปรมิ าณน้ำอกี คร้งั เพ่ือสรปุ ปริมาณนำ้ ในภาชนะแตล่ ะอัน
9) ครูให้นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ในประเดน็

- วิธีการวัดปรมิ าณนำ้ โดยการใชข้ วดตวงขนาด 1 ลิตร
- การบอกปรมิ าณน้ำโดยใช้หน่วยลิตร

3.6 การคาดคะเนแนวคิดของนกั เรียนที่จะตอบสนองต่อคำสัง่ แตล่ ะคำสั่ง
สถานการณ์ปัญหาท่ี 1 : มาสรา้ งถ้วยตวง 1 ลติ ร กันเถอะ
คำส่ัง : ใหน้ กั เรยี นสร้างถ้วยตวงท่ีมีขนาด 1 ลิตร จากอุปกรณท์ ใี่ ห้ พร้อมทัง้ เขียนวิธีในการสร้าง
แนวคดิ

- นำขวดพลาสติกมาเทียบกับขีดถ้วยตวงมาตรฐานที่บอกปรมิ าณ 1 ลติ ร ซง่ึ ถ้าตวงน้ำแล้วจะ

ไม่ได้ 1 ลิตรพอดี
- ตวงน้ำในถ้วยตวงมาตรฐาน 1 ลิตร แล้วเทใส่ในขวดน้ำเปล่า แล้วใช้ปากกาเมจิกขีดไว้

หลงั จากนัน้ จงึ ตัดขวดนำ้ เพอื่ ให้พอดีกบั 1 ลิตร
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 : คุณครูมีภาชนะที่บรรจุน้ำอยู่ ได้แก่ กระปุกพลาสติกและขวดพลาสติก ครู

อยากทราบปริมาณน้ำในภาชนะทั้งสอง
คำสั่ง : ให้นักเรยี นวัดปรมิ าณน้ำในภาชนะต่อไปน้ีด้วยถว้ ยตวง 1 ลิตร ที่สร้างข้ึนเองแล้วบอกว่ามนี ้ำ

อยเู่ ทา่ ไร
แนวคิด
1. กระปุกพลาสตกิ ท่ี 1
- นกั เรียนเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 ลติ ร แล้ววดั ปรมิ าณได้ 2 ลิตร
- นักเรยี นเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 ลิตร แล้ววดั ปรมิ าณไดไ้ ม่พอดี อาจขาดหรือเกิน 2 ลิตร
2. กรปกุ พลาสติกท่ี 2

- นกั เรียนเทน้ำลงในขวดตวงขนาด 1 ลติ ร แลว้ วดั ปริมาณได้ 2 ลติ ร
- นักเรยี นเทน้ำลงในขวดตวงขนาด 1 ลิตร แล้ววดั ปริมาณไดไ้ ม่พอดี อาจขาดหรือเกนิ 2 ลิตร

ลขิ สทิ ธ์ิของศนู ยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ศนู ย์วจิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

16

4. การจดั ลำดับการนำเสนอแนวคิดของนักเรยี นเพ่ือให้เกดิ การเชอื่ มโยงทัง้ แนวคดิ และความคิดรวบยอด
ทางคณิตศาสตรแ์ ละอืน่ ๆ ของบทเรียนในแต่ละคาบ

การจัดลำดับการนำเสนอแนวคิดของนักเรียนเริ่มจากกลุ่มที่มีแนวคิดการแสดงวิธีการวัดปริมาณของ
น้ำคลาดเคลื่อนมากที่สุดไปยังกลุ่มที่แนวคิดการแสดงวิธีการวัดปริมาณของน้ำมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด
หรอื มคี วามถกู ตอ้ งชัดเจน โดยเรียงลำดับประเดน็ ดงั น้ี

- วิธีการวดั ปรมิ าณนำ้
- ปรมิ าณของน้ำทว่ี ัดได้และการเขยี นแสดงปริมาณนำ้

5. ประเดน็ ท่จี ะใช้ในการรว่ มอภิปรายในชน้ั เรียนเพือ่ ใหน้ ักเรยี นบรรลเุ ปา้ หมายของบทเรยี นในแตล่ ะคาบ
- วธิ ีการปรมิ าณนำ้
- การเขียนแสดงปริมาณน้ำ

6. การวดั และประเมนิ ผล

สง่ิ ท่ีต้องการวัด วธิ กี ารวดั เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวัด
- การทำกจิ กรรม
ดา้ นความรู้ (K) สงั เกตจาก - ใบกจิ กรรม

1) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของ - การตอบคำถาม - ใบกิจกรรม

หน่วยแสดงปริมาณที่เรียกว่า “ลิตร” และ - การร่วมกจิ กรรม
สามารถเขียนแสดงปริมาณน้ำในหน่วยลิตร - การทำ/ตรวจใบงาน
ได้

2) นักเรียนสามารถวัดปริมาณของน้ำที่อยู่

ในภาชนะ โดยที่มีปริมาณเป็นหน่วยเต็ม

ลติ รได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) สงั เกตจาก

1. ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (นักเรียน - การทำกิจกรรมกลุม่

มีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่มและมีความ - การแก้สถานการณ์ปญั หา

สามัคคใี นกลมุ่ ) - การนำเสนอแนวคิดหนา้ ช้ัน

2. ทักษะการคิดวิเคราะห์ (นักเรียนสามารถ เรียน
วิเคราะห์เกย่ี วกับวธิ กี ารวดั ปริมาณน้ำ) - การแสดงความคดิ เหน็ หรือตงั้
3. ทักษะการเชื่อมโยง (นักเรียนสามารถ คำถาม
เชือ่ มโยงความรูเ้ ดมิ มาใช้ในการแก้ปญั หา)

4. ทักษะการนำเสนอ (นักเรียนสามารถ

นำเสนอแนวคิดในการวดั ปริมาณน้ำ)

ลิขสิทธข์ิ องศูนย์วจิ ัยคณิตศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพร่โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ศูนยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

17

สิ่งท่ีต้องการวดั วธิ กี ารวัด เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวดั

5. ทักษะการสื่อสาร (นักเรียนสามารถ

สอื่ สารและตัง้ คำถาม เพ่อื ใหเ้ กิดความเข้าใจ

ที่ตรงกนั ได้

ด้านเจตคติ (A) สงั เกตจาก -

1. มีความรับผิดชอบและมีวินัยในการ - ความสนใจในการทำกิจกรรม

ทำงาน - การมีส่วนร่วม ในการทำงาน

2. นักเรียนเกิดการยอมรับและรับฟังใน กลุม่

ความคดิ เหน็ ของคนอื่น - การแสดงออกทางพฤติกรรม

3. มคี วามกล้าแสดงออก ขณะทำกิจกรรม

4. การปฏิบัติตามกติกาและข้อตกลงในช้ัน

เรยี น

ลขิ สิทธิข์ องศูนย์วจิ ัยคณิตศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศนู ยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

18

ตวั อยา่

ป. 3 หอ้ ง...................... ..
1. ชื่อเล่น.................................. 2. ชอ่ื เล่น..................................
3. ช่ือเล่น.................................. 4. ช่ือเลน่ ..................................
5. ช่ือเล่น..................................

คาสั่ง : ให้นักเรยี นสรา้ งถ้วยตวงทม่ี ขี นาด 1 ลติ ร จากอุปกรณ์ทีใ่ ห้ พร้อมทง้ั เขยี นวธิ ีในการสรา้

ลขิ สทิ ธิ์ของศนู ย์วจิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพร่โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต ศนู ย์วิจยั คณติ ศาสตรศกึ ษา

19

างใบกจิ กรรม

2

คุณครมู ีภาชนะทบี่ รรจนุ ำ้ อยู่ ได้แก่ กระปุกพลาสตกิ และขวดพลาสตกิ ครอู ยากทราบปรมิ าณน้ำ
ในภาชนะทั้งสอง

กระปุกที่ 1
าง

กระปุกท่ี 2

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

หน่วยที่ 7
คาบท่ี 26 กจิ กรร

ปรมิ าณน้า 20
รม มีนา้ อย่เู ท่าไร

- วิธกี ารวัดนา้
-การเขียนแสดงแทน

แผนการจดั การเรยี นรู้ (ฉบบั ยอ่ ) ลำด
วชิ าคณติ ศาสตร์ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 (Flo
1.
ชอ่ื ครูผ้สู อน: นางสาวกมลชนก จา่ ภา วนั ที่ 1 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2563
ชือ่ โรงเรียน: โรงเรยี นขจรเกยี รติถลาง เวลา 08.20 – 09.05 น. 2.

ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ : ปรมิ าณนำ้ ช่อื แผน: มีน้ำอยู่เทา่ ไร 3.
นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 จำนวน 25 คน แผนที่ 2/6 จำนวน 1 คาบ Mat

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ของหนว่ ยการเรียนร:ู้ สาระสำคัญของแผน (Concept/ Main Ideas): โจท
1) นกั เรียนสามารถแสดงวธิ กี ารเปรยี บเทยี บปริมาณของน้ำได้ 1. ถว้ ยตวง (measuring cup) สถา
2) นกั เรยี นสามารถเข้าใจความหมายของหน่วยแสดงปรมิ าณท่ี 2. ถ้วยลติ ร (cup of liter) 1 ลิต
เรียกว่า “ลติ ร” และสามารถเขยี นสญั ลกั ษณแ์ สดงหนว่ ยแสดง 3. คิดเกย่ี วกบั วธิ กี ารแสดงปรมิ าณน้ำ (think about how to สถา
ปริมาณ “ลิตร” ได้ express amount of water) กระ
3) นกั เรียนสามารถวัดปรมิ าณของน้ำทม่ี ปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ 1 l 4. หนว่ ยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หนว่ ยการวดั ท่ี ภาช
(ลิตร) ได้ บัญญตั ิให้ใช้ร่วมกนั ซึง่ มีความแมน่ ยำ มีเกณฑท์ ีแ่ นน่ อนและใช้ ดว้ ย
4) นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของเดซิลติ ร (10 เดซลิ ิตร กนั อย่างแพรห่ ลาย
เป็น 1 ลติ ร) ได้ 5. ลติ ร เปน็ ชื่อหน่วยมาตราตวงตามวธิ เี มตรกิ การ
5) นกั เรียนสามารถเข้าใจความสมั พนั ธ์การวดั ปรมิ าณของน้ำทอี่ ยู่ 6. หนว่ ยไมเ่ จาะจง (arbitrary unit) หมายถงึ หนว่ ยทใี่ ชใ้ น สถา
ในภาชนะ โดยใชถ้ ว้ ยตวง 1 l (ลิตร) และ 1 dl (เดซิลิตร) ได้ การวดั ปริมาณตา่ ง ๆ ทผ่ี ้ใู ชก้ ำหนดขนึ้ มาเอง -น
6) นกั เรียนสามารถสรา้ งถว้ ยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้ 7. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หนว่ ยการวัดที่ 1lซ
7) นกั เรียนสามารถคำนวณหาปรมิ าณของน้ำได้ บัญญัตใิ ห้ใชร้ ว่ มกนั ซึ่งมีความแมน่ ยำ มีเกณฑท์ แ่ี นน่ อนและใช้ - ตว
8) นกั เรยี นสามารถบอกปรมิ าณบรรจขุ องภาชนะตา่ ง ๆ ได้ กนั อย่างแพร่หลาย ปาก
9) นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของหนว่ ยแสดงปรมิ าณที่ สถา
เรยี กว่า “มิลลิลติ ร” และสามารถเขยี นสญั ลักษณ์แสดงหน่วย ส่อื หลัก (ส่ือสำหรบั สรา้ งสถานการณ์ปญั หา): -น
แสดงปรมิ าณ “มิลลลิ ติ ร” ได้ - สถานการณป์ ัญหา คำสั่ง และใบกจิ กรรม - นกั
10) นกั เรยี นสามารถเปลยี่ นหน่วยวดั ปริมาณน้ำได้ อาจ
11) นกั เรยี นสามารถแกส้ ถานการณป์ ัญหาเกยี่ วกับปรมิ าณนำ้ ได้ - กระปุกพลาสติกบรรจนุ ้ำ 2 ลติ ร 2. ข
- นกั
จุดประสงค์ของแผน: - ขวดพลาสติกบรรจนุ ้ำ 2 ลิตร - นกั
1) นักเรียนสามารถเขา้ ใจความหมายของหน่วยแสดงปรมิ าณที่ อาจ
เรยี กว่า “ลติ ร” และสามารถเขียนแสดงปรมิ าณน้ำในหนว่ ยลิตร - ถว้ ยตวงมาตรฐานขนาด 1 ลติ ร
ได้ ลำด
2) นกั เรียนสามารถวดั ปริมาณของน้ำทอี่ ยใู่ นภาชนะ โดยทม่ี ี - ถาดรองนำ้ ช่วงท
ปรมิ าณเปน็ หนว่ ยเตม็ ลิตรได้ 1. ข
สื่อเสรมิ (สือ่ สำหรบั ช่วยในการนำเสนอแนวคดิ 1) ค
การคาดการณ์ปญั หาจริงของนักเรยี น (Students’ authentic เกี่ยว
ของนกั เรยี น): - อุปกรณใ์ นการสรา้ งถว้ ยตวง ไดแ้ ก่ ขวด เปลีย่
problems): ปรมิ าณน้ำ 1l ,การวดั ปรมิ าณน้ำโดยใช้ถว้ ยตวง พลาสตกิ (ทน่ี ักเรยี นเตรยี มมาคนละ 1 ขวด) กรรไกร ปากกา
เมจกิ
- แถบขอ้ ความ “มีหนว่ ยที่เรียกว่า ลิตร เพอ่ื แสดงปรมิ าณน้ำ”
- แถบขอ้ ความ “1 ลิตร สามารถเขยี นแทนด้วย 1 l”- แถบ
ขอ้ ความสรปุ

