The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitima.kt55, 2022-03-23 01:09:47

25640706_184543_5795

25640706_184543_5795

งานวิจัยในชั้นเรยี น
การพัฒนาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

โดยใชส้ มุดบนั ทึกการสนทนา

นางสาวราตรี ศรสี องเมอื ง

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ
ปีการศกึ ษา 2562

โรงเรียนเลาขวัญราษฎร์บารุง ตาบลเลาขวญั อาเภอเลาขวญั จังหวัดกาญจนบรุ ี
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 8



ชือ่ เรื่อง การพฒั นาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

โดยใช้สมุดบนั ทึกการสนทนา

ผ้วู จิ ัย นางสาวราตรี ศรีสองเมือง

บทคัดยอ่

การพดู ภาษาอังกฤษ เปน็ กระบวนการเรียนรพู้ ืน้ ฐานที่จาเป็นอย่างย่งิ สาหรับผูท้ ่ีเรยี น ภาษาอังกฤษเป็น

ภาษาท่สี อง ซง่ึ การวิจยั ครงั้ น้ีมีความมุ่งหมายเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

โรงเรยี นเลาขวัญราษฎรบ์ ารงุ ตาบลเลาขวญั อาเภอเลาขวัญ จังหวดั กาญจนบุรี สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา

มธั ยมศึกษา เขต 8 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 32 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วยแผนการจัดการ

เรยี นรู้ จานวน 1 แผน และแบบบันทึกการสนทนา ผลการวิจัยพบวา่

พบวา่ มีนักเรียน จานวน 2 คน ไมส่ ามารถพดู ภาษาองั กฤษได้เลย มนี ักเรยี น จานวน 8 คนที่พอจะ
พดู ไดต้ ามเกณฑก์ ารประเมินทักษะการพูด แต่นักเรียนทง้ั 22 คน ผา่ นเกณฑ์ จากการประเมินการพัฒนาทักษะการ
พูดภาษาอังกฤษและการสนทนา โดยการใช้แบบบนั ทึกการสนทนา ของนักเรียน กลุ่มเปา้ หมายรายบุคคลระหวา่ ง
การทากิจกรรม เม่ือพจิ ารณาปรากฏว่า นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 32 คน มีนกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดมี าก
จานวน 12 คน เกณฑ์ระดับดีจานวน 10 คน และเกณฑ์ระดบั พอใช้ 10 คน ซ่ึงระดับดีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 37.50
ระดบั ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 31.25 และระดับพอใช้คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00

การใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารในชั้นเรียน เพอ่ื พัฒนาทักษะการพดู ภาษาอังกฤษ
และการสนทนา โดยการใช้แบบบันทกึ การสนทนา ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2/2562 ปรากฏ
ว่า นักเรยี นไมส่ ามารถพูดภาษาอังกฤษที่เปน็ ประโยคยาวๆ หรือ วลไี ด้และไมเ่ ข้าใจในคาส่งั ภาษาองั กฤษ ผู้วิจยั จึง
ลดความยากของประโยค และใช้ประโยคคาถามง่ายๆ ทเี่ จอในชวี ิตประจาวันบ่ อยๆ ทาใหน้ ักเรียนเรม่ิ พูดประโยค
คาถามถามครู และเร่มิ สนทนาภาษาองั กฤษได้มากขึ้น กล้าท่ีจะเข้าไปถามครปู ระจาวิชาต่างๆเปน็ ภาษาองั กฤษ

สารบัญ ข

บทคัดย่อ หน้า

สารบัญ ก
บทท่ี 1 บทนา ข
ทม่ี าและความสาคญั 1
ขอบเขตของการวจิ ัย 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง
งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 5
งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในประเทศ 21
งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องในต่างประเทศ 22
บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การวิจัย 23
ขอบเขตของการวิจยั 23
ข้นั ตอนดาเนนิ การวจิ ยั 24
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 30
ตอนท่ี 1 ความสามารถทางดา้ นการพูดภาษาอังกฤษและการสนทนาของนกั เรียน
30
กอ่ นทาการศกึ ษาคน้ ควา้
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 30
บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจยั 32
สรุปผล 33
ขอ้ เสนอแนะ 33
ภาคผนวก ก 34
ภาคผนวก ข 38



บทที่ 1

บทนา

ทมี่ าและความสาคญั

การพดู เปน็ กระบวนการสร้างและการกระจายความหมายโดยใชถ้ อ้ ยคาและไมใ่ ช้ถ้อยคา เป็นสญั ลักษณ์ใน
บริบทต่างๆ การพดู เป็นสว่ นสาคญั ของการเรียนการสอนภาษาท่สี อง แม้ว่าการพูดมีความสาคัญแต่เม่อื หลายปกี ่อน
การสอนทักษะพูดถกู ประเมินค่าต่าและการสอนภาษาน้ันเป็นเพียงการทาแบบฝึกหัดช้า ๆ หรือการท่องจาบท
สนทนาเท่านั้น อย่างไรก็ตามโลกปจั จบุ นั ได้กาหนดเป้าหมายของการสอนทกั ษะการพูดเป็นการพัฒนาการส่ือสาร
ของนักเรยี น เน่ืองจากวิธีการสอนนนั้ นักเรียนสามารถแสดงความร้สู กึ ออกมาเป็นคาพูดได้ ซ่งึ เป็นการเรียนรู้วิธกี าร
ปฏิบัติตนตามกฎระเรยี บของสังคมและวัฒนธรรมท่เี หมาะสม แต่กรณขี องการติดตอ่ ส่ือสารน้ันเน้นการสอนเพ่ือให้
นกั เรียนภาษาท่ีสองได้มีวธิ ีทีด่ ีท่ีสดุ ในการพูด (Sasson. 2007 : Web site) นักเรียนสว่ นใหญ่ถอื เอาความสามารถ
ในการพูดเป็นเพียงเครื่องวัดความสาเร็จในแงค่ วามสามารถในการสนทนาโตต้ อบซ่งึ เปน็ เป้าหมายของภาษา ดังนั้น
หากผู้เรียนไมไ่ ด้เรยี นรู้ วธิ ีการพดู หรอื ไม่ได้รับโอกาสในการพูดในห้องเรียนภาษา นักเรียนอาจจะไม่มีแรงกระตุ้น
และไมม่ ีความสนใจในการเรยี นรู้ใดๆ ในทางตรงกนั ขา้ ม หากกจิ กรรมถูกนาไปใช้ในทางทถี่ กู ต้อง นกั เรียนได้ฝึกพูด
ในช้ันเรียนอย่างสนุกสนาน ทาให้ห้องเรียนภาษามีความสนุกสนานและมีชวี ิตชีวามากย่ิงข้ึน (Harmer. 2004 :
Web site) การสอนการพูดมีความสาคัญต่อการเรยี นรู้ภาษาท่สี อง การที่นกั เรียนมีความสามารถใน การส่อื สาร
ภาษาทีส่ องอยา่ งชัดเจนนัน้ ให้มีประสิทธิภาพกอ่ ให้เกิดความสาเร็จของนักเรยี นในโรงเรยี นและความสาเร็จต่อไปทุก
ช่วงชีวติ ดังน้ันจึงจาเป็นที่ผูส้ อนภาษาควรใส่ใจอย่างย่ิงกับการสอนพูดมากกวา่ การให้นักเรยี นท่องจา การจัด
สภาพแวดล้อมทางการสื่อสารน้ันมีความหมายมากมายและเกิดขึ้นโดยต รงกับความต้องของนักเรียน โดย
วัตถุประสงคข์ องกจิ กรรมการพูดตา่ ง ๆ เชน่ ที่กลา่ วข้างต้นสามารถช่วยนักเรียนได้เปน็ อยา่ งมากในการพฒั นาทักษะ
การโต้ตอบข้ันพ้ืนฐานท่ีจาเป็นสาหรับชวี ิตนักเรียน กจิ กรรมเหล่าน้ีทาใหน้ ักเรียนมีทกั ษะและกระบวนการเรยี นรู้
และในเวลาเดียวกนั ทาใหก้ ารเรียนรูม้ ีความหมายและสนกุ สาหรับพวกเขา (Kayi. 2006 : Web site) การพัฒนา
ทักษะการพูดของนกั เรียนนั้นเปน็ เรือ่ งยากแต่การสรา้ งความม่ันใจใหก้ ับนักเรียนในการพูดและวธิ ีการพูด แต่มี
กิจกรรมความคิดสรา้ งสรรคส์ ามารถสอนไดท้ ุกๆอย่าง กระบวนการน้เี ปน็ กิจกรรมที่ให้กาลังใจซงึ่ แตกตา่ งจากทักษะ
อน่ื ๆ (Labastida.2011 : Web site) การคิดเชิงสร้างสรรค์ ส่งผลต่อ ช่องว่าง และ ขอบเขต ของการศึกษา จาก
อนุบาลจนถึงจบการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษา วิทยาลยั และมหาวิทยาลยั และ หลงั จากการทากจิ กรรมในโรงเรยี น
เรยี น ผู้เชี่ยวชาญให้การยอมรับว่าควรมีการเริ่มนารูปแบบการคิดเชิงสรา้ งสรรคเ์ ขา้ มาใชก้ ับนักเรียน นักเรียนใน
ระดบั ปฐมวัยถูกกระตุ้นให้คิด มากกวา่ การสร้างสรรค์ นักเรียนจะมคี วามสนุกในการคิดริเรมิ่ และพฒั นาความอดทน
ในส่ิงที่ยากจะเข้าใจ และแตกต่างจากเดิม ขณะท่ี ผู้เช่ียวชาญทางด้านวรรณกรรมพาดพิงไปยังความคิดเ ชิง
สรา้ งสรรค์ คือ การสรา้ งประเด็น มเี ทคนคิ และเครื่องมือท่เี หมาะสมกับครู ท้งั แปลกใหม่และชว่ งเวลา ที่จะกระตุ้น



การคิดเชิงสร้างสรรค์ ( Bono. 2010 : Web site ) กจิ กรรมความคดิ สร้างสรรคเ์ ป็นการเพิ่มโอกาสที่หลากหลาย
ให้กบั นักเรียนมากขึ้นเกีย่ วกับความแตกตา่ งกันและเป็นส่ิงท่ีน่าจะทาให้นา่ สนใจอีกทงั้ กจิ กรรมท่ีพวกเขาเลอื กที่
สาคัญส่ิงแวดล้อมของกลุ่มเด็กท่ีอยู่ในสังคมที่มีฐานะเศรษฐกิจที่ดีมีโอกาสมากกว่าในกา รได้รับความรู้และ
ประสบการณท์ ่ีสาคัญในการสร้างสรรค์ การแสดงความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษา เป็นความคิด
สร้างสรรค์เปน็ สิ่งหน่ึงเกิดข้ึนอยใู่ นใจหรือเกิดขนึ้ ในรา่ งกาย เปน็ การแสดงบางอย่างของความคิดทตี่ ่างจากเดิมของ
ความคิดที่มีอยู่ (Prasad. 2009 : 1 ) การใช้กิจกรรมความคิดสร้างสรรค์ในกา รสอนภาษาอังกฤษเป็นการ
เตรียมการสาหรบั การจินตนาการในการทางาน การแกไ้ ขปัญหาในทกุ ๆสถานการณ์ (Davison and others. 2011
: 146 ) ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้และในชีวิต ความคิดสรา้ งสรรค์
เกีย่ วข้องกบั ช่วงของทกั ษะที่สามารถสง่ เสริมขา้ มหลกั สตู ร มีศักยภาพในการคิดสร้างสรรค์ในทุกกิจกรรมของมนษุ ย์
และในทุกๆบทเรียน บทความนี้มีกลยุทธท์ ี่สามารถปรับเพือ่ เพ่มิ การเรียนการสอนในชว่ งของเนื้อหาวิชา โดยมี
จุดมุง่ หมายเพอ่ื พฒั นาศักยภาพของเด็กจากความคิดเดิมสู่ผลสัมฤทธิ์ทางความคิดสร้างสรรค์ ( Fisher. 2006 :
Web site) ความคิดสร้างสรรค์เป็นวิธที ่ีมีประสิทธภิ าพทีด่ ึงดูดให้เด็กมีส่วนร่วมกับ การเรียนรู้ เด็กที่มีความคิด
สรา้ งสรรค์ พิสูจนใ์ ห้เห็นถึงระดับทเ่ี พ่มิ ข้ึนของแรงจูงใจและความเข้าใจในตนเอง ความคดิ สร้างสรรค์เตรียมความ
พร้อมให้พวกเขามีทักษะการแกไ้ ขในเหตุการณ์เฉพาะหนา้ ไดด้ ี เชน่ ในปัจจุบัน นายจ้างต้องการคนท่ีปรับตวั กับส่ิง
ใหม่ๆ สามารถแก้ปญั หาและติดต่อส่ือสารกับคนอ่นื ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี การพัฒนาความสามารถในการมคี วามคิด
สรา้ งสรรค์สามารถเสริมสร้างชวี ติ และช่วยใหน้ าไปส่สู งั คมท่ดี ีกวา่ ( Fisher. 2006 : Web site) ความคิดสร้างสรรค์
ไม่ได้เก่ียวกับศิลปะ หรือเฉพาะประเภทของแต่ละบุคคลเท่าน้ัน เราทุกคนมี ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์
สาหรับการสรา้ งและขยายความคิด ขอ้ เสนอแนะสมมตฐิ าน, การใช้จินตนาการและกาลงั มองหาผลท่ีตามมาของการ
คิดที่แปลกใหม่ในการทากจิ กรรมต่างๆ ความคดิ สร้างสรรค์หมายถึง การสร้างผลจากความคิดเดิม ความคิดริเร่ิม
อาจจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์ท่ีเคยเกิดขึ้น หรืออาจจะเป็นต้นฉบับท่ีแปลกใหม่ไม่ซ้า ซาก ความคิด
สร้างสรรคย์ ังเกย่ี วกับการตดั สิน ความสามารถของเราในการตดั สินคณุ คา่ และผลลพั ธ์ของความคิด (Fisher. 2006
: Web site) ด้วยเหตผุ ลดังกล่าวผู้วจิ ยั ไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญในการสอนการพูดภาษาองั กฤษโดยใช้สมุดบนั ทึกการ
สนทนาสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือให้เกิดกา รเรียนรู้ ฝึกฝนและมีการพัฒนาทักษะการพูด
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ ซงึ่ เป็นการกระตุ้นให้นักเรยี นมีแรงจงู ใจที่จะเรียนทักษะการพดู มากข้ึน
อีกท้ังยังเป็นการสรา้ งทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและเป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการพูด
ภาษาองั กฤษ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน



ความมุ่งหมายของการวิจยั

เพอื่ พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สมุดบันทึกการสนทนา ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนเลา
ขวัญราษฎรบ์ ารงุ สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 8 อาเภอเลาขวญั จงั หวัดกาญจนบุรี

ความสาคญั ของการวจิ ัย

1. เพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนาทักษะการพดู ภาษาอังกฤษของนักเรยี นโดยใชส้ มดุ บนั ทึกการสนทนาเป็นกิจกรรม
ในการเรยี นรู้โดยบูรณาการเรยี นการสอนกบั ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียน

2. เพื่อจะได้ทราบข้อมูลสรปุ เก่ียวกับกิจกรรมการสอนทักษะการพดู ภาษาองั กฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3
โดยใช้สมุดบันทกึ การสนทนาเป็นกิจกรรมในการเรียนรู้

3. เพือ่ เปน็ แนวทางสาหรบั ครูผูส้ อนและผู้ที่เกย่ี วข้องได้ทาการวิจัยและส่งเสรมิ การทากิจกรรมการเรยี นการสอนให้
มีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลตามความมงุ่ หมายที่ต้องการ

ขอบเขตของการวิจยั

การวิจยั คร้ังนเ้ี ป็นการวิจัยกึง่ ทดลอง โดยมขี อบเขตการวิจัย ดังนี้

1. กล่มุ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ัย นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเลาขวญั ราษฎร์บารุง สังกัดสานกั งานเขต
พนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 8 อาเภอเลาขวญั จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2562 จานวน 1
ห้องเรยี น โดยใชว้ ธิ กี ารสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)

2. ตัวแปรทีศ่ กึ ษา

2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การสอนทักษะการพดู ภาษาองั กฤษโดยใชส้ มุดบันทึกการสนทนา

2.2 ตวั แปรตาม คอื ความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ

2.3 สมมติฐาน คือ การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สมุดบันทึกการสนทนา จะทาให้ผลสัมฤทธิ์ในการ
เรียนวิชาภาษาตา่ งประเทศ ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 สงู กว่าการสอนทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษด้วย
วิธีการสอนปกติ

3. ระยะเวลาทใี่ ช้ในการวิจยั ทัง้ ส้ิน 1 ภาคเรยี นคอื ปีการศึกษา 2562 เปน็ เวลา 3 เดือน เริ่มจากเดือนพฤศจิกายน
– กุมภาพันธ์ 2562

4.เนื้อหาท่ีใช้ในการวจิ ัย เนอ้ื หาทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครั้งน้ีมาจากแหลง่ การเรียนร้ตู า่ งๆทสี่ อดคล้องกับหลกั สูตร การศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน ช่วงช้นั ท่ี 3 ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ พุทธศักราช
2551 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มที ง้ั หมด 10 ประโยค ดงั น้ี



4.1 Hello! My name is …………………… . I’m from M.3. Can I ask you some questions?
4.2 What is your name?
4.3 How old are you?
4.4 What is your telephone number?
4.5 What is your favorite color?
4.6 What subject do you teach?
4.7 How many people are there in your family?
4.8 Can you play sport?
4.9 Can you eat spicy food?
4.10 I hope you have a great day, see you again next time.
นิยามศพั ท์เฉพาะ

1. ทักษะการพูด หมายถึง กิจกรรมที่จดั ข้นึ ใหน้ ักเรียนได้พูดภาษาอังกฤษและกล้าแสดงออกในการใช้ประโยค
คาถามกบั ครูและบุคคลต่างๆ เพือ่ ให้นกั เรยี นพูดเพอื่ สื่อสาร และใชน้ ้าเสยี งหรือถ้อยคา ตลอดจนการแสดงท่าทาง
ประกอบในการพดู เพ่อื ถ่ายทอดอารมณ์และความคิดสร้างสรรค์
2. คาว่า การสื่อสา ร (communications) มีท่ีมา จากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า communis หมายถึง ควา ม
เหมือนกันหรอื ร่วมกัน การส่ือสาร (communication) หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้
ประสบการณ์ ความรสู้ ึก ความคดิ เหน็ ความต้องการจากผู้สง่ สารโดยผ่านสอ่ื ต่าง ๆ ท่อี าจเปน็ การพูด การเขียน
สญั ลักษณอ์ ืน่ ใด การแสดงหรือการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ไปยงั ผู้รับสาร ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกัน
ไปตามความเหมาะสม หรอื ความจาเป็นของตนเองและคู่สื่อสาร โดยมีวัตถปุ ระสงค์ให้เกิดการรบั รูร้ ่วมกันและมี
ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองต่อกนั บรบิ ททางการสอ่ื สารท่ีเหมาะสมเป็น ปัจจัยสาคญั ทจ่ี ะช่วยใหก้ ารส่ือสารสัมฤทธผ์ิ ล
การสอ่ื สารเปน็ ปัจจยั สาคัญในการดารงชวี ิต มนุษย์จาเปน็ ต้องติดตอ่ สือ่ สารกันอยู่ตลอดเวลา การส่ือสารจึงเป็น
ปัจจัยสาคัญอย่างหนึง่ นอกเหนือจากปัจจยั พนื้ ฐานในการดารงชวี ิตของมนุ ษย์ การสอื่ สารมบี ทบาทสาคัญต่อการ
ดาเนินชีวิตของมนุษย์มาก การสื่อสารมีความสาคญั อย่างย่ิงในปัจจบุ ัน ซึ่งไดช้ ่ือว่าเปน็ ยคุ โลกาภิวตั น์ เป็นยุคของ
ข้อมูลข่าวสาร การส่ือสารมีประโยชน์ท้ังในแง่บุคคลและสังคม การสื่อสารทาให้คนมีความรู้และโลกทัศน์ท่ี
กวา้ งขวางข้ึน การส่อื สารเปน็ กระบวนการท่ีทาให้สังคม เจริญกา้ วหน้าอย่างไม่หยุดยงั้ ทาให้มนุษยส์ ามารถสืบ
ทอดพัฒนา เรียนรู้ และรับรู้วัฒนธรรมของตนเองและสังคมได้ การสื่อสารเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนา
ประเทศ สร้างสรรค์ความเจรญิ ก้าวหน้าแกช่ ุมชน และสงั คมในทุกด้าน



บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

ในการวิจัยครง้ั นี้ ผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาเพ่ือเป็นการพัฒนาความสามารถดา้ น ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ และการ
สนทนา โดยใช้แบบบันทึกการสนทนา ผ้วู จิ ัยได้ค้นควา้ เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง และจะนาเสนอตามลาดับ
ดังต่อไปน้ี

1.เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง
1.1. กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศักราช 2551
1.2. การพดู ภาษาองั กฤษและการสนทนา

2. งานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
2.1.งานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งในประเทศ
2.2.งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้องในต่างประเทศ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551

กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 1-243) ได้จัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช
2551 โดยพฒั นามาจากผลการวจิ ยั หลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 และข้อมูลจากแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ตามเจตนารมณม์ าตรา 80 ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาใชใ้ นการพัฒนาหลกั สูตร เพ่ือให้การจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐานสอดคลอ้ งกับสภาพความ
เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิทยาการ เปน็ การสรา้ งกลยุทธ์ใหม่ ในการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาใหส้ ามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีศกั ยภาพในการแขง่ ขัน
และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผเู้ รียนมีจิตสานึกในความเป็นไทย มีระเบียบวนิ ัย คานงึ ถึง
ประโยชน์ส่วนรวมและยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ซ่ึงมี
สาระสาคัญดังหัวข้อต่อไปน้ี

1.ทาไมตอ้ งเรียนภาษาตา่ งประเทศ
ในสังคมโลกปจั จุบัน การเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศมีความสาคญั และจาเป็นอยา่ งยง่ิ ในชีวิตประจาวัน เน่ืองจากเป็น
เครื่องมอื สาคัญในการติดตอ่ สือ่ สาร การศกึ ษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับ
วัฒนธรรมและวิสยั ทัศนข์ องชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมุมมองของสังคมโลก
นามาซงึ่ มิตรไมตรีและความร่วมมือกับประเทศตา่ งๆ ช่วยพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความเขา้ ใจตนเองและผู้อนื่ ดีข้นึ เรยี นรู้
และเข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี การคดิ สงั คม เศรษฐกจิ การเมือง การ
ปกครอง มีเจตคติท่ีดีตอ่ การใชภ้ าษาต่างประเทศ และใช้ภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์
ความรู้ต่างๆ ไดง้ ่ายและกว้างข้ึน และมวี ิสัยทัศนใ์ นการดาเนนิ ชีวิต ภาษาตา่ งประเทศทีเ่ ปน็ สาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน
ซ่ึงกาหนดใหเ้ รยี นตลอดหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาตา่ งประเทศอื่น เช่น ภาษา
ฝรัง่ เศส เยอรมัน จีน ญ่ีปุน่ อาหรบั บาลี และภาษากลุ่มประเทศเพือ่ นบ้าน หรือภาษาอื่นๆ ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของ
สถานศกึ ษาท่จี ะจัดทารายวชิ าและจัดการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม



2. เรยี นร้อู ะไรในภาษาต่างประเทศ
กลุ่มสา ระการ เรียน รู้ภา ษา ต่า งประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจ ตคติที่ดีต่อภา ษา ต่างปร ะเทศ สามาร ถใช้
ภาษาต่างประเทศ สอ่ื สารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น
รวมทง้ั มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถ่ายทอด
ความคดิ และวฒั นธรรมไทยไปยงั สังคมโลกได้อยา่ งสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดังนี้

ภาษาเพื่อการส่ือสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟงั -พดู -อ่าน-เขยี น แลกเปล่ยี นข้อมูล ข่าวสาร แสดง
ความรู้สกึ และความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรือ่ งต่างๆ และสร้าง
ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลอยา่ งเหมาะสม

ภาษาและวฒั นธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาความสัมพนั ธค์ วามเหมือน
และความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับ
วัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อยา่ งเหมาะสม

ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กับกลุม่ สาระการเรยี นรู้อน่ื การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่อื มโยงความรู้กับกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้อื่น เปน็ พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน

ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชุมชนและโลก การใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังในห้องเรียนและ
นอกห้องเรียน ชมุ ชน และสังคมโลก เป็นเครอ่ื งมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ
สงั คมโลก

3. ระดบั การศกึ ษา
การจัดการศึกษาระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
แบ่งการศกึ ษาเปน็ 3 ระดบั ได้แก่

1. ระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6) เปน็ ระดบั การศึกษาท่ีม่งุ เนน้ ทกั ษะพ้นื ฐานด้าน
การอ่านการเขียน การคดิ คานวณ การคดิ พน้ื ฐาน การตดิ ต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรูท้ างสังคม และ
พน้ื ฐานความเป็นมนุษย์ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ อย่างสมบรู ณ์และสมดุลท้ัง ดา้ นร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์
สงั คม และวฒั นธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ

2. ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3) เป็นระดับการศึกษาที่ม่งุ เน้นใหผ้ ู้เรยี นได้
สารวจความถนดั และความสนใจของตนเอง สง่ เสรมิ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอยา่ ง
มีวจิ ารณญาณ คดิ สร้างสรรค์ และคดิ แก้ปัญหา มที กั ษะในการดารงชีวติ มที กั ษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็น
เครอ่ื งมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม มีความสมดลุ ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดงี าม และมี
ความภูมใิ จในความเปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพืน้ ฐาน ในการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาต่อ

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6) เป็นระดับการศกึ ษาที่มุ่งเน้น การ
เพมิ่ พูนความรแู้ ละทักษะเฉพาะด้าน ตอบสนองความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียนแตล่ ะ
คน ทั้งดา้ นวชิ าการ และวิชาชพี มที ักษะ มที ักษะในการใชว้ ิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิด
ขน้ั สูง สามารถนาความรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ มุ่งพฒั นา
ตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปน็ ผูน้ า และผูใ้ หบ้ ริการชุมชนในดา้ นตา่ ง ๆ



4. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตคี วามเรอ่ื งท่ีฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมี
เหตผุ ล