ดับกจิ กรรมการสอน 2) ครูสนทนากับนักเรยี นเกยี่ วกบั การเปรียบเทยี บปริมาณนำ้ โดยใช้หน่วยวดั 21
ow of Lesson/ Sequence of Teaching):
การแสดงแทนโลกจริงของนกั เรียน (Representations of พืน้ ฐาน แล้วถามนักเรยี นวา่ รู้จกั หนว่ ยวัดพ้นื ฐานหรอื ไม่ ถา้ รู้จกั มอี ะไรบ้าง จากนน้ั
Real World) เช่ือมโยงเข้าสู่หนว่ ยลิตร
- ปริมาณน้ำในขวดพลาสตกิ และปรมิ าณนำ้ ในกระปกุ 3) ครูนำเสนอ ถ้วยตวงซ่ึงเป็นเครือ่ งมอื ทีใ่ ชว้ ัดปรมิ าณนำ้ และถามนักเรียนว่า
สือ่ กึง่ รปู ธรรม (Semi Concrete Aids) “นักเรียนคิดว่าถ้วยตวงน้ีจนุ ้ำไดป้ ริมาณเทา่ ไร” จากนัน้ ร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกับ
- ถว้ ยตวงนำ้ 1 ลติ ร ปรมิ าณน้ำ 1 ลิตร
แสดงแทนโลกคณติ ศาสตร์ (Representations of 4) ครตู ิดแถบขอ้ ความ “มหี น่วยที่เรียกว่า ลิตร เพ่ือแสดงปริมาณน้ำ” และ “1
thematical World) ลติ ร สามารถเขียนแทนด้วย 1 l” จากนัน้ ใหน้ ักเรยี นอ่านพรอ้ มกนั
- การวดั และแสดงปรมิ าณนำ้ ทม่ี ีหนว่ ยเปน็ ลติ ร 5) ครนู ำเสนอกจิ กรรมและคำสัง่ บนกระดาน “ให้นกั เรียนสร้างถ้วยตวงขนาด 1 l”
พร้อมกับแจกอุปกรณ์ จากนนั้ ครแู จง้ เวลาในการทำกิจกรรม
ทย/์ สถานการณป์ ญั หา (Task/ Problem situation): 2. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองของนักเรียน (10 นาที)
6) นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือแก้ปัญหาเพ่ือสร้างถ้วยตวงขนาด 1 l จากขวดพลาสตกิ
านการณป์ ัญหาที่ 1 คำสง่ั : ใหน้ กั เรยี นสรา้ งถว้ ยตวงทม่ี ขี นาด โดยครคู อยกระตนุ้ ให้นกั เรียนทำกิจกรรมรว่ มกัน และสำรวจแนวคดิ ในสร้างถ้วย
ตวงของนักเรยี น
ตร จากอุปกรณ์ที่ให้ พรอ้ มทง้ั เขยี นวิธีในการสรา้ ง 3. ขัน้ อภิปรายและเปรียบเทยี บแนวคิดท้ังชั้นเรยี น (5 นาที)
7) นักเรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอแนวคิดการสรา้ งถ้วยตวงขนาด 1 l แล้ว
านการณป์ ญั หาที่ 2 : คณุ ครูมภี าชนะทบ่ี รรจนุ ้ำอยู่ ได้แก่ นักเรียนในชั้นรว่ มกนั อภิปรายความเหมอื นและต่างของแต่ละแนวคดิ
4. สรุปเพอื่ เชื่อมโยงแนวคิดของนกั เรียนทเ่ี กิดข้นึ ในช้นั เรียน (5 นาท)ี
ะปกุ พลาสตกิ และขวดพลาสตกิ ครูอยากทราบปริมาณน้ำใน 8) ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปในประเดน็ : วิธกี ารสร้างถ้วยตวงขนาด 1 ลติ ร
ชว่ งที่ 2 (25 นาที)
ชนะท้งั สอง คำสง่ั : ให้นกั เรยี นวดั ปรมิ าณนำ้ ในภาชนะตอ่ ไปนี้ 1. ขัน้ นำเสนอสถานการณป์ ัญหา (5 นาท)ี
1) ครูนำเสนอสถานการณป์ ัญหาที่ 2 โดยนำขวดพลาสตกิ และกระปกุ พลาสติกท่ใี ส่
ยถว้ ยตวง 1 ลิตร ท่ีสร้างข้นึ เองแลว้ บอกวา่ มีน้ำอยเู่ ทา่ ไร นำ้ มาให้นักเรยี นดู และทายวา่ มีปรมิ าณน้ำอยูก่ ่ีลติ ร
2) ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาเพื่อจับสลากปริมาณน้ำท่ีตนเองจะ
รคาดการณ์แนวคดิ ของนกั เรยี น ไดร้ บั (ขวดพลาสติกหรอื กระปุกพลาสตกิ )
านการณป์ ัญหาที่ 1 : 3) ครูตดิ สถานการณ์ปญั หาที่ 2 และคำส่งั บนกระดาน
นำขวดพลาสตกิ มาเทยี บกับขดี ถ้วยตวงมาตรฐานทีบ่ อกปรมิ าณ 4) ครกู ำหนดเวลาในการทำกิจกรรม จากน้นั แจกใบกจิ กรรมและอปุ กรณ์
ซึ่งถ้าตวงน้ำแล้วจะไม่ได้ 1lพอดี 2. การเรียนรดู้ ้วยตนเองของนักเรียน (10 นาที)
วงนำ้ ในถว้ ยตวงมาตรฐาน 1 l แล้วเทใสใ่ นขวดนำ้ เปล่า แลว้ ใช้ 5) นกั เรยี นเรียนรดู้ ว้ ยตนเองผา่ นการทำกิจกรรมเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ 4-5 คน โดยใช้
กกาเมจกิ ขดี ไว้ หลังจากนนั้ จึงตดั ขวดนำ้ เพอ่ื ใหพ้ อดกี ับ 1 l ขวดตวงขนาด 1 ลติ ร ทน่ี ักเรียนสรา้ งไวใ้ นชว่ งแรก ซึ่งใช้หน่วยมาตรฐาน คอื
านการณป์ ญั หาที่ 2 : 1. กระปกุ พลาสตกิ “ลติ ร” ในการเปรียบเทยี บปรมิ าณนำ้
นกั เรียนเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 l แลว้ วัดปริมาณได้ 2 l 6) ในขณะที่นักเรยี นลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนักเรยี น สงั เกตแนวคิด
กเรยี นเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 l แลว้ วัดปรมิ าณได้ไม่พอดี 3. ขั้นอภปิ รายและเปรยี บเทยี บแนวคดิ ทั้งชั้นเรยี น (5 นาที)
จขาดหรือเกนิ 2 l 7) ใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอแนวคดิ เกี่ยวกบั วธิ กี ารวดั ปรมิ าณน้ำ โดย
ขวดพลาสตกิ ใชห้ น่วยมาตรฐาน คอื “ลติ ร” และใหน้ ักเรยี นในชั้นเรยี นร่วมกันอภปิ ราย
กเรยี นเทน้ำลงในขวดตวงขนาด 1 l แลว้ วดั ปรมิ าณได้ 2 ลิตร 4. สรุปเพอ่ื เชอื่ มโยงแนวคดิ ของนักเรยี นทเี่ กดิ ข้นึ ในชน้ั เรยี น (5 นาที)
กเรยี นเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 l แลว้ วัดปรมิ าณได้ไมพ่ อดี 8) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันวัดปรมิ าณนำ้ อีกคร้งั เพ่อื สรุปปริมาณนำ้ ในภาชนะแต่ละ
จขาดหรือเกนิ 2 l อัน
9) ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายและสรปุ ในประเด็น
ดบั การสอน4 ขน้ั ตอนตามวิธีการแบบเปดิ (Open Approach) - วธิ กี ารวัดปรมิ าณน้ำโดยการใชข้ วดตวงขนาด 1 ลติ ร
ท่ี 1 (25 นาท)ี - การบอกปรมิ าณนำ้ โดยใช้หนว่ ยลิตร
ข้ันนำเสนอสถานการณ์ปญั หา (5 นาที)
ครูกล่าวทักทายนกั เรยี น และทบทวนกิจกรรมในคาบเรยี นท่ผี า่ นมา
วกับการเปรยี บเทียบปริมาณนำ้ โดยท่ี “ปริมาณของน้ำจะคงที่ แม้จะ
ยนภาชนะท่ีบรรจุ”

22

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 บันทกึ หลังการสอน จำนวน 50 นาที
สอนวนั ที่ 1 มนี าคม พ.ศ. 2564
กจิ กรรมเรือ่ ง มีน้ำอยู่เท่าไร เร่อื ง ปริมาณนำ้
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
ง คาบท่ี 2/6
ภาคเรยี นท่ี 2

ผลการสอน
เป้าหมายของคาบน้ี คือ

1) นักเรียนสามารถเขา้ ใจความหมายของหน่วยแสดงปรมิ าณทเ่ี รยี กวา่ “ลิตร” และสามารถเขยี น
แสดงปริมาณนำ้ ในหนว่ ยลติ รได้

2) นักเรียนสามารถวดั ปริมาณของน้ำท่ีอยใู่ นภาชนะ โดยทมี่ ปี รมิ าณเป็นหน่วยเต็มลติ รได้
โดยมีสถานการณป์ ัญหาและคำส่งั ดังต่อไปนี้
สถานการณ์ปญั หาที่ 1 : มาสร้างถ้วยตวง 1 ลิตร กนั เถอะ
จากสถานการณ์ปัญหาที่ 1 พบว่านักเรียนสามารถเข้าใจวิธีการสร้างถ้วยตวงขนาด 1 ลิตร จาก
อปุ กรณท์ ี่ครูแจกใหค้ อื (ขวดนำ้ เปล่า กรรไกร ปากกาเมจิก ถ้วยตวงมาตรฐานขนาด 1 ลติ ร)
คำส่ัง : ให้นกั เรยี นสร้างถว้ ยตวงทม่ี ขี นาด 1 ลติ ร จากอปุ กรณ์ทใี่ ห้ พรอ้ มทั้งเขยี นวิธีในการสร้าง
จากคำส่งั นกั เรียนสามารถมีวิธีการสร้างถว้ ยตวงขนาด 1 ลติ รจากอุปกรณท์ ่ีครมู อบให้ได้อย่างรวดเร็ว
โดยมแี นวคดิ คอื 1. ตวงน้ำดว้ ยถว้ ยตวงขนาดมาตรฐานขนาด 1 ลิตร

2. เทนำ้ ที่ตวงในถ้วยตวงขนาดมาตรฐานขนาด 1 ลติ ร ลงไปในขวดเปล่า
3. นำปากกามาขดี ตรงระดบั น้ำหรอื เส้นท่ีนำ้ อยู่
4. เทนำ้ ออกจากขวดใสใ่ นถว้ ยตวงเดิม
5. นำกรรไกรมาตดั ขวดเปลา่ ที่ขดี ไว้แล้ว (บางกล่มุ ตัดเท่าขีด บางกลมุ่ ตัดเลยขึน้ มาเพราะกัน
นำ้ ล้น)
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 : คุณครูมีภาชนะที่บรรจุน้ำอยู่ ได้แก่ กระปุกพลาสติกและขวดพลาสติก ครูอยาก
ทราบปริมาณนำ้ ในภาชนะท้งั สอง
จากสถานการณ์ปญั หาท่ี 2 พบวา่ นักเรียนสามารถเข้าใจวิธกี ารวดั ปรมิ าณน้ำได้
คำสง่ั : ให้นกั เรียนวดั ปรมิ าณนำ้ ในภาชนะต่อไปนี้ดว้ ยถว้ ยตวง 1 ลิตร ทีส่ รา้ งข้ึนเองแลว้ บอกว่ามีนำ้ อยู่เท่าไร
จากคำสั่งนักเรียนสามารถนำถ้วยตวงที่สร้างขึ้นมาใช้ในการวัดปริมาณน้ำได้ โดยการนำน้ำเขียวและ
นำ้ แดงมาเทใส่ในถ้วยตวงแ่ี ตล่ ะกลมุ่ สร้างข้ึน

ลิขสทิ ธ์ิของศนู ย์วจิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ศูนยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

23

ปัญหา/อุปสรรค
- นกั เรียนไมส่ ามารถอธิบายแนวคดิ ในการวัดปริมาณนำ้ ในสถานการณ์ที่ 2 ได้
- การสรปุ คาบเรียนส้นั เกินไป
แนวทางการแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ
- ผสู้ อนใหก้ ลมุ่ ทีส่ ามารถอธบิ ายข้นั ตอนและวธิ ีการวดั ปรมิ าณน้ำอยา่ งชดั เจนให้เพ่ือนรว่ มช้ันฟัง
- ผู้สอนสรุปคาบเรยี นหรือส่ิงทไ่ี ดเ้ รยี นรูด้ ว้ ยการพดู ทวนอกี คร้งั

ลงชอื่ …………..........……………………….....
(นางสาวกมลชนก จ่าภา)

นักศึกษาปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา

ลิขสทิ ธ์ขิ องศนู ย์วจิ ยั คณิตศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต ศูนยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

24

แผนการจัดการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ในโครงการพฒั นาวิชาชีพครคู ณิตศาสตร์ ด้วยนวตั กรรมศึกษาชัน้ เรียน (Lesson Study)

และวิธีการสอนแบบเปดิ (Open Approach) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
โรงเรียนขจรเกยี รตถิ ลาง สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนจงั หวดั ภูเกต็

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ ขนาดและการวัด หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7

เรอื่ ง ปรมิ าณนำ้ หน้า 86 กิจกรรมเรื่อง เล็กกว่าลิตร

คาบท่ี 3/6 จำนวน 50 นาที วนั ท่ี 2 มนี าคม 2564

ระดบั ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 โรงเรยี น ขจรเกยี รตถิ ลาง

ชื่อผูร้ ว่ มสรา้ งแผน

1.นางบุปผา แสงศรี รองผู้อำนวยการโรงเรียนขจรเกยี รตถิ ลาง

2.นางสาวธิดารัตน์ โสตะกุล หัวหนา้ กล่มุ สาระคณิตศาสตร์

3. นางสาวณัฐธิดา มะอนนั ต์ ครปู ระจำวชิ าคณติ ศาสตร์ ป.3

4. นางสาวกมลชนก จา่ ภา นกั ศึกษาฝึกปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา

5. นางสาวนันวรรณ คำภีระ นกั ศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

ชอ่ื ผบู้ นั ทกึ นางสาวกมลชนก จา่ ภา

ช่อื ผสู้ อน นางสาวกมลชนก จา่ ภา

1. เปา้ หมายของบทเรียนระดบั หนว่ ยการเรียนร้แู ละเปา้ หมายของบทเรยี นในแตล่ ะคาบในหนว่ ยการเรียนรู้
น้นั (Aim of the Lesson)

เป้าหมายของบทเรยี นระดบั หนว่ ยการเรียนรู้
1) นักเรยี นสามารถแสดงวิธกี ารเปรยี บเทยี บปริมาณของน้ำได้
2) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของหน่วยแสดงปริมาณที่เรียกว่า “ลิตร” และสามารถเขียน
สัญลกั ษณ์แสดงหน่วยแสดงปริมาณ “ลติ ร” ได้
3) นกั เรียนสามารถวัดปริมาณของน้ำท่ีมีปรมิ าณน้อยกว่า 1 l (ลติ ร) ได้
4) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของเดซลิ ติ ร (10 เดซลิ ติ ร เปน็ 1 ลติ ร) ได้
5) นักเรียนสามารถเขา้ ใจความสัมพนั ธ์การวัดปริมาณของนำ้ ที่อยู่ในภาชนะ โดยใชถ้ ้วยตวง 1 l (ลิตร)
และ 1 dl (เดซิลิตร) ได้
6) นักเรียนสามารถสรา้ งถว้ ยตวงขนาด 1 เดซิลติ รได้
7) นกั เรยี นสามารถคำนวณหาปริมาณของนำ้ ได้
8) นกั เรียนสามารถบอกปรมิ าณบรรจุของภาชนะต่าง ๆ ได้
9) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของหนว่ ยแสดงปริมาณท่เี รียกว่า “มลิ ลิลิตร” และสามารถเขียน
สญั ลักษณ์แสดงหนว่ ยแสดงปรมิ าณ “มิลลลิ ิตร” ได้

ลขิ สิทธข์ิ องศนู ยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต ศนู ย์วิจัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

25

10) นักเรยี นสามารถเปลย่ี นหน่วยวดั ปรมิ าณนำ้ ได้
11) นกั เรียนสามารถแก้สถานการณป์ ัญหาเกย่ี วกบั ปริมาณนำ้ ได้
เปา้ หมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหนว่ ยการเรียนร้นู นั้ (คาบที่ 3/6)
1. นกั เรียนสามารถวัดปรมิ าณของนำ้ ทีม่ ปี รมิ าณนอ้ ยกว่า 1 l (ลติ ร) ได้
2. นกั เรยี นสามารถเข้าใจความสมั พันธ์ของลิตรและเดซลิ ิตร (1 ลติ ร = 10 เดซิลติ ร) ได้

2. ลำดบั กจิ กรรมการสอน ให้แบ่งเน้ือหาสาระในคาบทจ่ี ะสอนออกเป็นกจิ กรรมย่อย ๆ ในแตล่ ะชว่ ง
เพือ่ ใหไ้ ด้ความรู้ ความคดิ รวบยอด แนวคิด วธิ กี าร ฯลฯ ที่เปน็ ขอ้ ความรู้สว่ นย่อย ๆ เม่อื ครบคาบเรียน
แล้วจะไดต้ ามจุดประสงค์ของคาบเรียนนั้น

การแสดงแทนโลกจรงิ ของนกั เรียน
- ปรมิ าณนำ้ ในขวดพลาสตกิ ขนาด 1 ลิตร
ส่ือกึง่ รูปธรรม
- แก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร
การแสดงแทนโลกคณิตศาสตร์
- การวัดและแสดงปริมาณน้ำที่มีหน่วยเป็นเดซิลติ ร
- ความสมั พันธ์ของลติ รและเดซลิ ิตร (1 ลิตร = 10 เดซิลติ ร)

3. ขน้ั ตอนการสร้างสถานการณป์ ัญหาปลายเปิด
3.1 เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ต้องการจะเน้นใน

สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดของหน่วยการเรียนรู้นี้ (พิจารณาเปรียบเทียบระหว่างหนังสือเรียน
คณิตศาสตรไ์ ทย กับหนังสือเรียนคณติ ศาสตรญ์ ่ีปุ่น)

3.1.1 เนอื้ หาสาระ
1. ถ้วยลติ ร (cup of liter) หมายถึง ถ้วยตวงท่ใี ชเ้ รยี กแทนหนว่ ยลิตรในการวัดปริมาตรนำ้ 1 ลิตร
2. หนว่ ยมาตรฐาน (standard unit) หมายถงึ หน่วยการวดั ท่บี ัญญตั ิให้ใชร้ ว่ มกนั ซงึ่ มคี วามแม่นยำ
มีเกณฑท์ ่แี นน่ อนและใช้กนั อยา่ งแพร่หลาย ตัวอย่างเช่น ระบบเมตรกิ ทเ่ี ป็นหนว่ ย ลติ ร เดซลิ ิตร เป็นตน้
3. ลิตร (liter) เป็นชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีค่าเท่ากับ 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดย
ปริมาณ 1 ลติ ร สามารถเขยี นแทนดว้ ย 1 l
4. เดซิลิตร (deciliter) หมายถึง หน่วยย่อยที่มีปริมาณน้อยกว่าลิตรซึ่งถูกแบ่งจากหนึ่งถ้วยลิตร
(cup of liter) ออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กนั โดย 1 เดซิลติ ร สามารถเขยี นแทนดว้ ย 1 dl (เดซิลติ ร) (10 เดซลิ ติ ร
= 1 ลติ ร)
3.1.2 ทกั ษะ/กระบวนการ

ลิขสิทธข์ิ องศูนยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศนู ย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