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และความ
คดิ เห็นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอขอ้ มูลข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและ
การเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใช้ ได้อยา่ ง
เหมาะสมกับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าขอ งภาษากับ
ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี 3 ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั กล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรกู้ ับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเปน็ พ้ืนฐาน
ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเปน็ เครื่องมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั สงั คมโลก
5. สาระ มาตรฐาน และตัวช้วี ัดชว่ งชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
สาระที่ 1 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเร่ืองที่ฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เหน็ อย่างมี
เหตุผล
ตัวช้วี ัด
1. ปฏบิ ัติตามคาสง่ั คาขอร้องคาแนะนา และคาชแี้ จงง่ายๆ ท่ฟี งั และอา่ น
2. อ่านออกเสยี งขอ้ ความ นิทานและบทร้อยกรอง (poem) ส้นั ๆ ถูกตอ้ งตาม หลักการอ่าน
3. เลือก/ระบุประโยคและขอ้ ความให้สัมพนั ธก์ บั ส่ือทไี่ มใ่ ช่ความเรยี ง (non-text information) ที่อา่ น
4. ระบุหัวขอ้ เรือ่ ง (topic)ใจความสาคัญ (main idea) และตอบคาถามจากการฟังและอา่ นบทสนทนา นทิ าน และ
เรอื่ งสัน้
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ
คิดเหน็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตัวชวี้ ดั
1. สนทนา แลกเปล่ยี นขอ้ มลู เกย่ี วกับตนเอง กจิ กรรม และสถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั
2. ใชค้ าขอร้อง ใหค้ าแนะนา และคาชแี้ จง ตามสถานการณ์
3. พูดและเขียนแสดงความต้องการขอความช่วยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธการให้ค วามช่วยเหลอื ในสถานการณ์
ตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม
4. พูดและเขยี นเพือ่ ขอและใหข้ ้อมูล และแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เรอ่ื งที่ฟงั หรอื อา่ นอย่างเหมาะสม



5. พดู และเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกีย่ วกบั เร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆพรอ้ มทั้งให้
เหตผุ ลสน้ั ๆ ประกอบอยา่ งเหมาะสม

มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเรอ่ื งต่างๆ โดยการพดู และ
การเขียน
ตวั ชว้ี ดั
1. พูดและเขียนบรรยายเก่ียวกบั ตนเอง กิจวตั รประจาวันประสบการณ์และส่ิงแวดลอ้ มใกล้ตวั
2. พูด/เขียน สรปุ ใจความสาคัญ/แก่นสาระ (theme) ทไี่ ด้จากการวิเคราะห์เร่ือง/เหตกุ ารณ์ท่อี ยู่ในความสนใจของ
สังคม
3. พดู /เขียนแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับกจิ กรรมหรอื เรอื่ งตา่ งๆ
ใกล้ตัว พรอ้ มท้ังให้เหตผุ ล สนั้ ๆประกอบ
สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อยา่ ง
เหมาะสมกับกาลเทศะ
ตวั ชว้ี ดั
1. ใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกริ ยิ าท่าทางสภุ าพเหมาะสม ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
2. บรรยายเกยี่ วกบั เทศกาลวนั สาคญั ชวี ิตความเปน็ อยแู่ ละประเพณีของเจา้ ของภาษา
3. เขา้ ร่วม/จดั กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ

มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าขอ งภาษากับ
ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด
1. บอกความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ ก ารใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน และ
การลาดบั คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย
2. เปรยี บเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งเทศกาลงานฉลอง วันสาคัญ และชีวติ ความเป็นอยขู่ อง
เจา้ ของภาษากับของไทย
สาระท่ี 3 ภาษากับความสมั พันธก์ บั กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

มาตรฐาน ต 3.1ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุม่ สาระการเรียนรูอ้ น่ื และเปน็ พื้นฐานใน
การพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน
ตวั ชีว้ ัด
1. คน้ ควา้ รวบรวม และสรุปขอ้ มลู /ขอ้ เท็จจริงที่เก่ียวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่นื จากแหล่งเรียนรู้ และนาเสนอ
ด้วยการพดู /การเขยี น
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชมุ ชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.1ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม
ตวั ชวี้ ัด
1.ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์จรงิ /สถานการณจ์ าลองทเ่ี กดิ ขึน้ ในห้องเรียนและสถานศึกษา

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเคร่ืองมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประก อบอาชีพ และการ
แลกเปล่ียนเรียนรกู้ ับสังคมโลก



ตวั ช้วี ดั
1.ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า ความรู/้ ข้อมูลตา่ งๆจากสอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆในการศกึ ษาต่อ
และประกอบอาชพี

6. คาอธบิ ายรายวชิ าและหนว่ ยการเรียนรวู้ ชิ าภาษาองั กฤษชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
กรมวชิ าการ ( 2544 : 201-202) ได้กาหนดคาอธิบายรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ สาระการเรยี นรู้พื้นฐาน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ไว้ดงั นี้
6.1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้พ้นื ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2
6.1.1 คาอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบตั ิตามคาสง่ั คาขอร้อง คาแนะนา และคาช้ีแจงงา่ ยๆ อ่านออกเสียงข้อความ นิทานและบทรอ้ ยกรอง
สน้ั ๆ เลือกหรือระบุประโยคและข้อความให้สมั พันธ์กับส่ือท่ีไม่ใช่ความเรียง หัวข้อเรอ่ื ง ใจความสา คญั และตอบ
คาถามจากเร่ืองทีฟ่ ัง และอา่ นบทสนทนา นทิ าน และเรื่องสั้น สนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกบั ตนเอง กจิ กรรม
และสถานการณ์ตา่ งๆ ในชวี ติ ประจาวัน ใชค้ าขอร้อง ใหค้ าแนะนา และคาช้ีแจงตามสถานการณ์

พดู และเขียนความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์
ตา่ งๆ ขอและให้ข้อมลู และแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับเรอื่ งที่ฟังหรืออ่าน แสดงความรู้สึก และความคดิ เห็นของ
ตนเองเกี่ยวกับเรือ่ งต่างๆใกลต้ ัว และใหเ้ หตผุ ล
สน้ั ๆ ประกอบ บรรยายเก่ยี วกับตนเอง กิจวัตรประจาวนั ประสบการณ์ และสง่ิ แวดล้อมใกล้ตวั และหาเหตุผลส้ันๆ
ใชภ้ าษา น้าเสียง และกิรยิ าท่าทางตามมารยามสังคม และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

บรรยายเก่ยี วกบั เทศกาล วันสาคญั ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจ้าของภาษา เข้ารว่ ม/กจิ กรรมทาง
ภาษาและวฒั นธรรม บอกความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ ใช้เคร่ืองหมาย
วรรคตอน และลาดบั ตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือนและ
ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลองวนั สาคญั และความเปน็ อยูข่ องเจา้ ของภากับของไทย คน้ ควา้ รวบรวมและ
สรปุ ขอ้ มูล/ ข้อเทจ็ จริงทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ่ืน และนาเสนอดว้ ยการพูดและเขียน ใช้ภาษาสื่อสารใน
สถานการณ์จริง/ สถานการณ์จาลองทีเ่ กดิ ข้ึนในหอ้ งเรยี น และสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/
ค้นคว้าความรู้ ขอ้ มูลตา่ งๆ จากส่อื และแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี

7. การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
กรมวิชาการ (2544 : 245-253) ได้กล่าววา่ การประเมินความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสอ่ื สาร

ควรประเมนิ ความสารถในการสือ่ สารความหมายจริงๆ ไมค่ วรแยกการใชภ้ าษาออกจากสถานการณ์ และควรวดั ให้
ครอบคลุม นั่นคือต้องประเมินท้ังความรู้ ซ่ึงหมายถงึ เนื้อหาทางภาษา ประกอบด้วย เสยี ง คาศัพท์ โครงสร้าง
ไวยากรณ์ ประเมนิ ทง้ั ความสามารถหรอื ประสทิ ธภิ าพ ซึง่ หมายถึง ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ และ ประเมนิ ขอบขา่ ย
ในการภาษา นนั่ คือ สมรรถภาพในการสื่อสาร ซ่ึงหมายถึง ทกั ษะการรู้จกั ปรับตนของนักเรียนในสถานการณ์การ
สือ่ สารซ่งึ ในการประเมินต้องคานงึ ความสามารถและประสบการณ์ของผู้เรยี นด้วยและได้จาแนกรูปแบบของเกณฑ์
การประเมินออกเป็น 2 ประเภทดงั นี้

1. เกณฑ์ในการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rating Scales)
เป็นแนวทางในการให้คะแนนประเมนิ โดยพิจารณาจากภาพรวมของผลงาน โดยนาองค์ประกอบสาคญั ที่บ่งบอกถึง
ผลงานท่ีคาดหวัง มาจดั ทาเปน็ รายการ ระบุคา อธบิ ายท่ีบรรยายลักษณะของเกณฑใ์ นแตล่ ะรายการ เรียบเรียงต่อ
กันเปน็ ภาพรวมท่ีแสดงคุณภาพให้เห็นเป็นรูปธรรมทช่ี ัดเจนในแตล่ ะระดับ กาหนดเป็นเพียงคะแนนเดียวสาหรับงาน
หรอื การปฏบิ ัตินนั้ ๆ เหมาะที่นามาใช้ในการประเมินทักษะการเขยี น ทกั ษะการพูด เชน่ ในการประเมนิ การใชภ้ าษา

๑๐

สาหรบั การเขียนแบบตอบไม่จากัด องค์ประกอบท่ีสาคญั ได้แก่ การเลอื กคาศัพท์ การสื่อความ ความต่อเนื่อง ความ
เชือ่ มโยง เครือ่ งหมายวรรคตอน ฯลฯ กล่าวคือ สามารถตรวจสอบความสามารถในการสือ่ ความ ความตอ่ เน่ืองของ
แนวคิด ความคิดสรา้ งสรรค์ และความสละสลวยของภาษาได้

2. เกณฑก์ ารประเมินแยกสว่ น (Analytic Rating Scales)
เกณฑก์ ารประเมินแยกส่วน คือแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละสว่ นของงานทม่ี ีลกั ษณะการตอบท่ี
จากัด ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องกาหนดแนวทางในการให้คะแนน โดยมคี านิยามหรอื คาอธิบายลักษณะของงานในสว่ น
น้ันๆ ในแตล่ ะระดบั ใหช้ ดั เจน กล่าวคอื กาหนดการพิจารณาเป็นประเด็นต่างๆ แยกกันในงานช้นิ เดียวซึ่งครูผู้สอน
จะสามารถเปรียบเทียบงานน้ันได้โดยตรงกับเกณฑท์ ่ีกาหนด และส่วนใหญ่จะพจิ ารณาไมเ่ กนิ 4 ด้าน

นอกจากนีย้ ังมกี ารสร้างเกณฑ์การประเมินทางภาษา ซง่ึ มแี นวทางต่างๆ ดังนี้
1. เกณฑก์ ารปฏบิ ัติ (Pragmatic Criteria) ประเด็นทคี่ วรนามาพจิ ารณาไดแ้ ก่การปฏิบตั ิตนของผูเ้ รียนท่ี
แสดงถงึ ความสามารถทางด้านภาษา เชน่ การวาดภาพตามคาสัง่ ท่ไี ดอ้ ่านหรือฟงั หรืออาจจะเป็นการใช้ภาษาเพื่อ
การสอ่ื ความถงึ ส่งิ ทีเ่ ขาควรปฏบิ ัติ เชน่ ใช้ภาษาเขียนลาดับข้ันตอนการทางานของตนเองได้
2. เกณฑท์ างภาษา (Linguistic Criteria) ควรให้ครอบคลมุ ทั้งการใช้รูปคาศัพท์ รูปแบบประโยค ความ
ถูกตอ้ งในการออกเสยี งสาหรบั พดู และการเรยี บเรยี งประโยค
3. เกณฑ์ทางวัฒนธรรม (Culture Criteria) ต้องคานงึ ถึงขนบธรรมเนียมประเพณี และแนวปฏิบัตอิ ันเป็น
วฒั นธรรมทแ่ี สดงออกทางภาษา เชน่ การต้อนรบั การขอบคุณ ขอโทษ หรอื ระดับภาษา เป็นต้น
4. เกณฑ์ด้านยุทธศาสตร์การสื่อสาร (Strategic Criteria) ควรได้พิจารณายุทธศาสตรข์ องผสู้ อนท่ีจะทาให้
การส่ือสารดาเนนิ ไปอยา่ งราบร่ืน เกดิ ความเขา้ ใจกนั ตามจุดมุง่ หมาย ยุทธศาสตร์ตา่ งๆ เหล่าน้ี ไดแ้ ก่ ภาษาทา่ ทาง
การใชภ้ าษาเทยี บเคียง ภาษาท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั สภาวะทางอารมณ์
การพูดภาษาอังกฤษ
1. ความหมายของการพูด
เลเวล (Levelt. 1989 : 1 ) ได้ใหค้ วามหมายของ การพูดว่า การพูดเป็นหนงึ่ ในทกั ษะที่ซบั ซ้อนที่สุดของ
มนุษย์ เป็นทักษะท่ีเปน็ เอกลักษณข์ องมนษุ ย์ โดยปกติของเด็กแลว้ จะเร่ิมท่ีทารกและการ ขับเคลื่อนการรับรู้ภาษา
ได้อย่างชัดเจนโดยทางกรรรมพันธ์ุสาหรบั ภาษาและการพฒั นาทางภาษา
มาร์ติน (Martin. 1987 : 3 ) ไดใ้ ห้ความหมายของ การพูดเปน็ ความคดิ มักจะอยู่ในรูปแบบของความนิยม
ในการแสดงออกซงึ่ ใช้ภาษาพูด ทักษะของวรรณกรรมลว้ นแล้วแต่มปี ระโยชนท์ ้ังหมด ความสัมพันธ์น้บี างทกี ็มกั พูด
ถงึ ความจริงหรือไมก่ พ็ ูดเพื่อการพฒั นาและสามารถทาให้ดูงา่ ยขน้ึ
แลนคาร์ (Lanka. 2010 : Web site) ได้ให้ความหมายของ การพดู เปน็ การออกเสยี งเพ่อื การสื่อสารของ
มนษุ ย์ การพดู เปน็ พน้ื ฐานของการสร้างประโยคโดยเป็นการรวบรวมคาศพั ท์ในจานวนมาก
ริมบิ (Rimbi. 2010 : Web site) ได้ให้ความหมายของ การพูดเป็นทักษะการแสดงออกโดยใช้วาจา
เหมือนกบั ทักษะอนื่ ๆ ซึ่งมคี วามซบั ซอ้ นกวา่ ทกั ษะอ่นื สาหรบั การพดู น้นั เหมือนยุง่ ยากแต่เปน็ เพียงการออกเสียงคา
มนิ ดา ( Minda. 2010 : Web site) ได้ใหค้ วามหมายของ การพูดเปน็ การใช้คาศพั ท์จากเสยี งสามัญ การ
เปลง่ เสยี ง ไหวพรบิ ความสามารถในการใชภ้ าษา การแสดงความคดิ เห็นแถลงการณเ์ ปน็ คาพดู
สรุปความหมายของการพูด คือ การติดตอ่ ส่ือสารระหว่างมนุษย์โดยใช้ เสยี ง ภาษา แววตา สีหนา้ ทา่ ทาง
ต่างๆ เพ่อื ถา่ ยทอดความรสู้ ึกนกึ คิดจากผู้พดู ไปยังผูฟ้ ังใหเ้ ป็นท่ี
เข้าใจกนั