26

1. ทกั ษะกระบวนการทำงานกลมุ่ (นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการทำงานกล่มุ และมีความสามัคคีในกลมุ่ )
2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ (นักเรยี นสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกบั วธิ กี ารวดั ปรมิ าณนำ้ )
3. ทกั ษะการเชอื่ มโยง (นกั เรียนสามารถเชอื่ มโยงความร้เู ดิมมาใช้ในการแก้ปัญหา)
4. ทักษะการนำเสนอ (นกั เรยี นสามารถนำเสนอแนวคดิ ในการวัดปรมิ าณน้ำ)
5. ทกั ษะการส่ือสาร (นักเรยี นสามารถสอ่ื สารและตง้ั คำถาม เพื่อให้เกดิ ความเขา้ ใจทต่ี รงกันได้)
3.1.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มคี วามรบั ผดิ ชอบและมวี ินัยในการทำงาน
2. นกั เรียนเกิดการยอมรบั และรับฟังในความคิดเหน็ ของคนอื่น
3. มคี วามกลา้ แสดงออก
4. การปฏบิ ัติตามกติกาและข้อตกลงในช้ันเรียน

3.2 คำสำคัญในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด ธรรมชาติการคิดหรือกระบวนการเรียนรู้ของ

นักเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ก่อนหน้านี้ หรือจากชั้นเรียนก่อนหน้านี้ หรือจากประสบการณ์ใน

ชีวิตประจำวันของนักเรียนที่ครูรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ที่กำหนดในข้อ 3.1 เพื่อใช้ในการพิจารณาภาษาที่จะกำหนด “คำสำคัญ” (Key words) ใน

สถานการณ์ปัญหาปลายเปิด

1. ถ้วยลติ ร (cup of liter) หมายถงึ ถว้ ยตวงทใ่ี ชเ้ รียกแทนหนว่ ยลิตรในการวดั ปรมิ าณนำ้ 1 ลิตร

2. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ

มีเกณฑ์ท่แี น่นอนและใชก้ ันอย่างแพรห่ ลาย ตวั อย่างเช่น ระบบเมตรกิ ทีเ่ ป็นหน่วย ลิตร เดซิลติ ร เป็นตน้

3. ลิตร เป็นชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธเี มตริก มีค่าเท่ากับ 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยปริมาณ 1

ลิตร สามารถเขยี นแทนดว้ ย 1 l

4. เดซิลติ ร (deciliter) หมายถึง หนว่ ยย่อยท่มี ีปริมาณนอ้ ยกวา่ ลติ รซึ่งถกู แบ่งจากหน่ึงถ้วยลติ ร (cup

of liter) ออกเปน็ 10 ส่วนเท่าๆ กนั

5. การแปลงหน่วย, การเปลี่ยนหน่วย (change denomination) หมายถึง การทำให้ค่าที่ได้จาก

การวัดทเ่ี ป็นหน่วยทต่ี า่ งกนั ให้เปน็ หนว่ ยที่อย่ใู นมาตราเดียวกัน สามารถเปลีย่ นจากหน่วยท่เี ลก็ กว่าไปหน่วยท่ี

ใหญก่ ว่า หรือเปลี่ยนจากหน่วยทีใ่ หญ่กวา่ เปน็ หน่วยท่เี ลก็ กว่า เช่น

1 เซนตเิ มตร เทา่ กับ 10 มลิ ลิเมตร 1 เมตร เทา่ กับ 100 เซนตเิ มตร

1 กิโลเมตร เทา่ กับ 1,000 เมตร 1 ลิตร เท่ากบั 10 เดซลิ ิตร

3.3 สถานการณป์ ญั หาในรปู คำสง่ั ทช่ี ดั เจนและนกั เรียนเข้าใจไดง้ ่ายๆ
สถานการณ์ปัญหา : นักเรียนคิดว่าจะต้องใช้แก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร กี่ใบ เพื่อแบ่งน้ำในขวดที่มี
ปริมาณ 1 ลติ ร

ลขิ สทิ ธ์ขิ องศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต ศูนยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

27

คำสั่ง : ให้นักเรียนแบ่งน้ำในขวดที่มีปริมาณ 1 ลิตร โดยแก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร แล้วหาว่าแบ่งใส่
แกว้ ได้กี่ใบ พรอ้ มอธบิ ายวิธกี ารแบง่

3.4 การสรา้ งหรือออกแบบสื่อใหส้ ัมพันธก์ ับคำสงั่ ในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด โดยมสี ่ือหลักที่
ใชใ้ นการสร้างสถานการณป์ ัญหาปลายเปิด และสื่อส่งเสรมิ ทจ่ี ะใช้ในขณะทน่ี ักเรยี นนำเสนอแนวคดิ ตอ่ ช้นั
เรียน หรือในขณะท่ีครูสรุปบทเรยี น

ส่ือหลกั
- สถานการณป์ ัญหา คำส่ัง และใบกิจกรรม
- น้ำใสข่ วดพลาสตกิ ที่มีปริมาณ 1 ลติ ร
- แก้วตวงมาตรฐานขนาด 1 เดซลิ ิตร
- แก้วตวงมาตรฐานขนาด 1 ลติ ร
- แกว้ พลาสติก
- ถาดรองน้ำ
สือ่ เสริม
- ภาพจำลองการแบ่งน้ำ
- แถบข้อความ “1 ลิตร ถูกแบ่งออกเป็น 10 ส่วนเท่า ๆ กัน เราเรียกหนว่ ยของปริมาณที่ถูกแบ่งนี้วา่
1 เดซิลติ ร”
- แถบขอ้ ความ “1 เดซลิ ติ ร สามารถเขยี นแทนด้วย 1 dl”
- แถบข้อความ “1 l = 10 dl”

3.5 การกำหนดเวลาที่ใช้ในแตล่ ะคำสั่ง และการกำหนดคาบพร้อมกับเป้าหมายของบทเรียนของ
แต่ละคาบ

1. ข้ันนำเสนอสถานการณ์ปัญหา (10 นาท)ี
1) ครูกล่าวทักทายนักเรียน และทบทวนสิ่งที่ได้เรียนไปเมื่อคาบที่แล้วเกี่ยวกับวิธีการ วัดและเขียน
แสดงปริมาณนำ้ โดยใช้หนว่ ยลติ ร (1 ลติ ร = 1,000 มลิ ลิลิตร)
2) ครถู ามนกั เรียนวา่ “ถ้าครูมนี ำ้ นอ้ ยกว่า 1 ลิตร ครูจะมีวิธีบอกปรมิ าณนำ้ อย่างไร” พร้อมกับนำเข้า
สู่สถานการณ์ปัญหาของวันนี้ ครูเตรียมเหยือกน้ำที่จุน้ำขนาด 1 l 500 ml จากนั้นเทใส่ถ้วยตวงที่ไม่มีสเกล

ลิขสิทธ์ขิ องศนู ยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนญุ าต ศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศกึ ษา มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

28

บอก ทีจ่ ุได้ 1 l ใหน้ ักเรียนเห็นวา่ เต็มถว้ ยตวง 1 l ไป 1 ถว้ ย แตอ่ ีกถ้วยเกือบเตม็ ตง้ั คำถามวา่ “แลว้ เราจะรู้ได้
อยา่ งไรวา่ น้ำในเหยือกมเี ทา่ ไหรก่ ันแน”่ เริม่ อภิปรายร่วมกัน

3) ครูนำเสนอถ้วยตวงขนาด 1 เดซิลิตร “ในส่วนที่เหลือนี้เราสามารถใช้ถ้วยตวงขนาด 1 dl มาช่วย
วัดปริมาณได้” ครูเทน้ำจากในถ้วยตวง 1 dl จำนวน 1 ถ้วย จากนั้นทำความเขา้ ใจร่วมกันว่า 1 ถ้วยนี้มีขนาด
1 dl

4) ครูติดสถานการณ์ปัญหาและคำสั่งบนกระดานและให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน และตั้งคำถามเพ่ือ
ตรวจสอบความเข้าใจในคำสง่ั

5) ครแู จกอุปกรณ์ให้แก่นักเรียนทุกกลุ่ม พร้อมท้ังใบกิจกรรมและปากกาเมจิก จากน้ันครูแจ้งเวลาใน
การทำกิจกรรม 20 นาที

2. การเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (20 นาที)
6) นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยเทน้ำในขวดขนาด 1
ลิตร ใส่ลงไปในแกว้ ตวงขนาด 1 เดซิลิตร แล้วหาความสมั พนั ธข์ องปรมิ าณท่เี กดิ ขน้ึ
7) ในขณะที่นักเรียนลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนกั เรียน สังเกตแนวคดิ ของนกั เรียนว่าตอบสนอง
ต่อคำส่งั หรือไม่ ถา้ หากพบความผดิ พลาดครูอาจกระตุ้นนักเรยี นอีกครั้งโดยให้ทบทวนสถานการณ์ปัญหา หรือ
ตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหาของกลุ่มตนเองอีกครั้ง และบันทึกแนวคิดของนักเรียนเพื่อเป็นแนวทางในการ
จัดลำดับในการนำเสนอและอภปิ รายแนวคิดในขัน้ ถดั ไป
3. ขั้นอภิปรายและเปรยี บเทียบแนวคดิ ทง้ั ชั้นเรียน (10 นาท)ี
8) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการเทน้ำในขวดขนาด 1 ลิตร ใส่ลงไปใน
แก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร และถามนักเรียนถึงความสัมพันธ์ของปริมาณที่นักเรียนสังเกตเห็น พร้อมกระตุ้นให้
นกั เรียนฟงั และซักถามเพ่อื นที่ออกมานำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
4. สรปุ เพ่ือเช่ือมโยงแนวคิดของนกั เรียนทเี่ กิดขึน้ ในชนั้ เรียน (10 นาที)
9) ครูและนักเรยี นร่วมกนั วดั ปริมาณนำ้ อกี ครั้ง เพื่อสรปุ ปริมาณน้ำในภาชนะแต่ละอัน
10) ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันสรุปในประเด็น

- วิธีการวดั ปริมาณน้ำโดยการใช้ถ้วยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร
- การบอกปริมาณน้ำโดยใชห้ น่วยเดซลิ ิตร
- ความสัมพันธข์ องหน่วยลิตรและเดซิลติ ร

3.6 การคาดคะเนแนวคิดของนกั เรียนทจ่ี ะตอบสนองต่อคำสั่งแตล่ ะคำสัง่
สถานการณ์ปัญหา : นักเรียนคิดว่าจะต้องใช้แก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร กี่ใบ เพื่อแบ่งน้ำในขวดที่มี
ปรมิ าณ 1 ลิตร

ลขิ สิทธ์ิของศูนย์วจิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศนู ย์วจิ ัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

29

คำสั่ง : ให้นักเรียนแบ่งน้ำในขวดที่มีปริมาณ 1 ลิตร โดยแก้วตวงขนาด 1 เดซิลิตร แล้วหาว่าแบ่งใส่
แก้วไดก้ ใี่ บ พรอ้ มอธบิ ายวิธกี ารแบง่