๑๑

2. ข้ันตอนการพูด
ฟิโอนา่ (Fiona. 2010 : Web site) สรปุ วา่ ขัน้ ตอนการพดู มดี ังน้ี

1. ขัน้ เตรยี มก่อนการพูด
ขัน้ เตรยี มก่อนการพดู เปน็ การวางแผนเพ่ือเป็นแนวทางในการพูด ขน้ั น้ีในความเปน็ จรงิ แล้วตอ้ งเริ่มกอ่ นที่
ผูเ้ รียนจะพูด เปรียบไดว้ ่าเป็นประสบการณ์และการสังเกตของผเู้ รียน ทั้งนี้รวมไปถึงปฏกิ ริ ิยาตอบโตท้ ัง้ ภายนอกและ
ภายในของผู้เรียนทีอ่ ยใู่ นห้องเรียน ซ่ึงทาให้มีผลกระทบต่อตวั ผู้เรียนโดยตรงเพราะในการพูดแต่ละครง้ั ของผู้เรยี น
ผู้เรยี นต้องรู้ว่าจะพูดอย่างไรเก่ยี วกบั เรือ่ งท่ตี ้องการสื่อสารกับผู้ฟังจงึ จะถูกตอ้ ง เพราะฉะนัน้ กิจกรรมข้ันกอ่ นการพูด
จึงเป็นกิจกรรมท่ีสามรถกระตนุ้ ผเู้ รียนให้ผ้เู รียนตอบสนองกบั การเรยี นรู้ได้เป็นอย่างดี โดยการเปดิ โอกาสให้ผู้เรียน
ได้พดู วัตถปุ ระสงคก์ อ่ นการพดู จงึ ประกอบไปดว้ ย
1.1 การเลอื กหัวข้อในการพูด
กิจกรรมทผี่ ู้เรียนใช้สาหรับเลือกหวั ขอ้ การพดู โดยใหผ้ ู้เรยี นเลือกกจิ กรรมทีม่ ีกอ่ นจะพดู ตามทยี่ กตัวอยา่ งดังตอ่ ไปนี้
- การรวบรวมองคค์ วามคดิ
- การอา่ นและการสืบคน้ ข้อมูล
- การฟงั เพลง
- การดวู ีดิโอ
- การฟังผู้อ่ืนพูด
- การจดจาส่งิ ท่ไี ด้รับมา
- การฟังการเลา่ ประสบการณ์สว่ นตัวของผูอ้ ่ืน
1.2 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์
ผูพ้ ูดพดู แสดงความคดิ เหน็ อารมณ์ ขอ้ เสนอแนะ และถา่ ยทอดขอ้ มูลต่อผ้ฟู ัง ผู้เรียนต้องรวู้ า่ “อะไรคือวัตถุประสงค์
ของการพูด”
1.3 กาหนดผู้ฟงั
ผพู้ ดู ต้องรูว้ ่า “จะพดู ใหใ้ ครฟงั ” เชน่
1.3.1 บคุ คลทีค่ ุ้นเคย ไดแ้ ก่ เพือ่ น ครอบครัว ครู และบุคคลทมี่ ีฐานะหรือตาแหน่งเท่าเทียมกนั
1.3.2 บคุ คลทว่ั ไปท่รี ู้จัก ได้แก่ ชมุ ชน นกั ศึกษา
1.4 กาหนดรูปแบบ
ผู้พดู ต้องคานึงรูปแบบและข้อมูลท่จี ะนาเสนอไปเพ่ือให้ผู้ฟังได้รับขอ้ มูลมากที่สดุ ยกตวั อยา่ งดงั ต่อไปน้ี
1.4.1 เปน็ การสนทนา พดู คยุ อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ
1.4.2 เป็นการอภิปราย การสาธยาย การโต้ตอบ และการปรึกษาหารอื
1.4.3 เปน็ การพูดอย่างเป็นทางการ
1.4.4 เปน็ การนาเสนอแบบละคร
1.4.5 เป็นการพดู คนเดยี ว หรือละครทตี่ วั ละครพดู คนเดียว
1.4.6 เปน็ การอา่ นบทละคร
1.4.6 พูดสนทนากับครูในโรงเรยี นโดยใชแ้ บบบนั ทกึ การสนทนา
2. ข้นั พูด
การพดู โดยให้ผู้เรยี นพดู คุยกบั ค่สู นทนา ซ่ึงผู้เรยี นเปน็ ผทู้ ่ีพูดใหก้ ารสนับสนนุ ขอ้ มูลใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดลอ้ ม
น้ันๆ ให้โอกาสเตรียมการพูดในรูปแบบไม่เป็นทางการและการพูดประสบการณ์แบบเป็นทางการ การพูด
ประสบการณแ์ บบเปน็ ทางการน้นั ได้รับความอิสระเปน็ อย่างมากในการถา่ ยทอดความคดิ และข้อมูลสู่ทส่ี าธารณะใน

๑๒

กรณที ่สี ่อื สารกับผอู้ น่ื ผู้เรยี นตอ้ งยึดในรูปแบบการพดู ท้งั รปู แบบเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ แตท่ ง้ั นก้ี ็ขึ้นอยูก่ ับ
วตั ถปุ ระสงค์ของการพูดท้ังสน้ิ ไดแ้ ก่

- เป็นการแสดงความร้สู ึกนึกคดิ หรอื ทศั นคติ
- เปน็ การบรรยายเรอ่ื ง
- เปน็ การนาเสนอโดยทาให้เพลิดเพลิน สนุกสนาน
- เป็นการบรรยาย บอกพรรณนา
- เปน็ การอธิบาย ชี้แจง
- เปน็ การขอร้อง
- เปน็ การถามคาตอบ
- เปน็ การกระจายความคดิ
- เป็นการตรวจสอบ สารวจสมมุตฐิ านในลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั
- เป็นการสนทนา โต้ตอบ
หลักการที่ให้การสนบั สนนุ ได้แก่
- การสาธยายหรอื การวิพากษ์วจิ ารณข์ องผเู้ รียนในรูปแบบเปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ยกตัวอยา่ งเช่น
ในรูปแบบการสนทนา การอภปิ รายกล่มุ การแสดงละคร แล้วให้ผเู้ รยี นบนั ทกึ ขอ้ มูลลงในสมุดบันทึก
- การแสดงการสนทนาเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการของผูเ้ รยี น
- ถ้าเป็นไปได้ใหผ้ ู้เรียนบนั ทึกเสียงและภาพตามที่ผเู้ รียนสามารถฝึกฝนไดก้ ่อนที่ จะพดู ในสถานที่ทอ่ี ยใู่ น
แบบทเี่ ป็นทางการ
3. ขน้ั หลงั พูด เวลาที่ใช้มผี ลต่อเปา้ หมายท่ีจะไดร้ บั
จากปร ะสบกา รณ์กา รพูดที่เราพบเห็นทั้งในแบบเป็นทา งการ และไม่เป็นทา งการ จุดที่สาคัญคือ
กระบวนการของแตล่ ะวิธใี นรูปแบบเหล่านัน้ ที่มผี ลกระทบตอ่ ผู้เรยี น เนื่องจากผลกระทบท่ีได้รบั เหลา่ น้นั แล้ว ผสู้ อน
สามารถช่วยผเู้ รียนเพือ่ บรรลุเปา้ หมายในการพัฒนาความสามารถทางการพูดของผูเ้ รยี น จากการประเมนิ และการ
วจิ ารณ์ความคิดพบว่า จุดประสงคก์ ิจกรรมหลงั การพูดมีดงั ต่อไปนี้
ผูเ้ รียนมีโอกาสได้สะท้อนประสบการณ์ของผู้เรยี นเอง ก่อนทีจ่ ะมกี ารวิพากษ์วิจ ารณ์วา่ ประสบการณ์มผี ล
ต่อการพูดเป้าหมายในการปรบั ปรุง เมอื่ ผูเ้ รยี นมกี ารตอบสนองต่อประสบการณ์ทางการพูดแลว้ ผู้เรยี นกจ็ ะเ ร่มิ เห็น
คณุ ค่าของสิ่งที่เขาได้ทา พวกเขาจะสนใจว่าตนเองนน้ั ทาได้ดีมากน้อยเพียงใดและถ้าหากพบข้อบกพร่องผู้เรียนก็
ต้องการท่ีจะหาทางปรบั ปรงุ การพูดของพวกเขาให้ดมี ากย่ิงข้ึน สว่ นแนวทางในการพดู ได้แก่

- การอภปิ รายเก่ยี วกับการประเมินประสบการณ์ทางการพูด
- ถ้าผูเ้ รียนมโี อกาสพดู เขยี น หรอื นาเสนอทหี่ ลายหลายเกีย่ วกับการพดู ในทางท่ีแตกต่างกนั จะทา
ให้การพดู ของผ้เู รียนดขี น้ึ ยกตวั อย่างเช่น การสรุปการเรยี นรู้ การประเมนิ ของผ้สู อน เมอ่ื ผู้เรยี นมกี ารตอบสนองต่อ
การพูดของผู้เรียนเอง ผ้สู อนอาจจะให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนเกยี่ วกับปญั หาท่ีพบ ผ้สู อนอาจจะเสนอแนะขอ้ วิจารณ์ที่
พบออกมาโดยการประชุมแบบการเขียนและอาจใช้คาพดู แนะนาผ้เู รียน หรือการเขยี นคาวิจารณก์ ลับไป หรอื ไม่อาจ
อาจใช้ทัง้ สองวิธี การประชมุ ในการตัดสินอาจจะมีเกณฑใ์ นการตัดสินโดยเฉพาะคาถามที่จะใช้ในการตดั สิน โดยท่ีครู
จะทาแบบประเมนิ มาใหผ้ ้เู รยี นประเมินในชั้นเรียน

๑๓

3. กิจกรรมการสอนทักษะการพดู
เฮนรี่ (Henry. 2010 : Web site) สรุป การสอนพดู นั้นประกอบดว้ ยกจิ กรรม ก่อนการพูด ระหว่างการ

พดู และหลงั จากการพูด กจิ กรรมการสอนพดู มดี งั น้ี
1. การถามประโยคคาถามงา่ ยๆ ในชีววิ ติ ประจาวัน เช่น
1 Hello! My name is …………………… . I’m from M.3. Can I ask you some questions?