การคาดการณแ์ นวคดิ ของนกั เรยี น
1. การแบ่งนำ้ ในขวดที่มีปรมิ าณ 1 ลิตร ใสแ่ กว้ ขนาด 1 เดซลิ ิตร
นักเรียนมีแนวคดิ ทเ่ี กิดขึ้น ดงั น้ี
- นกั เรยี นเทน้ำจากขวดทม่ี ปี ริมาณ 1 ลิตร ใสแ่ ก้วขนาด 1 เดซลิ ติ ร ได้ 10 แก้วพอดี
- นักเรยี นเทนำ้ จากขวดที่มีปริมาณ 1 ลิตร ใส่แกว้ ขนาด 1 เดซลิ ติ ร ไดม้ ากกวา่ หรือน้อยกวา่ 10 แก้ว
2. ส่ิงทไ่ี ด้เรยี นรู้จากการทำกจิ กรรมน้ี
- ไดร้ ู้วา่ ปรมิ าณ 1 ลิตร ต้องใชแ้ ก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร 10 ใบ
- ได้รู้วา่ 1 ลิตร เท่ากบั 10 เดซลิ ติ ร
- ไดร้ ้จู ักหนว่ ยการวดั ทมี่ ีปรมิ าณน้อยกวา่ 1 ลติ ร คอื เดซลิ ติ ร

4. การจัดลำดับการนำเสนอแนวคดิ ของนักเรียนเพ่ือให้เกดิ การเช่อื มโยงท้งั แนวคดิ และความคิดรวบยอด
ทางคณติ ศาสตรแ์ ละอืน่ ๆ ของบทเรยี นในแต่ละคาบ

- แนวคิดกลมุ่ ทแ่ี บง่ น้ำใสแ่ ก้วขนาด 1 เดซลิ ิตร ไดม้ ากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่ 10 แก้ว
- แนวคดิ กลุ่มที่แบง่ น้ำใสแ่ ก้วขนาด 1 เดซลิ ติ ร ได้ 10 แก้วพอดี
- แนวคดิ 1 ลิตร ถกู แบ่งออกเป็น 10 ส่วนเทา่ ๆ กนั และเรยี กแตล่ ะสว่ นวา่ 1 เดซลิ ิตร
- แนวคิด 1 ลิตร เทา่ กับ 10 เดซิลิตร

5. ประเดน็ ทีจ่ ะใชใ้ นการร่วมอภิปรายในชน้ั เรยี นเพ่อื ใหน้ ักเรยี นบรรลุเปา้ หมายของบทเรียนในแต่ละคาบ
- วิธกี ารวัดปริมาณนำ้ โดยการใช้แกว้ ตวงขนาด 1 เดซลิ ติ ร
- การบอกปริมาณนำ้ โดยใช้หน่วยเดซลิ ิตร ซ่ึง 1 เดซลิ ิตร สามารถเขียนแทนไดด้ ว้ ย 1 dl
- 1 ลติ ร ถูกแบ่งออกเป็น 10 ส่วนเท่า ๆ กัน เราเรียกหน่วยของปริมาณท่ีถกู แบง่ นวี้ า่ 1 เดซลิ ติ ร
- ความสัมพันธ์ของหนว่ ยลติ รและเดซิลิตร โดย 1 ลิตร = 10 เดซิลติ ร

6. การวดั และประเมนิ ผล

สิง่ ทีต่ ้องการวัด วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวัด
- การทำกจิ กรรม
ดา้ นความรู้ (K) สงั เกตจาก - ใบกิจกรรม

1. นักเรียนสามารถวัดปริมาณของน้ำที่มีปริมาณ - การตอบคำถาม

นอ้ ยกวา่ 1 l (ลิตร) ได้ - การร่วมกิจกรรม

2. นักเรียนสามารถเข้าใจความสัมพันธ์ของลิตรและ - การทำ/ตรวจใบงาน
เดซลิ ิตร (1 ลิตร = 10 เดซิลิตร) ได้

ลิขสิทธข์ิ องศูนยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต ศนู ย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

30

31

ตวั อย่างใบกิจกรรม

สถานการณ์ปัญหา : นกั เรยี นคดิ วา่ จะตอ้ งใชแ้ ก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร กีใ่ บ เพื่อแบ่งน้าในขวดท่มี ปี รมิ าณ 1 ลิตร

คาสง่ั : ให้นกั เรียนแบ่งนา้ ในขวดที่มปี รมิ าณ 1 ลติ ร โดยแก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร แลว้ หาวา่ แบ่งใสแ่ ก้วได้กี่ใบ พร้อมอธบิ าย
วิธกี ารแบง่

อธบิ ายวิธีการแบง่

สง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

หอ้ ง ป. …../ …..
1. ชอ่ื เลน่ .............................................................เลขท่ี...................... 2. ชื่อเล่น.............................................................เลขที่......................

3. ช่อื เลน่ ............................................................เลขที่....................... 4. ชื่อเล่น.............................................................เลขที่......................

5. ช่อื เลน่ .............................................................เลขท่ี......................

ลขิ สทิ ธขิ์ องศูนย์วจิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

แนวคิด

กจิ กรรม

ครูนำขวดน้ำมากกวา่ สถานการณป์ ญั หา
1l มาเทใส่ถ้วย 1l 1\
แล้วจะเหลือน้ำใน
ขวดนิดหน่อยืจากน้นั
ถามนักเรียนถงึ วิธีการ
วัดน้ำโดยนำเสนอ
ถ้วยตวง dl

คำสงั่

32

สรปุ

แผนการจัดการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ระดบั ช้ันป

ช่อื ครูผสู้ อน : นางสาวกมลชนก จ่าภา วนั ท่ี ___ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2563 ลำด
ชอ่ื โรงเรยี น: โรงเรียนขจรเกยี รติถลาง เวลา _________________ น. (Flo
1.
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ : ปรมิ าณนำ้ ชือ่ แผน: เล็กกวา่ กล่ี ิตร
แผนท่ี 3/6 จำนวน 1 คาบ 2.
นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน 25 คน
สาระสำคัญของแผน (Concept/ Main Ideas): 3.
จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู องหนว่ ยการเรียนรู้: 1. ถว้ ยลิตร (cup of liter) หมายถึง ถ้วยตวงท่ใี ชเ้ รยี กแทน Mat
1) นกั เรยี นสามารถแสดงวิธกี ารเปรียบเทยี บปริมาณของนำ้ ได้ หนว่ ยลิตรในการวัดปริมาตรนำ้ 1 ลติ ร
2) นกั เรียนสามารถเขา้ ใจความหมายของหนว่ ยแสดงปรมิ าณที่ 2. หนว่ ยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดท่ี โจท
เรยี กว่า “ลติ ร” และสามารถเขียนสัญลักษณ์แสดงหน่วยแสดง บญั ญตั ิใหใ้ ช้รว่ มกันซึง่ มีความแม่นยำ มเี กณฑท์ แี่ นน่ อนและใช้ สถา
ปริมาณ “ลติ ร” ได้ กันอย่างแพรห่ ลาย ตวั อย่างเชน่ ระบบเมตริกทเ่ี ป็นหน่วย ลิตร เดซิล
3) นกั เรียนสามารถวดั ปรมิ าณของน้ำทม่ี ีปรมิ าณน้อยกวา่ 1 l เดซลิ ติ ร เป็นต้น คำส
(ลิตร) ได้ 3. ลติ ร (liter) เป็นชื่อหน่วยมาตราตวงตามวธิ ีเมตริก มคี า่ ขนา
4) นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของเดซิลติ ร (10 เดซลิ ติ ร เทา่ กับ 1000 ลกู บาศก์เซนติเมตร โดยปรมิ าณ 1 ลติ ร สามารถ แบง่
เปน็ 1 ลิตร) ได้ เขยี นแทนดว้ ย 1 l
5) นักเรยี นสามารถเขา้ ใจความสมั พันธก์ ารวดั ปริมาณของนำ้ ทอ่ี ยู่ 4. เดซิลิตร (deciliter) หมายถงึ หนว่ ยย่อยท่มี ปี รมิ าณนอ้ ย การ
ในภาชนะ โดยใช้ถว้ ยตวง 1 l (ลิตร) และ 1 dl (เดซลิ ิตร) ได้ กวา่ ลิตรซ่ึงถกู แบ่งจากหนึ่งถ้วยลิตร (cup of liter) ออกเปน็ 1. ก
6) นักเรียนสามารถสรา้ งถ้วยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้ 10 ส่วนเท่าๆ กัน โดย 1 เดซิลติ ร สามารถเขยี นแทนด้วย 1 dl นักเ
7) นกั เรยี นสามารถคำนวณหาปรมิ าณของนำ้ ได้ (เดซลิ ติ ร) (10 เดซิลติ ร = 1 ลติ ร) - นกั
8) นกั เรียนสามารถบอกปริมาณบรรจขุ องภาชนะต่าง ๆ ได้ เดซิล
9) นักเรยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของหนว่ ยแสดงปริมาณที่ ส่ือหลัก (สือ่ สำหรบั สรา้ งสถานการณ์ปญั หา): - นัก
เรยี กว่า “มลิ ลิลิตร” และสามารถเขียนสญั ลักษณ์แสดงหน่วย - สถานการณป์ ญั หา คำสั่ง และใบกิจกรรม เดซลิ
แสดงปริมาณ “มิลลลิ ติ ร” ได้ 2. ส
10) นักเรยี นสามารถเปล่ียนหน่วยวดั ปรมิ าณนำ้ ได้ - นำ้ ใส่ขวดพลาสติกที่มีปริมาณ 1 ลติ ร - ได
11) นักเรยี นสามารถแก้สถานการณ์ปัญหาเก่ียวกบั ปรมิ าณนำ้ ได้ - ได
- แก้วตวงมาตรฐานขนาด 1 เดซิลติ ร - ได
จดุ ประสงคข์ องแผน:
1. นักเรยี นสามารถวัดปรมิ าณของนำ้ ทีม่ ีปรมิ าณน้อยกว่า 1 l - แก้วตวงมาตรฐานขนาด 1 ลติ ร
(ลติ ร) ได้
2. นกั เรยี นสามารถเข้าใจความสัมพนั ธข์ องลิตรและเดซิลิตร (1 - แก้วพลาสติก
ลิตร = 10 เดซลิ ติ ร) ได้
- ถาดรองน้ำ
การคาดการณป์ ัญหาจริงของนักเรยี น (Students’ authentic สอ่ื เสรมิ (ส่อื สำหรับช่วยในการนำเสนอแนวคดิ
problems): หน่วย dl , การแปลงหนว่ ย dl เป็น l
ของนกั เรียน):
- ภาพจำลองการแบ่งนำ้

- แถบข้อความ “1 ลิตร ถูกแบ่งออกเปน็ 10 ส่วนเทา่ ๆ กัน
เราเรียกหน่วยของปรมิ าณทถ่ี กู แบ่งนี้ว่า 1 เดซิลติ ร”
- แถบข้อความ “1 เดซลิ ติ ร สามารถเขยี นแทนด้วย 1 dl”
- แถบขอ้ ความ “1 l = 10 dl”

นรู้ (ฉบับย่อ) 33
ประถมศึกษาปีที่ 3

ดับกิจกรรมการสอน ลำดบั การสอน4 ขนั้ ตอนตามวธิ ีการแบบเปิด (Open Approach)
ow of Lesson/ Sequence of Teaching): 1. ขัน้ นำเสนอสถานการณป์ ญั หา (10 นาท)ี
การแสดงแทนโลกจรงิ ของนักเรยี น (Representations of 1) ครูกลา่ วทักทายนักเรียน และทบทวนสิง่ ท่ีได้เรียนไปเมอ่ื คาบทแี่ ล้วเก่ยี วกับ
Real World) วิธีการวดั และเขยี นแสดงปรมิ าณนำ้ โดยใชห้ น่วยลติ ร
- ปริมาณน้ำในขวดพลาสติกขนาด 1 ลติ ร 2) ครถู ามนกั เรียนว่า “ถา้ ครมู ีนำ้ นอ้ ยกว่า 1 ลติ ร ครูจะมีวธิ บี อกปริมาณน้ำ
สือ่ กึง่ รูปธรรม (Semi Concrete Aids) อยา่ งไร” พร้อมกบั นำเขา้ ส่สู ถานการณป์ ัญหาของวันนี้ ครเู ตรียมเหยือกน้ำทีจ่ นุ ้ำ
- แก้วตวงขนาด 1 เดซิลติ ร ขนาด 1 l 900 ml จากน้นั เทใสถ่ ว้ ยตวงท่ไี ม่มีสเกลบอก ท่ีจุได้ 1 l ให้นักเรียนเห็น
แสดงแทนโลกคณิตศาสตร์ (Representations of ว่าเต็มถว้ ยตวง 1 l ไป 1 ถ้วย แต่อกี ถ้วยเกือบเต็ม ตง้ั คำถามว่า “แล้วเราจะร้ไู ด้
thematical World) อย่างไรวา่ นำ้ ในเหยอื กมเี ท่าไหร่กนั แน”่ เริม่ อภปิ รายรว่ มกนั
- การวัดและแสดงปริมาณน้ำที่มีหน่วยเปน็ เดซลิ ติ ร 3) ครูนำเสนอถว้ ยตวงขนาด 1 เดซิลติ ร “ในส่วนทีเ่ หลอื น้เี ราสามารถใชถ้ ว้ ยตวง
- ความสมั พันธ์ของลิตรและเดซิลิตร (1 ลติ ร = 10 เดซิลติ ร) ขนาด 1 dl มาชว่ ยวดั ปรมิ าณได”้ ครูเทนำ้ จากในถว้ ยตวง 1 dl จำนวน 1 ถ้วย
จากนน้ั ทำความเขา้ ใจร่วมกันว่า 1 ถว้ ยนีม้ ขี นาด 1 dl
ทย/์ สถานการณป์ ญั หา (Task/ Problem situation): 4) ครูตดิ สถานการณป์ ญั หาและคำส่งั บนกระดานและให้นักเรยี นอา่ นพรอ้ มกัน
และตง้ั คำถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจในคำสัง่
านการณ์ปญั หาท่ี : นักเรียนคดิ ว่าจะต้องใชแ้ กว้ ตวงขนาด 1 5) ครูแจกอุปกรณ์ให้แก่นักเรยี นทุกกลมุ่ พร้อมทง้ั ใบกจิ กรรมและปากกาเมจิก
จากนน้ั ครแู จ้งเวลาในการทำกิจกรรม 20 นาที
ลติ ร ก่ใี บ เพื่อแบ่งนำ้ ในขวดที่มีปรมิ าณ 1 ลติ ร 2. การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของนักเรียน (20 นาท)ี
6) นักเรียนเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองผา่ นการทำกิจกรรมเปน็ กลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน โดยเท
สงั่ : ให้นักเรยี นแบง่ นำ้ ในขวดท่ีมปี รมิ าณ 1 ลติ ร โดยแกว้ ตวง นำ้ ในขวดขนาด 1 ลติ ร ใสล่ งไปในแกว้ ตวงขนาด 1 เดซลิ ติ ร แล้วหาความสัมพันธ์
ของปริมาณที่เกิดขึน้
าด 1 เดซลิ ติ ร แลว้ หาวา่ แบง่ ใสแ่ ก้วไดก้ ่ีใบ พร้อมอธบิ ายวธิ กี าร 7) ในขณะทน่ี ักเรยี นลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนกั เรียน สังเกตแนวคิดของ
นักเรียนว่าตอบสนองต่อคำสงั่ หรือไม่ ถ้าหากพบความผดิ พลาดครอู าจกระตนุ้
ง นักเรยี นอกี ครั้งโดยให้ทบทวนสถานการณป์ ัญหา หรือตรวจสอบวธิ ีการแกป้ ญั หา
ของกลมุ่ ตนเองอกี ครัง้ และบนั ทึกแนวคดิ ของนักเรียนเพอ่ื เป็นแนวทางในการ
รคาดการณ์แนวคดิ ของนกั เรยี น จดั ลำดับในการนำเสนอและอภปิ รายแนวคดิ ในข้นั ถดั ไป
การแบง่ นำ้ ในขวดทม่ี ปี รมิ าณ 1 ลิตร ใส่แก้วขนาด 1 เดซิลติ ร 3. ข้ันอภิปรายและเปรียบเทยี บแนวคดิ ทั้งช้นั เรยี น (10 นาที)
เรยี นมีแนวคิดทเ่ี กดิ ขึน้ ดงั น้ี 8) ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอแนวคิดเกย่ี วกับวิธีการเทนำ้ ในขวดขนาด
กเรยี นเทน้ำจากขวดที่มีปริมาณ 1 ลติ ร ใสแ่ กว้ ขนาด 1 1 ลติ ร ใสล่ งไปในแก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ติ ร และถามนกั เรยี นถึงความสัมพนั ธข์ อง
ลิตร ได้ 10 แกว้ พอดี ปรมิ าณที่นักเรยี นสังเกตเห็น พรอ้ มกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นฟังและซักถามเพือ่ นท่ี
กเรียนเทน้ำจากขวดท่มี ปี ริมาณ 1 ลิตร ใสแ่ ก้วขนาด 1 ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรยี น
ลติ ร ไดม้ ากกวา่ หรอื น้อยกวา่ 10 แก้ว 4. สรุปเพอื่ เชอื่ มโยงแนวคิดของนกั เรยี นท่ีเกิดขนึ้ ในชน้ั เรยี น (10 นาที)
สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรู้จากการทำกจิ กรรมนี้ 9) ครูและนักเรียนรว่ มกันวดั ปริมาณนำ้ อกี ครัง้ เพอื่ สรปุ ปรมิ าณน้ำในภาชนะแตล่ ะ
ด้รู้วา่ ปริมาณ 1 ลิตร ต้องใช้แกว้ ตวงขนาด 1 เดซิลติ ร 10 ใบ อนั
ดร้ วู้ ่า 1 ลิตร เทา่ กับ 10 เดซลิ ติ ร 10) ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกนั สรุปในประเดน็
ด้รจู้ ักหนว่ ยการวัดท่มี ปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ 1 ลิตร คอื เดซลิ ิตร - วิธีการวัดปริมาณนำ้ โดยการใช้ถว้ ยตวงขนาด 1 เดซิลติ ร
- การบอกปริมาณนำ้ โดยใช้หน่วยเดซิลติ ร
- ความสมั พันธข์ องหนว่ ยลติ รและเดซลิ ิตร

34

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 บันทกึ หลังการสอน จำนวน 50 นาที
สอนวนั ที่ 2 มนี าคม พ.ศ. 2564
กิจกรรมเร่ือง เล็กกวา่ ลิตร เรอ่ื ง ปรมิ าณนำ้
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3
ง คาบท่ี 3/6
ภาคเรยี นที่ 2

ผลการสอน
เป้าหมายของคาบน้ี คือ

1. นักเรียนสามารถวัดปริมาณของน้ำที่มีปรมิ าณนอ้ ยกวา่ 1 l (ลิตร) ได้
2. นักเรียนสามารถเข้าใจความสมั พันธข์ องลติ รและเดซลิ ิตร (1 ลติ ร = 10 เดซิลิตร) ได้
โดยมีสถานการณป์ ัญหาและคำสั่งดังต่อไปนี้
สถานการณ์ปญั หา : นกั เรียนคิดวา่ จะต้องใชแ้ ก้วตวงขนาด 1 เดซิลติ ร ก่ีใบ เพือ่ แบง่ น้ำในขวดทมี่ ปี ริมาณ
1 ลิตร
จากสถานการณ์ปัญหานักเรียนทุกกลุ่มเข้าใจว่าแก้วตวงเดซิลิตรทำอย่างไร เนื่องจากมีการเชื่อมโยง
กบั คาบการสรา้ งถ้วยตวง
คำสัง่ : ใหน้ กั เรยี นแบ่งน้ำในขวดทม่ี ปี รมิ าณ 1 ลิตร โดยแกว้ ตวงขนาด 1 เดซลิ ติ ร แลว้ หาวา่ แบง่ ใสแ่ ก้วได้กี่ใบ
พรอ้ มอธิบายวิธกี ารแบง่
จากคำสัง่ นกั เรียนสามารถอธบิ ายวธิ กี ารแบง่ น้ำ 1 ลติ ร ใสแ่ กว้ 1 เดซิลิตรได้ ดงั นี้
1. การแบง่ นำ้ ในขวดทมี่ ปี ริมาณ 1 ลติ ร ใสแ่ ก้วขนาด 1 เดซลิ ติ ร
นักเรียนมีแนวคิดที่เกดิ ขน้ึ ดังน้ี
- นักเรียนเทนำ้ จากขวดทมี่ ีปริมาณ 1 ลิตร ใสแ่ ก้วขนาด 1 เดซิลติ ร ได้ 10 แกว้ พอดี
- นกั เรียนเทนำ้ จากขวดทมี่ ปี รมิ าณ 1 ลติ ร ใส่แกว้ ขนาด 1 เดซลิ ิตร ได้มากกว่าหรอื น้อยกวา่ 10 แกว้
2. สิ่งทีไ่ ดเ้ รียนร้จู ากการทำกจิ กรรมน้ี
- ไดร้ ู้วา่ ปรมิ าณ 1 ลติ ร ต้องใช้แกว้ ตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร 10 ใบ
- ไดร้ ้วู า่ 1 ลติ ร เทา่ กับ 10 เดซลิ ติ ร
- ได้รจู้ กั หนว่ ยการวดั ทีม่ ีปริมาณน้อยกว่า 1 ลติ ร คอื เดซิลิตร

ลิขสทิ ธขิ์ องศนู ยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต ศนู ยว์ ิจยั คณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

35

ปัญหา/อุปสรรค
- กิจกรรมเปน็ กิจกรรมท่ีใชเ้ วลาค่อนข้างเรว็
- นกั เรยี นเทน้ำหกทำให้แกว้ สดุ ท้ายไม่เต็ม
- เน่ืองจากเปน็ การลงมอื ทดลองนกั เรยี นหลายคนอยากออกมาทำ

แนวทางการแกไ้ ข/ขอ้ เสนอแนะ
- ในครง้ั หน้าควรมีการรวมกจิ กรรมกบั คาบหนา้ เพราะจะมอี ะไรให้ทำ
- ผูส้ อนอธิบายเรื่องการทน่ี ำ้ ไม่เตม็ “เกดิ จากการท่เี ราเทหก” และเตมิ นำ้ ใหค้ รบ
- ผสู้ อนสรา้ งกติกาในการออกมาทดลองหน้าชัน้ เรียน

ลงช่อื …………..........……………………….....
(นางสาวกมลชนก จา่ ภา)

นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา

ลขิ สทิ ธิ์ของศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

36

แผนการจดั การเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ในโครงการพฒั นาวิชาชพี ครคู ณติ ศาสตร์ ด้วยนวตั กรรมศึกษาชัน้ เรยี น (Lesson Study)