2 What is your name?

3 How old are you?

4 What is your telephone number?

5 What is your favorite color?

6 What subject do you teach?

7 How many people are there in your family?

8 Can you play sport?

9 Can you eat spicy food?

10 I hope you have a great day, see you again next time.

2. การแสดงบทบาทสมมุติ
การแสดงบทบาทสมมุติเป็นวิธีการทาใหน้ ักเรียนไดพ้ ูดและแสดงออก นักเรียนได้แสดงบทบาทสมมุตใิ น
หลากหลายบริบท สาหรับกิจกรรมแสดงบทบาทสมมุติ ผูส้ อนให้ขอ้ มูลกับนกั เรยี น เช่น บทบาทของตัวละครนน้ั ๆ
เขาคดิ หรือรู้สึกอะไร เรมิ่ ต้ังแตง่ ่ายๆ จากการเลยี นแบบสตั ว์ เช่น เลยี นการเดินของสตั ว์ เลียนการบินของนก เลยี น
เสียงร้องของสตั ว์ประเภทตา่ งๆ ไปจนถงึ การแสดงละครเป็นเร่ืองราว
3. ชอ่ งว่างระหว่างข้อมลู
สาหรบั กจิ กรรมน้ี นักเรยี นได้ใชค้ วามคิดในการทางานเป็นคู่ นกั เรียนคนแรกมขี ้อมูลแต่นกั เรียนคนทีส่ องไม่
มขี ้อมูลน้นั โดยนักเรียนคนแรกจะกระจายความรู้ให้นักเรยี นคนแรก กิจกรรมช่องวา่ งร ะหว่างข้อมูลมีประโยชน์
มากมาย เช่น การแก้ไขปญั หาหรือการรวบรวมข้อมลู ในทางเดียวกนั แตล่ ะคมู่ ีบทบาทสาคัญเน่อื งจากกิจกรรมไม่
สามารถสมบรู ณ์แบบไดถ้ ้าแต่ละคูไ่ ม่ค้นหาขอ้ มูลท่ีจาเป็น กิจกรรมเหล่านั้นเป็นกจิ กรรมท่ีมปี ระสิทธภิ าพเนอ่ื งจาก
นักเรยี นได้มโี อกาสพูดอย่างกวา้ งขวางเพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายของภาษา
4. การรายงาน
ก่อนการเรียน ผู้สอนให้นักเรียนอ่านหนังสือพิมพ์ หรือนิตยสาร และในห้องเรียนนักเรียนรายงานส่ิง
เหลา่ นน้ั ใหเ้ พื่อนฟงั ในสงิ่ ซงึ่ นกั เรยี นค้นหาขา่ วที่นกั เรยี นสนใจ นกั เรียนสามารถพูดเกี่ยวกับประสบการณ์
5. บรรยายภาพ
การใช้ภาพในกิจกรรมพูดให้รูปภาพนกั เรยี นหนึ่งภาพและให้นั กเรียนบรรยายสิ่งท่อี ยู่ในภาพ สาหรับ
กจิ กรรมนี้นกั เรียนสามารถทาในรูปแบบกลุม่ แตล่ ะกลุ่มผู้สอนให้รูปภาพท่ีแตกต่างกัน นกั เรยี นอภปิ รายภายในกลุ่ม
จากนัน้ ในนกั เรยี นบรรยายภาพกนั ภายในกลุ่มจนครบทุกคน กจิ กรรมน้ีส่งเสริมการสรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการของ
นกั เรียน

๑๔

รอนท์ (Ron. 2010 : Web site) กล่าวว่า กจิ กรรมการสอนพดู มีดงั ตอ่ ไปนี้
1. การแขง่ ขนั การเลา่ เรอ่ื ง

กจิ กรรมนีเ้ ป็นกจิ กรรมทสี่ นุกสนาน เพราะเป็นกิจกรรมนักเรยี นทกุ คนน่ังเป็นวงกลมแล้วพูด/เล่าเรื่องอะไร
กไ็ ดท้ น่ี ักเรียนชอบและสนใจ สาหรบั กจิ กรรมนี้ ครเู ปน็ ผูเ้ รมิ่ เล่าเรื่องคนแรก โดยพดู ประโยคสนั้ ๆ จากนัน้ ให้นักเรียน
เริ่มเล่าเร่ืองจากประโยคทค่ี รพู ูดจบไป นกั เรยี นแต่ละคนต้องพดู คนละ ส่ถี ึงสิบประโยค นักเรียนสามารถเพม่ิ ตัว
ละครใหมๆ่ ได้
2. หาความแตกตา่ ง

กจิ กรรมนีเ้ ปน็ กิจกรรมคแู่ ละแตล่ ่ะคู่ได้ภาพ 2 ภาพท่แี ตกต่าง ตัวอย่างเช่น รูปภาพเด็กผู้ชายกาลังเล่น
ฟุตบอลและอกี ภาพเดก็ ผ้หู ญิงกาลังเล่นเทนนสิ ทั้งคู่ช่วยกันอภิปรายความเหมือนและความแตกต่างของสองภาพน้ัน
3. การสัมภาษณ์

นกั เรยี นสามารถดาเนนิ การสัมภาษณ์โดยการเลือกหวั ข้อกับเพ่ือนๆ ในหอ้ งเรยี น เป็นความคดิ ที่ดีที่ครูจะได้
จดั หัวเร่ืองหลักๆ ท่ีผู้เรียนรู้ และรู้ประเภทของคาถามทนี่ ักเรียนสามารถถามหรือรู้วิธกี ารปฏิบัติ แต่นักเรียนควร
เตรียมคาถามที่จะสัมภาษณ์ตัวนกั เรียนเอง การสัมภาษณ์ทาให้นกั เรยี นได้มีโอกาสในการฝกึ ความสามารถทางการ
พดู ซึ่งไม่มใี นห้องเรียนแต่ การเรียนรนู้ อกหอ้ งเรียนช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะสังคมมากขึ้น หลังการสัมภาษณ์
นักเรียนแต่ละคนสามารถนาเสนอตวั เองในชั้นเรียนได้ มากกวา่ นั้น นักเรียนยังสามารถสมั ภาษณบ์ ุคคลอื่นและ
แนะนาคสู่ ัมภาษณข์ องตวั เองในช้นั เรยี นได้
4. การวดั และประเมินผลการพูด

สติกจนิ และคนอืน่ ๆ ( Stiggins and others. 2004 : 110) กล่าววา่ ผลของการประเมินใชไ้ ด้ในหลาย
จุดประสงค์ มี 2 แบบ โดยครมู ีเป้าหมาย 2 ประการคือ ทาให้ทราบว่านกั เรยี นเข้าใจและไดค้ วามรมู้ ากนอ้ ยเพียงใด
แลว้ เพิ่มข้อมลู ในสมุดบันทึกเพื่อเตรียมตัวสาหรับการคานวณระดบั หลักสูตร เนือ่ งจากว่าการประเมินได้ออกแบบ
กฎเกณฑ์โดย นักเรยี นต้ังใจทีจ่ ะใชผ้ ลจากการประเมินอย่างไรและบคุ คลอนื่ กจ็ ะใช้การประเมินเช่นกนั นักเรยี นตอบ
คาถามและการประเมินนั้นมผี ลชัดเจน เฉพาะเจาะจงและบรรลเุ ป้าท่ีเหมาะสม การเร่ิมตน้ ด้วยเป้าหมายท่ชี ัดเจน
นั้นมคี วามสาคัญเพราะการมีเป้าหมายท่ีแตกต่างย่อมมีผลตอ่ การแบบแผนการประเมนิ และความกว้างความลึกของ
เป้าหมายการเรียนรู้
ลยู ์โอมา (Luoma. 2009 : 59 – 60) กล่าววา่ การประเมินการพดู เปน็ ส่งิ ทีย่ ากเนื่องจากทักษะการพูดมหี ลาย
ปจั จัยซึ่งมีอทิ ธิพลต่อผลการประเมนิ อยา่ งไรกด็ บี างคนสามารถพูดภาษาไดด้ นี ัน้ เพราะวา่ พวกเขาคาดหวังถงึ คะแนน
การสอบว่าคาตอบน้ันถูกต้อง เพียงแค่เหมาะสมสาหรับจดุ ประสงคข์ องการพดู น้ันเปน็ หลักการและแตกตา่ งจาก
เนอ้ื หาของครูและผู้ทดสอบพยายามทจ่ี ะทาให้สาเร็จทง้ั หมดน้ีผ่านช่วงขน้ั ตอนท่ีแตกต่าง การพจิ ารณาการทดสอบ
การพูด คะแนนการพูดแสดงถึงความสามารถในการพดู ภาษา แบบทดสอบมักอยู่ในรูปแบบของตัวเลข 6 ระดับ
ดังนี้

ระดบั ที่ 1 สามารถตง้ั คาถามและตอบคาถามง่ายๆทเี่ กี่ยวข้องกับส่งิ ท่ีตอ้ งการในชีวิตประจาวัน สามารถใช้
รูปแบบการพดู ที่สภุ าพเหมาะสม แก้ไขปัญหากบั งานทไ่ี ด้รับเก่ียวกับการพดู ท่ัวไป แต่เวลาพดู สนทนาค่อนข้างช้ า
และผิดโครงสร้างทางภาษา มักจะใชภ้ าษามอื และท่าทางช่วยให้เข้าใจมากขึน้

ระดบั ท่ี 2 แกไ้ ขปัญหาในการพูดเก่ียวกับกิจวตั รประจาวนั ที่ตอ้ งการแลกเปล่ียนข้อมลู ง่ายๆ อย่างไรก็ตาม
ผู้พดู ภาษาได้อย่างคล่องแคลว่ สามารถพิจารณาได้จากข้อจากัดของคาพูดที่แสดงอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกบั สงิ่ น้นั การ
ประสบความสาเรจ็ ในการพดู กอ่ นการคาดการณ์วา่ คู่สนทนาจะชว่ ยผู้พูดให้ข้อมูลเกย่ี วกับข้อความน้นั สาเนียงอาจ
ชดั เจนกว่าภาษาเปา้ หมาย ดังนน้ั การเรียกรอ้ งความพยายามมากๆจากคสู่ นทนากีดขวางการประสบความสาเรจ็ ใน
การพูด

๑๕

ระดบั ท่ี 3 พดู แก้ไขปัญหาในการพดู คลา้ ยกับสถานการณท์ ่ีสุด และสามารถพดู ส่งิ ทก่ี ระทาในชวี ิตประจาวัน
พูดค่อน ข้างช้า มีบางคาหยุดไม่เป็น ธร รมชาติ สา มา รถเข้า ใจได้แม้ว่าส่ือสา รใน รูปแบบเจ้าของภาษา
ภาษาตา่ งประเทศ โครงสร้างภาษาองั กฤษ และคาศัพท์ ไปยังภาษาเป้าหมาย เครอื่ งหมายวรรคตอนไม่ถกู ตอ้ งตาม
มาตรฐานของภาษาเป้าหมาย

ระดับท่ี 4 พูดแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ในการแสดงได้ดี แสดงได้โดดเด่นและชัดเจนระกว่างการแสดงท่ีเป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ บางประเด็นสามารถรายงานและอธบิ ายให้เห็นความคิดและความเข้าใจได้ดี สามารถ
พูดและบรรยายภาพ เสียง และประสบการณ์ แต่พูดออ้ มค้อมในแต่ละวัน การพูดส่ือสารเพราะภาษาไมช่ ัดเจน
เพียงพอ

ระดับท่ี 5 พดู ได้อย่างคลอ่ งแคล่วโดยไม่มีการต้องสอบถามอย่างชัดเจน ในการแสดงทั้งท่าสหี น้าและ
ท่าทาง แสดงเป็นตัวละครท่ีไดร้ ับบทบาทอยา่ งเป็นธรรมชาติ ความสมั พันธ์เหมาะกับระยะเวลา สามารถแสดงได้
อยา่ งชัดเจนถงึ รายละเอยี ดของเนื้อหาหรือแม้กระท้ังประเด็นที่ยากและซบั ซ้อน สามารถใช้ สานวนของเจา้ ของ
ภาษาในการแสดงออก และมคี วามแตกตา่ งในการแสดงเปน็ อยา่ งดี

ระดบั ท่ี 6 พดู สาเนยี งเจ้าของภาษาได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว ใช้ภาษาได้ดี ในการแสดงออกทางสหี น้าและท่าทาง
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แม่นยาในการแปล มกี ารใชส้ านวนภาษาหลายหลากเสมอื นกับเจ้าของภาษา แสดงในหัวขอ้ ที่ยาก
และซบั ซอ้ น มีความคิดท่แี ตกตา่ งนามาสู่การสรุปการรายงานที่เหมาะสม
5. การทดสอบทกั ษะการพูด

เบเกอร์ และเวส็ ทพั ร์ (Baker and Westrup. 2003 : 144 – 145) กล่าววา่ การทดสอบเป็นส่ิงสาคัญ
มากทที่ าให้ทราบวา่ ทาไมตอ้ งทดสอบการพูดของนกั เรยี น ดงั นั้นควรตดั สินใจชนิดของการทดสอบเพอื่ ให้นกั เรยี นได้
ลงมอื ทา 4 ชนดิ ทแี่ ตกต่างกนั ของการทดสอบ มีดังนี้

1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิเป็นชนดิ ทพี่ บมากทสี่ ุดของการทดสอบ บางครั้งถูก
เรียกว่าการทดสอบความก้าวหน้าหรือความสาเร็จ จะใช้เพอื่ ค้นหาส่ิงทน่ี กั เรยี นได้เรยี นรู้ การทดสอบเหล่านี้จึงตอ้ ง
เปน็ ไปตามเนอ้ื หาและภาษาของหลกั สตู รหรอื หนังสือเรยี นท่ไี ด้ใช้ ผู้สอนสามารถทาแบบทดสอบผลสมั ฤทธทิ์ ุกส้ิน
เดือน ทุกภาคเรยี น หรอื ทุกปีหากผลการทดสอบเปน็ ทน่ี ่าผิดหวัง บางทผี ู้สอนตอ้ งคิดเก่ียวกบั วธิ กี ารสอนทใ่ี ช้ หรอื ว่า
วสั ดใุ หม่ที่ถูกนาเร็วเกนิ ไป อาจจะเป็นเพียงการทดสอบที่ยากเกินไป ดังนัน้ ควรให้ความคาดหวงั ท่ีแท้จรงิ กับนักเรียน
กระตุ้นความสาเร็จของนกั เรยี น เพือ่ ทดสอบผลสมั ฤทธวิ์ า่ เปน็ สงิ่ สาคัญ