และวธิ กี ารสอนแบบเปิด (Open Approach) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรยี นขจรเกยี รตถิ ลาง สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชนจงั หวดั ภเู ก็ต

กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ สาระการเรียนรู้ ขนาดและการวัด หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7

เรอื่ ง ปริมาณน้ำ หน้า 87 กจิ กรรมเรือ่ ง ต๊ะ ตงุ ตวง

คาบท่ี 4/6 จำนวน 50 นาที วนั ท่ี 2 มีนาคม 2564

ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรยี น ขจรเกียรติถลาง

ชื่อผูร้ ่วมสร้างแผน

1.นางบปุ ผา แสงศรี รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนขจรเกียรติถลาง

2.นางสาวธิดารตั น์ โสตะกุล หัวหน้ากล่มุ สาระคณิตศาสตร์

3. นางสาวณัฐธิดา มะอนนั ต์ ครปู ระจำวชิ าคณิตศาสตร์ ป.3

4. นางสาวกมลชนก จ่าภา นกั ศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา

5. นางสาวนนั วรรณ คำภีระ นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

ช่อื ผูบ้ ันทกึ นางสาวกมลชนก จา่ ภา

ชือ่ ผ้สู อน นางสาวกมลชนก จา่ ภา

1. เปา้ หมายของบทเรียนระดับหนว่ ยการเรยี นรูแ้ ละเป้าหมายของบทเรยี นในแตล่ ะคาบในหนว่ ยการเรียนรู้
นั้น (Aim of the Lesson)

เปา้ หมายของบทเรียนระดับหนว่ ยการเรียนรู้
1) นกั เรยี นสามารถแสดงวธิ กี ารเปรียบเทยี บปริมาณของน้ำได้
2) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของหน่วยแสดงปริมาณที่เรียกว่า “ลิตร” และสามารถเขียน
สัญลักษณ์แสดงหน่วยแสดงปริมาณ “ลติ ร” ได้
3) นกั เรียนสามารถวดั ปรมิ าณของนำ้ ที่มีปริมาณน้อยกว่า 1 l (ลติ ร) ได้
4) นักเรียนสามารถเข้าใจความหมายของเดซิลติ ร (10 เดซลิ ิตร เปน็ 1 ลติ ร) ได้
5) นักเรยี นสามารถเข้าใจความสัมพันธ์การวัดปริมาณของนำ้ ทอ่ี ยู่ในภาชนะ โดยใชถ้ ้วยตวง 1 l (ลติ ร)
และ 1 dl (เดซิลิตร) ได้
6) นกั เรียนสามารถสรา้ งถว้ ยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้
7) นักเรียนสามารถคำนวณหาปรมิ าณของน้ำได้
8) นกั เรียนสามารถบอกปรมิ าณบรรจุของภาชนะต่าง ๆ ได้
9) นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจความหมายของหนว่ ยแสดงปรมิ าณที่เรยี กว่า “มิลลิลติ ร” และสามารถเขียน
สญั ลักษณแ์ สดงหน่วยแสดงปรมิ าณ “มิลลิลติ ร” ได้

ลขิ สิทธ์ิของศนู ย์วจิ ัยคณิตศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ศนู ย์วจิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

37

10) นกั เรยี นสามารถเปล่ยี นหน่วยวดั ปริมาณน้ำได้
11) นักเรียนสามารถแกส้ ถานการณป์ ัญหาเกี่ยวกบั ปรมิ าณนำ้ ได้
เปา้ หมายของบทเรียนในแต่ละคาบในหน่วยการเรยี นรู้น้ัน (คาบที่ 4/6)
1. นักเรยี นสามารถเข้าใจความสมั พันธ์การวดั ปริมาณของนำ้ ท่ีอยู่ในภาชนะ โดยใชถ้ ้วยตวง 1 l (ลิตร)
และ 1 dl (เดซิลติ ร) ได้
2. นักเรยี นสามารถสร้างถว้ ยตวงขนาด 1 เดซลิ ิตรได้

2. ลำดบั กจิ กรรมการสอน ให้แบง่ เน้อื หาสาระในคาบท่จี ะสอนออกเปน็ กจิ กรรมยอ่ ย ๆ ในแตล่ ะช่วง
เพ่อื ให้ไดค้ วามรู้ ความคดิ รวบยอด แนวคิด วิธีการ ฯลฯ ท่เี ปน็ ขอ้ ความรสู้ ว่ นยอ่ ย ๆ เมือ่ ครบคาบเรียน
แลว้ จะได้ตามจดุ ประสงคข์ องคาบเรยี นน้นั

การแสดงแทนโลกจรงิ ของนกั เรียน
- ปรมิ าณน้ำในกล่องพลาสตกิ , ปรมิ าณน้ำในขวดโหล และปริมาณน้ำในขวดพลาสติก
ส่ือก่งึ รูปธรรม
- ขวดตวงขนาด 1 ลติ ร และแก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร
การแสดงแทนโลกคณติ ศาสตร์
- การวดั และตรวจสอบปริมาณน้ำทม่ี ีหน่วยเป็นลติ รกับเดซิลิตร

3. ข้นั ตอนการสร้างสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด
3.1 เนื้อหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ต้องการจะเน้นใน

สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดของหน่วยการเรียนรู้นี้ (พิจารณาเปรียบเทียบระหว่างหนังสือเรียน
คณิตศาสตร์ไทย กบั หนงั สอื เรียนคณติ ศาสตร์ญ่ปี ุ่น)

3.1.1 เนอื้ หาสาระ
1. ถ้วยตวง (measuring cup) หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการตวงของเหลวหรือของแข็งที่มีอนุภาค
ขนาดเล็ก บรเิ วณปากภาชนะจะบากเป็นร่องเพ่ือให้เทของเหลวหรือของแหง้ ออกมาไดส้ ะดวก และด้านข้างจะ
มีเครื่องหมายบอกปรมิ าณของเหลวหรอื ของแหง้ ทบี่ รรจอุ ยู่
2. ถว้ ยลิตร (cup of liter) หมายถงึ ถว้ ยตวงทีใ่ ช้เรยี กแทนหน่วยลิตรในการวดั ปรมิ าตรนำ้ 1 ลติ ร
3. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ
มีเกณฑ์ท่ีแน่นอนและใชก้ ันอย่างแพร่หลาย ตัวอย่างเชน่ ระบบเมตริกที่เป็นหน่วย ลติ ร เดซิลติ ร เป็นต้น
4. ลิตร (liter) เป็นชื่อหน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีค่าเท่ากับ 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดย
ปริมาณ 1 ลติ ร สามารถเขียนแทนด้วย 1 l

ลิขสิทธ์ิของศูนย์วจิ ยั คณิตศาสตรศึกษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไม่ได้รับอนญุ าต ศูนยว์ ิจัยคณิตศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

38

5. เดซลิ ติ ร (deciliter) หมายถงึ หน่วยย่อยทม่ี ปี ริมาณนอ้ ยกวา่ ลติ รซึ่งถูกแบง่ จากหน่งึ ถว้ ยลิตร (cup
of liter) ออกเปน็ 10 ส่วนเท่าๆ กัน โดย 1 เดซิลติ ร สามารถเขียนแทนดว้ ย 1 dl (เดซลิ ิตร) (10 เดซิลิตร = 1
ลติ ร)

3.1.2 ทกั ษะ/กระบวนการ
1. ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการทำงานกลมุ่ และมีความสามัคคีในกลมุ่ )
2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ (นักเรียนสามารถวิเคราะห์เกย่ี วกับวธิ ีการวดั ปริมาณน้ำ)
3. ทกั ษะการเช่ือมโยง (นักเรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้เดิมมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา)
4. ทกั ษะการนำเสนอ (นกั เรียนสามารถนำเสนอแนวคิดในการวัดปรมิ าณน้ำ)
5. ทกั ษะการสือ่ สาร (นักเรยี นสามารถส่อื สารและต้ังคำถาม เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทต่ี รงกนั ได้
3.1.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มคี วามรบั ผดิ ชอบและมีวนิ ัยในการทำงาน
2. นักเรยี นเกดิ การยอมรับและรบั ฟงั ในความคดิ เหน็ ของคนอนื่
3. มีความกล้าแสดงออก
4. การปฏิบตั ิตามกติกาและข้อตกลงในช้นั เรยี น

3.2 คำสำคัญในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด ธรรมชาติการคิดหรือกระบวนการเรียนรู้ของ
นักเรียนจากหน่วยการเรียนรู้ก่อนหน้านี้ หรือจากชั้นเรียนก่อนหน้านี้ หรือจากประสบการณ์ใน
ชีวิตประจำวันของนักเรียนที่ครูรู้ ที่เกี่ยวข้องกับ เน้ือหาสาระ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอันพงึ
ประสงค์ที่กำหนดในข้อ 3.1 เพื่อใช้ในการพิจารณาภาษาที่จะกำหนด “คำสำคัญ” (Key words) ใน
สถานการณป์ ญั หาปลายเปดิ

1. ถ้วยลิตร (cup of liter) หมายถงึ ถว้ ยตวงทใ่ี ชเ้ รยี กแทนหนว่ ยลติ รในการวัดปรมิ าณน้ำ 1 ลิตร
2. หน่วยมาตรฐาน (standard unit) หมายถึง หน่วยการวัดที่บัญญัติให้ใช้ร่วมกันซึ่งมีความแม่นยำ
มเี กณฑ์ที่แนน่ อนและใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลาย ตวั อยา่ งเชน่ ระบบเมตรกิ ที่เป็นหน่วย ลติ ร เดซลิ ิตร เปน็ ต้น
3. ลิตร เป็นชื่อหน่วยมาตราตวงตามวธิ ีเมตริก มีค่าเท่ากับ 1000 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยปริมาณ 1
ลิตร สามารถเขยี นแทนด้วย 1 l
4. เดซลิ ติ ร (deciliter) หมายถงึ หน่วยยอ่ ยท่ีมปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ ลิตรซงึ่ ถกู แบง่ จากหนง่ึ ถ้วยลติ ร (cup
of liter) ออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กัน
5. การแปลงหน่วย, การเปลี่ยนหน่วย (change denomination) หมายถึง การทำให้ค่าที่ได้จาก
การวดั ทเ่ี ป็นหน่วยทตี่ า่ งกัน ให้เปน็ หนว่ ยทีอ่ ยู่ในมาตราเดยี วกัน สามารถเปลีย่ นจากหนว่ ยทีเ่ ล็กกว่าไปหน่วยที่
ใหญ่กวา่ หรอื เปลีย่ นจากหนว่ ยท่ใี หญ่กว่าเป็นหนว่ ยที่เลก็ กว่า เชน่ 1 ลิตร เท่ากับ 10 เดซิลิตร

3.3 สถานการณ์ปญั หาในรูปคำสง่ั ทีช่ ัดเจนและนกั เรยี นเข้าใจไดง้ ่ายๆ
คำสั่ง : ใหน้ ักเรยี นคาดเดาและตรวจสอบปรมิ าณน้ำในภาชนะตอ่ ไปน้ี แล้วบันทกึ ลงในใบกจิ กรรม

ลิขสทิ ธ์ิของศนู ยว์ จิ ยั คณิตศาสตรศกึ ษา หา้ มเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต ศูนย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

39

3.4 การสรา้ งหรือออกแบบสื่อใหส้ ัมพันธ์กบั คำสง่ั ในสถานการณ์ปัญหาปลายเปิด โดยมีส่ือหลักท่ี
ใชใ้ นการสร้างสถานการณป์ ญั หาปลายเปดิ และสื่อส่งเสริมทีจ่ ะใช้ในขณะท่ีนักเรียนนำเสนอแนวคิดตอ่ ช้ัน
เรียน หรอื ในขณะท่ีครูสรปุ บทเรยี น

สอ่ื หลัก
- สถานการณ์ปัญหา คำสง่ั และใบกิจกรรม
- กล่องพลาสติกบรรจุนำ้ 1 ลิตร 7 เดซลิ ติ ร
- กลอ่ งพลาสติกบรรจนุ ำ้ 1 ลิตร 5 เดซิลติ ร
- ขวดตวงขนาด 1 ลิตร (จากคาบ 26)

- แกว้ ตวงขนาด 1 เดซิลติ ร (จากคาบ 27)

- ขวดพลาสติกและแก้วพลาสตกิ
- ถาดรองนำ้
ส่อื เสริม
- ภาพจำลองการแบง่ น้ำ
- แถบข้อความสำหรับบันทึกปริมาณน้ำ
- แถบข้อความสำหรับสรุปประเด็นสำคญั ในชน้ั เรียน

ลิขสทิ ธิ์ของศนู ยว์ จิ ยั คณติ ศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพร่โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต ศูนย์วจิ ัยคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

40

3.5 การกำหนดเวลาที่ใช้ในแตล่ ะคำสั่ง และการกำหนดคาบพร้อมกับเป้าหมายของบทเรียนของ
แต่ละคาบ

1. ขั้นนำเสนอสถานการณ์ปัญหา (10 นาที)
1) ครูกล่าวทักทายนักเรียน และสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของลิตรและเดซิลิตร (1 l
เท่ากบั 10 dl)
2) ครูนำกล่องพลาสติกทั้ง 2 ขนาดที่บรรจุน้ำมาให้นักเรียนดู และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทายว่ามี
ปริมาณนำ้ เท่าไหร่
3) ครตู ิดคำสงั่ บนกระดาน “ใหน้ ักเรยี นคาดเดาและตรวจสอบปรมิ าณนำ้ ในภาชนะตอ่ ไปนี้ แลว้ บันทกึ
ลงในใบกิจกรรม” ให้นักเรียนอ่านคำสั่งพร้อมกัน จากนั้นครูแบ่งห้องเรียนออกเป็น 2 ฝั่ง เพื่อวางอุปกรณ์ท่ี
บรรจุน้ำเป็นฝง่ั ละ 3 อัน เพ่ือใหน้ ักเรียนสลบั กนั วดั ปริมาณน้ำตามเวลา
4) ครูกำหนดเวลาในการทำกิจกรรมและสร้างข้อตกลงในการทำกิจกรรมร่วมกันกับนักเรียน จากน้ัน
แจกอปุ กรณแ์ ละใบกจิ กรรมให้กบั นักเรยี นแต่ละกล่มุ
2. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองของนักเรยี น (20 นาท)ี
5) นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยใช้ขวดตวงขนาด 1
ลิตร และแกว้ ตวงขนาด 1 เดซลิ ติ ร ท่นี กั เรยี นสรา้ งไวใ้ นคาบก่อน ๆ เพอื่ วัดปรมิ าณนำ้ ในขวดพลาสติก
6) ในขณะที่นักเรียนลงมือแก้ปัญหา ครูคอยกระตุ้นนักเรียน สังเกตแนวคิดของนักเรียนว่าตอบสนอง
ตอ่ คำสง่ั หรอื ไม่ ถ้าหากพบความผิดพลาดครูอาจกระตุ้นนักเรียนอีกครั้งโดยให้ทบทวนสถานการณ์ปัญหา หรือ
ตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหาของกลุม่ ตนเองอีกครั้ง พร้อมทั้งบันทึกแนวคิดของนักเรียนเพือ่ เป็นแนวทางในการ
จดั ลำดับในการนำเสนอและอภปิ รายแนวคิดในขั้นถดั ไป
7) หากนักเรยี นวดั ปรมิ าณน้ำในอุปกรณ์แรกเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ครูใหส้ ญั ญาณนักเรียนเพื่อสลับฝั่งกัน
วดั ปรมิ าณนำ้ ในอุปกรณอ์ ีกอันทย่ี ังไม่ได้วัด
3. ขัน้ อภิปรายและเปรียบเทยี บแนวคดิ ทัง้ ชนั้ เรียน (10 นาท)ี
8) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวธิ ีการวัดปริมาณน้ำ โดยใช้ขวดตวงขนาด 1
ลติ ร และแก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร พรอ้ มท้ังคอยกระต้นุ ให้นักเรียนฟังและซักถามเพื่อนท่ีออกมานำเสนอหน้า
ชัน้ เรียน
4. สรปุ เพอ่ื เชอ่ื มโยงแนวคิดของนักเรียนทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชนั้ เรียน (10 นาที)
9) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ปรมิ าณนำ้ ทไี่ ด้จรงิ จากการวัดอีกครั้ง
10) ครูใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภปิ รายและสรุปในประเดน็

- การวัดปริมาณนำ้
- การเขยี นปริมาณนำ้

3.6 การคาดคะเนแนวคิดของนกั เรียนท่จี ะตอบสนองตอ่ คำสั่งแตล่ ะคำส่ัง
คำสัง่ : ให้นกั เรียนคาดเดาและตรวจสอบปริมาณน้ำในภาชนะต่อไปนี้ แล้วบันทึกลงในใบกจิ กรรม

ลขิ สทิ ธ์ิของศนู ยว์ จิ ัยคณิตศาสตรศกึ ษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ศนู ยว์ จิ ัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

41

การคาดการณ์แนวคิดของนักเรยี น
คำสั่ง : นักเรียนช่วยกนั ตรวจสอบปริมาณนำ้ ได้ดังน้ี
1. กลอ่ งพลาสตกิ ขนาดท่ี 1

- ตรวจสอบปรมิ าณนำ้ ได้ 1 ลิตร กับ 5 เดซลิ ิตร
2. กล่องพลาสตกิ ขนาดท่ี 2

- ตรวจสอบปริมาณน้ำได้ 1 ลติ ร กบั 7 เดซลิ ิตร

4. การจัดลำดับการนำเสนอแนวคดิ ของนกั เรียนเพอื่ ใหเ้ กดิ การเชื่อมโยงท้งั แนวคิดและความคิดรวบยอด
ทางคณติ ศาสตรแ์ ละอืน่ ๆ ของบทเรียนในแต่ละคาบ

- แนวคดิ กลมุ่ ท่ีวัดปริมาณน้ำได้ไมพ่ อดี คอื ไดน้ ้อยกวา่ หรอื มากกวา่
- แนวคิดกลุ่มทว่ี ัดปริมาณน้ำไดพ้ อดี
- แนวคดิ กลุ่มที่วดั ปรมิ าณน้ำโดยมีการเปลย่ี นหนว่ ยระหว่างลิตรและเดซลิ ติ ร

5. ประเด็นท่จี ะใช้ในการร่วมอภปิ รายในช้ันเรียนเพอ่ื ใหน้ ักเรียนบรรลุเป้าหมายของบทเรยี นในแตล่ ะคาบ
- วิธีการวดั ปริมาณนำ้ จะตอ้ งเทนำ้ ลงในขวดตวงขนาด 1 ลิตรใหเ้ ต็มก่อนก่อน จากนน้ั หากปริมาณนำ้

เหลือจากขวดลิตร จงึ นำนำ้ มาเทใส่แก้วตวงขนาด 1 เดซลิ ิตร เพ่ือดูวา่ ไดเ้ ท่าไร
- การเขียนแสดงปริมาณน้ำ จะต้องเขียนหน่วยลิตรก่อน แล้วจึงตามด้วยหน่วยเดซิลิตร เช่น กล่อง

พลาสติกบรรจุน้ำ 1 ลิตร 7 เดซิลิตร หรืออาจเขียนโดยใช้หน่วยเดซิลิตรเพียงหน่วยเดียว เช่น กล่องพลาสติก
บรรจนุ ้ำ 17 เดซิลติ ร โดยเปลยี่ นหน่วยลติ รให้เปน็ หนว่ ยเดซลิ ิตร (1 ลิตร เทา่ กับ 10 เดซลิ ิตร แล้วจึงนำหน่วย
เดซิลิตรมารวมกันเป็น 10+7 = 17 เดซลิ ติ ร)

ลขิ สิทธ์ิของศูนย์วจิ ยั คณิตศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพรโ่ ดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ศูนยว์ ิจัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

42

6. การวดั และประเมนิ ผล

สิ่งทต่ี ้องการวัด วธิ ีการวัด เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวัด

ด้านความรู้ (K) สังเกตจาก - การทำกิจกรรม

1. นักเรียนสามารถเข้าใจความสัมพันธ์การ - การตอบคำถาม - ใบกิจกรรม

วัดปรมิ าณของนำ้ ที่อยู่ในภาชนะ โดยใช้ถ้วย - การร่วมกจิ กรรม
ตวง 1 l (ลติ ร) และ 1 dl (เดซิลติ ร) ได้ - การทำ/ตรวจใบงาน
2. นักเรียนสามารถสร้างถ้วยตวงขนาด 1

เดซิลติ รได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) สงั เกตจาก - ใบกิจกรรม

1. ทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม (นักเรียน - การทำกจิ กรรมกล่มุ

มีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่มและมีความ - การแกส้ ถานการณ์ปัญหา

สามัคคีในกล่มุ ) - การนำเสนอแนวคดิ หนา้ ช้นั

2. ทักษะการคิดวิเคราะห์ (นักเรียนสามารถ เรยี น
วเิ คราะห์เก่ยี วกับวิธีการวดั ปรมิ าณน้ำ) - การแสดงความคดิ เหน็ หรือตง้ั
3. ทักษะการเชื่อมโยง (นักเรียนสามารถ คำถาม
เชอ่ื มโยงความรู้เดมิ มาใช้ในการแก้ปญั หา)

4. ทักษะการนำเสนอ (นักเรียนสามารถ

นำเสนอแนวคิดในการวดั ปรมิ าณนำ้ )

5. ทักษะการสื่อสาร (นักเรียนสามารถ

สอื่ สารและต้ังคำถาม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจ

ที่ตรงกนั ได้

ดา้ นเจตคติ (A) สงั เกตจาก -

1. มีความรับผิดชอบและมีวินัยในการ - ความสนใจในการทำกจิ กรรม

ทำงาน - การมีส่วนร่วม ในการทำงาน

2. นักเรียนเกิดการยอมรับและรับฟังใน กลมุ่

ความคดิ เห็นของคนอน่ื - การแสดงออกทางพฤติกรรม

3. มคี วามกล้าแสดงออก ขณะทำกจิ กรรม

4. การปฏิบัติตามกติกาและข้อตกลงในชั้น

เรยี น

ลขิ สทิ ธ์ิของศนู ย์วจิ ยั คณติ ศาสตรศึกษา ห้ามเผยแพร่โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ศูนย์วิจัยคณติ ศาสตรศึกษา มหาวิทยาลยั ขอนแกน่


Click to View FlipBook Version