2. การสอบวัดระดบั
การสอบวัดระดับทาให้ผู้สอนสามารถจดั เรียงเป็นกล่มุ นักเรียนกลุ่มเดยี วกันและระดับท่ีเหมาะสม การ
ทดสอบดังกลา่ วตอ้ งเป็นแบบทั่วไปมากทส่ี ุดและครอบคลุมหลากหลายความสามารถ สอบวดั ระดับความตอ้ งการ
ภาษาทจ่ี ะนักเรียนคาดหวงั ดังน้ันจงึ เปน็ สิ่งสาคัญท่จี ะเช่ือมโยงการทดสอบอย่างใกล้ชิดกับหลกั สูตรท่ีนักเรยี นจะ
ปฏบิ ัติตาม
3. การทดสอบวินิจฉัย
การทดสอบวินิจฉยั เสรจ็ ทจ่ี ุดเริม่ ตน้ ของหลกั สูตร ทาใหส้ ามารถค้นหาความตอ้ งการที่แนน่ อนของนักเรียน
เพื่อสามารถวางแผนหลกั สูตรหรอื โปรแกรมการเรยี นรไู้ ด้
4. การทดสอบความชานาญ
การทดสอบความสามารถมกั จะมีการกาหนดโดยสถาบันภายนอก โดยทดสอบความสามารถของนกั เรยี น
โดยใชภ้ าษาองั กฤษในการสื่อสารในชวี ติ จรงิ
University of Cambridge ESOL Examination (2009 : Web site) สรุปเก่ียวกับ การทดสอบเพื่อ
ประเมินทกั ษะการพูดในการใหร้ ายละเอยี ดถึงการทางานของนักเรยี น การทดสอบประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื การ

๑๖

สมั ภาษณ์แบบตวั ตอ่ ตัว การนาเสนออย่างส้ันและการสนทนาเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมลู ส่ิงเหล่านี้เปน็ การดาเนินการ
และการประเมนิ โดยตรวจการพดู ของผู้ทดสอบ ทาการบนั ทึกและทาเครื่องหมายโดยผู้ประเมนิ การประเมนิ จะ
ขนึ้ อยกู่ ับ
1. ความถกู ต้องและความเหมาะสมของภาษาทน่ี กั เรียนใช้ (ไวยากรณ์และคาศพั ท)์
2. การพัฒนาการพดู สนทนาและการสรา้ งกระบวนความคิดของนักเรียน
3. ความคลอ่ งแคล่วในการพูด
4. ความเขา้ ใจในการพดู ออกเสียงของผู้เรียน
5. ความชดั เจนทผี่ ้เู รยี นไดร้ ับการช่วยเหลือในการพูดสนทนา

การทดสอบจะดาเนินการตรวจสอบเปน็ รายบุคคลโดยผทู้ ดสอบหลายคนคือ ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้
รายวชิ าตา่ งๆ โดยนักเรยี นถือสมุดบันทกึ การสนทนาไปให้ครูที่พบ และถามประโยคคาถามภาษาอังกฤษโดยไม่ดู
ประโยคในสมุดบนั ทึก เป็นการถามจากความเข้าใจและความคล่องแคล่วโดยเม่ือถามเสร็จแลว้ ครูทน่ี ักเรยี นถามจะ
ลงชอ่ื เพอ่ื ประเมินนักเรยี นคนน้นั ๆ

ความคดิ สรา้ งสรรค์
1. ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
แฮรี่ (Harris. 1998 : Web Site) กล่าวไวว้ า่ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ป็นความสามารถท่ีจะจินตนาการหรือ
คิดค้นสิ่งใหม่ เป็นความสามารถในการสร้างความคิดใหมๆ่ โดยการรวบรวม การเปลี่ยน แปลง หรือการประยกุ ต์
ความคิดทีม่ ีอยู่ออกมา บางคนมีความคิดสร้างสรรค์ทนี่ า่ อศั จรรย์และนา่ ทึ่ง ในขณะทค่ี นอน่ื ๆมคี วามคดิ ท่ีเป็นแบบ
ธรรมดาสามัญ ทุกคนมีความสามารถในการคิดสรา้ งสรรค์อย่างมีนยั สาคัญ เพยี งแคด่ ูจากการเป็นคนทมี่ ีความคิด
สร้างสรรค์ในวัยเดก็ ในวัยผู้ใหญ่ ความคิดสร้างสรรค์จะถูกยับยั้งเพราะการศึกษาแต่ก็ยังคงมีอยู่และสามารถทาให้
ความคดิ สรา้ งสรรค์กลบั มาตืน่ ตัวอีกครง้ั ไดแ้ ต่ต้องใชเ้ วลา
คอตต์เรลล์ (Cottrell. 2003 : Web Site) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการเกี่ยวกับ
จนิ ตนาการและวิธีแกป้ ัญหาเพอ่ื ให้ง่ายต่อการทางาน หาคาตอบในส่ิงท่ีเราตอ้ งการศกึ ษาค้นคว้า ไม่วา่ จะเป็นการ
แกป้ ัญหาในชวี ิต การแกป้ ัญหาศลิ ปะในทางดา้ นต่างๆเป็นตน้
แซรซ์ านี (Sarsani. 2006 : 221) ได้กลา่ วไว้ว่า ความคดิ สร้างสรรค์เปน็ สิ่งท่ีออกมาทนั ทีซึ่งไมไ่ ด้เรียนรมู้ า
ก่อน เหมือนกับศิลปะทห่ี ล่ังไหลออกมาอยา่ งเป็นธรรมชาติเชื่อมต่อกับสิง่ ท่ีมอี ยู่ในขอบเขตของข้อมูล ความคิด
สร้างสรรค์เป็นความคดิ จินตนาการ ซ่งึ เป็นความสามารถของแต่ละบุคคลในการสร้างหรือผลิตความคดิ ใหม่ ๆ ที่
ไม่ไดข้ ึน้ อย่กู บั ขนบธรรมเนยี มประเพณีหรอื วัฒนธรรมความคดิ แบบดง้ั เดมิ
ดารัมดสั (Dharamdas. 2011 : Web Site) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า ความคดิ สร้างสรรค์ไม่ใช่กระบวนการคดิ ที่ยาก
ไมเ่ หมือนกบั วทิ ยาศาสตร์ทีต่ ้องหาคา่ เฉลีย่ และคา่ ต่างๆ เป็นสิ่งที่เกิดขึน้ ไดแ้ ละสามารถกาจดั อปุ สรรคในใจออกไปได้
ซึง่ จะทาใหค้ วามคิดไหลไปตามธรรมชาตแิ ละสามารถสร้างสรรค์ได้อย่างอิสระ ความคิดสรา้ งสรรคจ์ ะชว่ ยให้ได้รบั สิ่ง
ดๆี ชว่ ยใหม้ ีทัศนคตทิ ีด่ ีข้ึน ความคดิ สร้างสรรคเ์ ป็นสว่ นหนึ่งของความคิดในชวี ิตประจาวัน ที่ไม่ไดก้ าหนดระยะเวลา
และสถานที่ จะเกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ซงึ่ จะเก่ยี วข้องกบั อารมณแ์ ละสตปิ ัญญา
2. ความสาคัญของความคดิ สรา้ งสรรค์
สตีเวนส์ (Stevens. 2000 : Web Site) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า ในชว่ งเวลาปจั จุบันในสหรฐั อเมริกามีการกล่าวถึง
บทบาทของสถาบนั การศึกษาในการเตรียมนกั เรยี นใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในศตวรรษท่ี 21 ดังนน้ั จงึ ม่งุ เน้นในเร่ือง
ของการศึกษา การศกึ ษาจึงเปน็ จดุ เร่มิ ต้นของการเปล่ยี นแปลง วฒั นธรรมระดบั ชาติและระดบั โลก และบทบาทการ
แสดง จะเป็นการพัฒนาความสามารถของเด็กในการคิดได้อย่างต่อเนื่อง ทัศนคติท่ีแพร่หลายในประเทศ

๑๗

สหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับการอบรมในด้านศลิ ปะ ดนตรี การเตน้ รา จิตรกรรมประติมากรรม บทกวี และการละครท่ี"
นอกหลักสตู ร" กจิ กรรมทีด่ ที ส่ี ุดจะเปน็ กิจกรรมท่สี ร้างความสนุกสนาน นันทนาการหรอื วธิ กี ารผลิตศิลปนิ มอื อาชพี

ดงั นน้ั จงึ มีการฝกึ อบรมในกระบวนการคิดสร้างสรรค์ผ่านงานศิลปะที่ให้ความรู้ความเขา้ ใจ จนิ ตนาการและ
ทักษะดา้ นมนษุ ย์สัมพันธ์ ท่สี ามารถใหผ้ ลดีในการสร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่ และกระบวนการสรา้ งสรรคใ์ นขอบเขตอน่ื ๆ
บทบาททฝ่ี ึกอบรมและการเรียนรู้เก่ียวกับศิลปะ ในการศึกษาท่ีกาหนดเป้าหมายของการศึกษา เปา้ หมายของ
การศกึ ษาคือการสร้างแรงบันดาลใจใหเ้ ด็กเกิดการตง้ั คาถามและมีสติในการตัดสินใจ เพอื่ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
และทาใหเ้ ขามีทักษะด้านมนษุ ยส์ ัมพันธ์

ในโลกอนาคตของเรา ก็จะเปน็ เหมือนโลกทีอ่ ยู่ภายใต้ธุรกจิ การศกึ ษา และการประสบผลสาเร็จในปจั จุบัน
ไมไ่ ดข้ ้ึนกับ การสะสมความรเู้ พียงเท่าน้ัน แตม่ นั เพมิ่ เติมมาจาก การคิดเชงิ สร้างสรรค์ ดังนัน้ ความคิดเชิงสร้างสรรค์
ทาใหก้ ารศึกษาในอนาคตมคี วามประสบผลสาเร็จ
ความคิดสร้างสรรคเ์ ป็นทักษะการเรียนรู้ท่ีไม่ยึดกฎเกณฑ์เป็นหลัก ความคดิ สรา้ งสรรค์น้ันสามารถตอบสนอง
วัตถุประสงค์ใด ๆ ตามความคิดในจิตใต้สานึก พฤติกรรมคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งเหล่าน้ีเปน็ ส่วนหนงึ่ ของความ
ตอ้ งการทางอารมณ์ ดังน้ันความคดิ สรา้ งสรรค์จึงเป็นส่ิงสาคัญ ของความฉลาดทางอารมณ์ เพราะฉะนัน้ ความคิด
สร้างสรรค์จงึ เปน็ สิ่งที่มคี วามสาคญั ดังน้ี

1. สามารถปรบั ตัวในการแก้ไขเหตุการณเ์ ฉพาะหนา้
2. มที กั ษะในการตัง้ คาถามและการอภปิ ราย
3. มีความสามารถในการรับร้แู ละการตง้ั สมมตฐิ าน
4. มีความสามารถในการรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื
5. มีความสามารถในการทางานกลุม่
6. มีความเอาใจใส่ มคี วามสามารถในการเหน็ ส่งิ ทคี่ ล้ายคลึงกนั และแตกต่างกนั ในผู้อนื่ ๆ และมีความคิด
ความสามารถในการรบั ฟังความคดิ เห็นของผ้อู น่ื
7. มคี วามรสู้ ึกเคารพตนเองและเคารพผู้อ่นื
8. ตัง้ มนั่ ในศลี ธรรม
9. ความสามารถในการเรียนรู้จากประสบการณ์ การสังเกตความผิดพลาด ความล้มเหลว เช่นเดยี วกับ
ความสาเรจ็
10. ได้รบั การยอมรับและร้ใู นจดุ แข็งหรอื จุดอ่อนของตวั เอง
11. ความสามารถในการเข้าใจแนวคดิ ทฤษฎีความรู้และนาไปใชก้ บั ชวี ิตประจาวนั ได้
แซรซ์ านี (Sarsani. 2006 : 237) ได้กล่าวไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์เปน็ สิ่งที่สาคัญตอ่ นั กเรียนมากใน
ชีวิตประจาวนั และยงั สาคญั ในอนาคตอีกดว้ ย ดังน้ันการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์นัน้ เปน็ สงิ่ จาเป็นสาหรับนักเรียน
ความคิดสรา้ งสรรค์เปรียบเสมือนกบั เพชรทอี่ ยู่ในก้อนหินทส่ี ามารถส่องแสงได้อย่างสวยงาม
ฮอร์นเนอร์ และไรฟ์ (Horner and Ryf. 2007 : 2) ไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ว้ 8
ขอ้ ดงั น้ี
1. นักเรียนสามารถสรา้ งจนิ ตนาการในความคดิ เก่ยี วกับการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ได้
2. นกั เรยี นสามารถค้นพบและเชือ่ มต่อความคดิ ในการทดลอง
3. นกั เรยี นสามารถตรวจสอบและทาการทดสอบแหล่งทม่ี าได้
4. นกั เรียนสามารถตง้ั คาถามวา่ ทาไม อยา่ งไร อะไร หรอื คาถามที่ผดิ ปกติ
5.นักเรยี นสามารถหาทางเลือกและวธิ กี ารท่แี ตกตา่ งจากเดิมได้
6.นักเรียนสามารถมองหาความคิดทแี่ ตกต่างจากจุดอื่นๆในมุมของทัศนคติ

๑๘

7. นักเรียนตอบสนองตอ่ การสรา้ งสรรค์งานและปัญหาท่เี กิดขึ้นในรปู แบบใหม่ 8.นักเรียนสามารถเชื่อมโยง
และมองเหน็ ความสมั พันธใ์ นสิง่ นนั้ ได้

3. ลกั ษณะของความคิดสรา้ งสรรค์
ฟชิ เชอร์ (Fisher. 2005 : 35-39) ไดก้ ลา่ วถึงลกั ษณะของความคดิ สรา้ งสรรคไ์ วด้ ังน้ี
1. ความคลอ่ ง (fluency) หมายถึงการดึงขอ้ มูลที่สะสมไว้ มาใช้เม่ือยามต้องการได้อย่างรวดเรว็ การคิด
เปน็ กระบวนการทางจิตซ่ึงมีลกั ษณะเหมอื นกล้ามเน้ือ ถา้ ถกู ใช้บ่อยกล้ามเน้ือหรืออวัยวะสว่ นนั้นก็จะคลอ่ งแคล่ว
เชน่ เดียวกนั ถ้าฝึกคิดบ่อยๆ กจ็ ะทาใหค้ ดิ ได้อยา่ งคล่องแคล่ว สิ่งเร้าทก่ี ระตนุ้ ใหค้ ิดเป็นสิ่งสาคัญ
ดังนนั้ กิจกรรมทีฝ่ ึกให้เด็กคดิ คล่องท่ีน่าสนใจก็คือ การใชค้ าถามหรือคาสั่งเพ่ือกระตุ้นการคิด ตัวอย่าง
ลักษณะของคาถามหรอื คาสัง่ ในการกระตนุ้ การคิดคลอ่ งมดี ังนี้
- นึกถึงสงิ่ ของหลายๆสิ่งที่มีสีเหลือง กลม โปรง่ ใสเปน็ แถบยาวๆ
- พดู คาสมั ผัสคลอ้ งจองใหไ้ ดม้ ากทีส่ ดุ
- พูดคาทขี่ ้ึนตน้ ดว้ ยพยัญชนะให้ได้มากท่สี ดุ
- แต่งประโยคจ ากอักษรต่อไปนี้ เช่น egbdf (every good boy deserves favors/ each girl buys
duty free)
- แตง่ โคลงกระทู้ขนึ้ ต้นด้วยอกั ษร หรอื คา ท่ีเปน็ ชือ่ ของตัวเอง
2. ความยืดหยุ่น (flexibility) หมายถงึ ความสามารถในการเอาชนะอุปสรรคหรือสิ่งขวางกั้นได้ หรือ
ความสามารถในการปรับเปล่ียนวิธีแก้ปัญหา กจิ กรรมปรศิ นา (puzzle) ต่างๆ สามารถใช้เพื่อฝึกความคิดยืดหยนุ่ ได้
เช่น
- ดงึ กา้ นไม้ขีดไฟออก 4 กา้ นยงั คงสเี่ หลยี่ ม 3 รปู (ขนาดไม่เทา่ กันก็ได้)
- ใชก้ ้านไมข้ ดี ไฟ 6 ก้านเพอื่ สรา้ งสามเหลยี่ ม 4 รปู
- วาดเสน้ 4 เส้นตดั ผ่านจดุ 9 จดุ โดยไมย่ กดนิ สอ
- วาดภาพปลาโดยไม่ยกดนิ สอ
3. ความริเริ่ม (originality) หมายถงึ การแสดงความคดิ แปลกใหม่ ซึ่งสามารถใชค้ าถามกระตนุ้ ให้เดก็ คิดแปลกใหม่
และไมธ่ รรมดา ดงั น้ี
- กลอ่ งไม้ขีดไฟทาอะไรได้บา้ ง
- ผ้าห่มใชท้ าอะไรได้บ้าง
- อฐิ ใช้ทาอะไรไดบ้ ้าง
หรือจะเป็นการถามใหเ้ ด็กใช้จินตนาการ เช่น
- ชีวิตมนษุ ย์ อีก 100 ปขี ้างหน้าจะเปน็ อย่างไร
- ลองออกแบบบ้านในอนาคตอีก 100 ปีขา้ งหนา้ ดูซิ
4. ความซบั ซอ้ นละเอียดลออ (elaboration) หมายถงึ การเพ่ิมรายละเอยี ดในการคดิ ให้ซับซ้อนมากกว่าเดิม ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้
- วาดภาพจากภาพทใ่ี หม้ า (ภาพซา้ ยมอื คล้ายตะขอ)
- ต่อเตมิ ภาพท่ีไดจ้ ากแมกกาซนี หรือหนงั สือพมิ พ์
- เพ่ิมเตมิ สงิ่ ประดษิ ฐ์ใหแ้ ปลกประหลาด
- วาดภาพจากวงกลมที่ใหม้ า

๑๙

การจัดกิจกรรมอาจทาเปน็ กลุ่ม ประมาณ 6 คนให้เด็กวาดแล้วส่งต่อๆ ไปเรื่อยๆ โดยนักเรียนแต่ละคนมี
เวลา 1 นาทีในการต่อเติมภาพ เมื่อเสร็จแลว้ ให้คนแรกดูวา่ ความคิดของเขาถูกเสริมแต่งมากนอ้ ยเพยี งใด แล้ว
หลังจากน้นั ช่วยกันบรรยายภาพ
4. ประโยชนข์ องความคดิ สร้างสรรค์

แจคสัน (Jackson. 2007 : Web Site) ได้กล่าวไวว้ ่า ความคิดสร้างสรรค์มปี ระโยชนห์ ลากหลาย ซึ่งเป็น
อกี หนึ่งทักษะที่มีคุณค่าในโลกของธุรกิจ ความคิดสร้างสรรค์จึงเป็นประโยชนใ์ นทุกๆด้านของอตุ สาหกรรมหรือดา้ น
ธุรกิจ โดยท่ัวไปความคิดสร้างสรรค์ของคนมักจะเป็นความคิดทม่ี ีความรวดเร็วและหลากหลาย นักคิดทม่ี ีความคิด
สร้างสรรคจ์ ะมีไหวพริบที่รวดเร็ว ผู้ทีม่ ีความคิดสรา้ งสรรค์ทาให้เปน็ คนท่ีสามารถแกป้ ัญหาได้สาเร็จ การสร้าง
ความคิดของคนจะมาพร้อมกบั การแกป้ ัญหาในเหตุการณ์ท่ไี มค่ าดคิด ความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์ชว่ ยให้
บุคคลทไ่ี ม่มคี วามชัดเจนในความคิดเกดิ ความคดิ ท่ีดีข้ึน ความคดิ สร้างสรรค์เป็นส่ิงท่เี ป็นประโยชนม์ ากสาหรับทกุ ๆ
อาชีพเพราะเปน็ ความคิดท่ีรวดเร็วและเปน็ ทกั ษะทด่ี ี การฝึกการคิดหรือพยายามคิดเรอื่ งที่แปลกๆใหม่ๆเปน็ ประจา
จะทาใหเ้ กิดความเฉียบแหลมในการคดิ แก้ปญั หาต่างๆเพ่มิ ขนึ้
ความคดิ สร้างสรรค์สามารถทาให้คนเกดิ มมุ มองใหม่ๆ นกั คดิ สรา้ งสรรคจ์ ะเร่ิมใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์ในการดาเนิน
ชีวิต ถึงแม้วา่ นักคิดสร้างสรรคน์ ้ันจะไมร่ ู้เหตุผล เพราะความคิดสร้างสรรค์ จะเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ ความคิด
สรา้ งสรรคส์ ามารถเปล่ียนทัศนคติของคน เพ่มิ ความมนั่ ใจในความสามารถและศักยภาพของตนเอง มแี รงกระตุ้นที่
ทาให้คนแสดงออกถึงความสามารถได้ ทั้งหมดท่ีกล่าวมา ความคิดสร้างสรรค์คือสิ่งที่นาไปสคู่ วามสาเร็จ การใช้
ความคิดสร้างสรรคใ์ นการพฒั นาชีวิตและประสบความสาเร็จในเปา้ หมายท่ีวางไว้

โอลกวิน (Olguin. 2010 : Web Site) ไดก้ ล่าววา่ ความคิดสร้างสรรค์มปี ระโยชนม์ ากมายในโลกแห่งความ
เปน็ จริงดังนี้

- ความคดิ สรา้ งสรรค์เพยี งเลก็ น้อยทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ มากขนึ้ ได้
- มคี วามมัน่ ใจในตวั เองมากข้ึน
- มีความก้าวหน้าในอาชีพการงานไดเ้ รว็ ขน้ึ
- เพมิ่ กาลงั รายได้จากการใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์
- ช่วยในการจดจาและแกป้ ญั หาได้รวดเร็วและงา่ ยขึ้น
- มคี วามเพลดิ เพลนิ และพึงพอใจกับงานมากขนึ้
- มีสมั พันธภาพทีด่ ีกับเพอ่ื นร่วมงานและผู้บริหาร
5. กิจกรรมความคิดสร้างสรรค์
เคฟ (Cave. 1996 : Web Site) ได้กล่าวไว้วา่ กิจกรรมความคิดสร้างสรรคห์ นง่ึ กจิ กรรมทนี่ ่าสนใจ คือ
การระดมสมอง ซ่ึงได้กลายเป็นกิจกรรมท่ีใชท้ ั่วไปในการสอนภาษาองั กฤษ และเปน็ คา ทวั่ ไปสาหรับกิจกรรม
ความคิดสร้างสรรค์ พ้ืนฐานของการระดมสมองเป็นการใชค้ วามคิดในสถานการณ์หน่งึ ซ่ึงข้ึนอยกู่ ับการตัดสินใจ
การวิจยั ทางวิทยาศาสตรไ์ ด้พสิ ูจน์แล้วว่ากจิ กรรมระดมสมองเปน็ กิจกรรมท่มี ีคุณภาพอยา่ งสูงในการทากิจกรรมกลุ่ม
เป็นกจิ กรรมที่แยกออกจากกิจกรรมการคิด ไมเคลิ มอร์แกน กลา่ วว่า กจิ กรรมระดมสมองเปน็ กระบวนการทางาน
กลุม่ ท่ดี ที ่สี ดุ หากปฏิบัตติ ามข้อปฏบิ ัติดงั น้ี
- มกี ารกาหนดปญั หาไวอ้ ย่างชัดเจน
- รวบรวมความคิดเหน็ ทง้ั หมดของสมาชิกในกลุ่ม
- แต่ละกล่มุ จะตอ้ งมจี านวนสมาชกิ ทเี่ หมาะสม
กจิ กรรมการระดมความคิดเป็นกจิ กรรมแบบด้ังเดิมท่ีเกิดจากกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ( Edward de
Bono 1996) ความคดิ รวบยอดของกิจกรรมระดมสมองคือ ขอ้ คิดเห็นของบคุ คลอ่นื จะชว่ ยกระตนุ้ กระบวนการ

๒๐

เรียงลาดับความคดิ ของตนเอง ความคิดสรา้ งสรรค์เปน็ การอธิบายเทคนิคการใช้กระบวนการคิด เราควรจะรับฟัง
ความคิดเห็นของบุคคลในกลุ่ม c และใช้เวลาในการทบทวนความคดิ ของตนเอง การคิดแบบเป็นกลมุ่ โดยใช้
กระบวนการระดมสมองจะช่วยสร้างกระบวนการคดิ แต่การคิดคนเดยี วจะทาให้เกดิ ทิศทางการคิดท่ีเดน่ ชดั อย่างไร
กต็ ามเมื่อบุคคลเกิดความคิดขน้ึ มา กระบวนการกลุ่มจะช่วยพัฒนาความคิดของบุคคลมากขน้ึ

ทอมสัน (Thompson. 2010 : Web Site) กล่าวถึงกจิ กรรมความคดิ สร้างสรรค์ไว้ดังน้ี
- เกมคาศัพท์ สามารถช่วยให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์เน่ืองจากเกมคาศัพท์สามารถส่งเสริมให้เดก็ สร้าง
ความสัมพนั ธ์ของความคิดสรา้ งสรรค์และความสมั พันธ์ระหวา่ งองค์ประกอบทแ่ี ตกต่าง ซง่ึ มีความหลากหลายของ
เกมคาศัพทท์ ่ีสามารถสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามคดิ สร้างสรรค์ ตัวอยา่ งเช่น ความพยายามในรายการสี่หรือห้าคาที่เก่ียวขอ้ ง
กนั ในคาอนื่ ๆ ได้ มีเด็กท่ดี ูรายกาซึง่ มีความตั้งใจในการต้งั ชื่อ คาวา่ การเช่ือมตอ่ ตัวอย่างเช่น คา ว่า นอนหลับ
ประกวด และ เครอื่ งหมาย บนแผ่นกระดาษ เด็กกจ็ ะพยายามที่จะคาดเดาคาท่ีเกีย่ วขอ้ งกับคาวา่ ความงาม สาหรับ
เกมนีจ้ ะรองรับเด็กหลายคนท่ีพยายามเชื่อมโยง - เกมสร้างภาพในความคิด สามารถชว่ ยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เพราะเกมนี้ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนสามารถแก้ปญั หาไดด้ ้วยและรปู ร่างรูปแบบมากระตนุ้ จนิ ตนาการและความสามารถในการ
สรา้ งภาพ วิธหี นึ่งในการกระตุ้นให้เกิดความคดิ ออกมาเปน็ ภาพนามธรรมคือ ใหผ้ ู้เรียนมองไปทภี่ าพแลว้ อภิปราย
เกีย่ วกบั ส่ิงท่ีเหน็ แลว้ เลอื กภาพท่ีมอี ยู่ทั่วไปเลือกเพียงสองภาพ เชน่ ภาพแจกนั หรือภาพของสองใบหน้า ขึ้นอยู่กับ
วธิ กี ารมอง ผ้เู รียนท่ีมีทกั ษะทางความคิดที่ยดื หยุ่นจะมองเห็นท้ังสองดา้ นของภาพ อย่างไรก็ตามครอู ย่าไปหยุดอยู่
แคค่ าตอบเหล่านี้เพราะนักเรยี นมองภาพด้วยทัศนคติและเปา้ หมายที่
แตกต่างกัน ทส่ี าคญั คอื ปลอ่ ยให้ผู้เรียนไดจ้ ินตนาการไปโดยไม่ยับยง้ั หรือต่อตา้ นถึงแม้จะเปน็ ความคิดทีแ่ ปลก
- เกมวาดภาพ ซ่ึงรวมไปถึงประโยชน์ของเกมการสร้างภาพและเกมคา ศัพท์เปน็ การส่งเสริมความคิด
สร้างสรรค์ การวาดรปู ยังช่วยใหเ้ ด็กท่ีจะเลน่ กับเร่อื งที่สามารถจะเปลย่ี นแปลงและสรา้ งในรูปทรงทมี่ ีอยู่มากกว่า
เรือ่ งทค่ี งที่ เชน่ รปู ภาพ สาหรบั เกมท่ีเหมาะสาหรับการวาดภาพ เวบ็ ไซตแ์ นะนาการสอนการคดิ เด็กวาดเส้นโค้ง
ง่ายๆในชิ้นส่วนของกระดาษหรือคณะกรรมการและขอให้สิ่งทมี่ ันอาจจะเป็น จากน้นั เด็กแต่ละคนวาด squiggle
และมพี วกเขาใช้รูปร่างเพอื่ สร้างสิ่งที่ซับซ้อนมากขนึ้ พวกเขาสามารถทาเช่นนี้ในคู่หรือคนเดียว พวกเขาสามารถ
พูดคยุ ภาพวาดของพวกเขากบั พนั ธมติ รกับส่วนทเี่ หลือของเด็กหรอื กบั คุณ
- เกมวาดภาพ ซ่ึงรวมไปถึงประโยชน์ของเกมการสร้างภาพและเกมคา ศัพท์เปน็ การส่งเสริมความคิด
สรา้ งสรรค์ การวาดรูปยังช่วยใหเ้ ด็กที่จะเลน่ กบั เรือ่ งที่สามารถจะเปลยี่ นแปลงและสร้างในรปู ทรงทม่ี ีอยู่มากกว่า
เรือ่ งท่คี งที่เช่นรปู ภาพ สาหรับเกมท่เี หมาะสาหรับการวาดภาพ เว็บไซตแ์ นะนาการสอนการคดิ โดยใหเ้ ด็กวาดเส้น
โคง้ งา่ ยๆในชิ้นส่วนของกระดาษหรือบอร์ดและถามถึงส่ิงที่วาดเท่าที่จะเป็นไปได้ จากนั้นเด็กแต่ละคนวาดเส้นโค้ง
โดยใช้รปู รา่ งเพอ่ื สร้างสง่ิ ท่ีซับซ้อนมากขึ้น สามารถทาเป็นคู่หรอื เดย่ี วกไ็ ด้ ให้เดก็ พดู อภปิ รายเกี่ยวกับส่ิงทว่ี าดให้คู่
ตนเองฟงั พดู ใหน้ ักเรยี นคนอืน่ ๆท่ีเหลือ หรือพูดให้ตัวครูเองฟัง
6. การประเมนิ ความคิดสร้างสรรค์
เอส ปราสาด (s. Prasad. 2009 : 19) ได้กล่าวไว้ว่า มีการทดสอบมากมายสาหรับการวัดความคิด
สร้างสรรคข์ องเด็ก เช่น การทดสอบมินนโิ ซตาของความคดิ สร้างสรรค์ การทดสอบทอรนั ซ์ของการคิดของสมาคม
ทดสอบ เคร่ืองมือวัดความคิดสร้างสรรคข์ องวอลลัชและโคแกน ในการประเมนิ ความคิดสร้างสรรค์จะต้องมเี ง่ือนไข
ทีส่ นบั สนนุ และใชใ้ นการประเมินความคดิ สร้างสรรค์ดงั น้ี
1. เวลา เพือ่ ให้เด็กเกิดความคดิ สร้างสรรค์ เดก็ จะตอ้ งไม่ถูกบงั คับมากเกินไป ให้มเี วลาวา่ งสกั เลก็ น้อยเพื่อ
เลน่ โดยใชค้ วามคดิ และมโนภาพแลว้ พยายามสร้างสรรคอ์ อกมาในรูปแบบใหมแ่ ละแบบดั้ งเดิม
2. การอยูล่ าพัง เพยี งแค่อยูห่ า่ งจากความกดดันในกลุ่มของสงั คม ก็ถือว่าสามารถเกิดความคดิ สร้างสรรค์ได้
เหมือนถอ้ ยคาของนกั ร้องทว่ี า่ ต้องใช้เวลาและการอยู่ลาพังเพ่ือพัฒนาชวี ิตท่ีเต็มไปด้วยความสรา้ งสรรค์

๒๑

3. การกระตุ้น โดยไมค่ านึงถึงมาตรฐานความสาเร็จที่ผใู้ หญต่ ั้งไว้ เด็กตอ้ งได้รับการส่งเสริมใหม้ ีความคิด
สร้างสรรค์และเป็นอิสระจากการวิพากษว์ ิจารณ์

4. วัสดุ สอ่ื อืน่ ๆ ในภายหลังจะต้องเสริมแรงกระตนุ้ ให้เกิดการทดลองและการสารวจทเี่ ป็นองค์ประกอบ
สาคัญของความคดิ สรา้ งสรรค์ท้งั หมด

5. การกระตุ้นจากส่ิงแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมที่บ้านและที่โรงเรยี นจะต้องกระตนุ้ ความคิดสรา้ งสรรค์โดย
การให้คาแนะนาและกาลงั ใจทเี่ ป็นปัจจัยในการส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์ การกระตุน้ จากส่งิ แวดลอ้ มนี้ควรทา
อยา่ งต่อเนื่องจากวัยเด็กสู่โรงเรียนโดยการทาใหเ้ กดิ ประสบการณ์ทางความคดิ สร้างสรรค์ท่ีสนุกสนานและเปน็ ที่
ยอมรบั ทางสังคม

6. ความสมั พันธ์ของผู้ปกครองทีเ่ ป็นแบบเมินเฉย ผู้ปกครองทไ่ี ม่มีการปกปอ้ งหรอื ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีความ
อสิ ระ เชอ่ื มั่นในตนเองมผี ลอยา่ งมากต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก

7. วิธกี ารฝึกอบรมเด็ก การฝกึ เด็กใหม้ คี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยและการยินยอม ท้งั ในบ้านและในโรงเรียน
ซง่ึ เป็นการสง่ เสรมิ ให้อดกลั้นในสถานการณ์ทเ่ี ผดจ็ การ

8. โอกาสทจ่ี ะไดร้ ับความรู้ คิดในเชงิ สร้างสรรค์ไมส่ ามารถเกิดขนึ้ ได้จากความว่างเปล่า เด็กสามารถได้รับ
ความร้ทู ี่ดีกว่าพื้นฐานท่ีจะสร้างผลิตภัณฑท์ างความคิดสร้างสรรค์ ดังท่ี ปูลัสกี้ ได้กล่าวว่า "เดก็ จะ ต้องมีเนือ้ หา
เพอื่ ทจ่ี ะเพอ้ ฝัน."

งานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง
1. งานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ งในประเทศ
ศศธิ ร โรจนธ์ รรมรกั ษ์ (2552 : บทคดั ย่อ) ได้ทาการศึกษาคน้ คว้าเรอื่ ง การส่งเสรมิ กระบวนการคิดอย่าง

สรา้ งสรรค์ของนักเรียนโดยใชท้ ฤษฎีของฟอยเออรส์ ไตน์ กลุ่มประชากรในงานวจิ ัยเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาชัน้ ปที ี่ 4
จานวน 39 คน จากโรงเรยี น บางปะกอกวิทยาคม ในการวิจัยจะทาการสมุ่ เก็บขอ้ มูลจากกล่มุ ตัวอยา่ งเพียง 3 คน
เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลวจิ ัยได้แก่ งานเขยี นของนักเรียน , แบบสอบถามหลังการวจิ ยั และการสัมภาษณ์
แบบก่ึงมีรูปแบบ ในการวิจัยทุกครั้งก่อน ทนี่ ักเรียนจะเร่มิ งานเขียน ผทู้ าวิจัยจะทาการอภิปรายกับผู้เรียน ถึง
ประเด็นหลักสามข้อคอื ความตระหนักถงึ ประโยชน์ ความเก่ียวขอ้ งของประสบการณ์การ การเขียนกับสถานการ ณ์
อนื่ ๆ และความมัน่ ใจว่าเข้าใจคาสั่งชัดเจน หลงั จากน้ันผู้สอนได้เสนองานเขียนแกน่ ักเรียนโดยการใชว้ ิธีการท่ี
หลากหลาย เพ่ือกระต้นุ ให้ผูเ้ รยี นทางานให้สมบูรณ์ และผ้สู อนได้ลดความชว่ ยเหลือผ้เู รยี นทลี ะนอ้ ย กล่มุ ประชากร
เขียนงานทั้งหมดหา้ ชนิ้ ซ่ึงใช้แบบเรียนสองชนดิ คือ แบบฝึกหัดที่สรา้ งข้ึนตามทฤษฎีของ ฟอยเออร์สไตน์ และ
แบบฝึกหดั ที่ได้ปรบั เปล่ียนให้สอดคล้องตามทฤษฎขี องฟอยเออร์สไตน์ หลงั จากน้ันงานเขียนของกลุ่มประชากรจะ
ถูกตรวจนับเพ่ือหาปริมาณความคิดอย่าง สร้างสรรค์ โดยผ้ตู รวจห้าคน โดยใชเ้ กณฑ์ที่ผู้วิจัยสรา้ งขนึ้ คะแนนของ
กลุ่มตัวอย่างจะเป็นเครื่องบง่ ช้ี ถงึ ความก้าวหน้าทางความคิดหลังการใช้ทฤษฎีของฟอยเอ อร์สไตน์ จากการ
ศึกษาวจิ ัยพบว่า การใช้ทฤษฎีของฟอยเออร์สไตน์นักเรียนไมส่ ามารถบ่งช้ีถึง ประสิทธิภาพของทฤษฎนี ี้ได้อย่าง
ชัดเจน ในขณะเดียวกันผู้ทาวจิ ัยได้พบปัญหาจากการใช้ ทฤษฎีนี้ อย่างไรก็ตามผวู้ ิจัยพบว่าทฤษฎีนส้ี ามารถปรับ
ทัศนคติของเด็กต่อการเขยี นไปใน ทางที่ดขี ้ึน และทาใหน้ ักเรยี นตระหนกั ถึงความสามารถของตนเองมากยง่ิ ขึน้

หงส์สนุ ีย์ เอ้ือรัตนรกั ษา (2552 : บทคดั ยอ่ ) ได้ทาการศึกษาคน้ คว้าเร่อื ง การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการใชร้ ูปแบบการคิดแกป้ ัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอแรนซ์ กลุ่ม
ตัวอย่างเปน็ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก จานวนของนกั เรียนกลุ่มตวั อย่างท้งั หมด76
คน แบง่ เป็นกลุ่มทดลอง 38 คน กลุ่มควบคุมจานวน 38 คน โดยวิธกี ารสมุ่ อย่างง่าย งานวิจยั น้ีเปน็ การวจิ ัยเชิง
ทดลองแบบมกี ลุ่มควบคุมทดสอบก่อนการทดลองและหลงั การทดลองในระย ะการทดลองน้นั นักเรียนกลมุ่ ทดลอง

๒๒

ได้รบั การสอนตามรูปแบบการคิด แก้ปญั หาอนาคตตามแนวคิดของทอแรนซ์จานวน 15 ครง้ั สว่ นกลมุ่ ควบคุมได้รับ
การสอนตามปกติ โดยใช้เนอื้ หาของกลมุ่ วิชาสร้างเสริมประสบการณช์ วี ิต หน่วยที่ 11 เกย่ี วกบั ขา่ ว เหตกุ ารณ์ และ
วันสาคญั ผู้วิจยั ทาการทดสอบวัดความคดิ สร้างสรรค์ของนกั เรียนกลุ่มตวั อย่างทุกคนในระยะก่อนการทดลอง หลัง
การทดลองและระยะตดิ ตามผลหลังการทดลอง วิเคราะหข์ อ้ มูลโดยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการ
ทดสอบค่าที ผลการวจิ ัยพบว่า สมมติฐานการวจิ ัยได้รับการสนบั สนุน โดยทคี่ ะแนนความคิดสรา้ งสรรค์ หลังการ
ทดลอง และระยะติดตามผลหลังการทดลองของนักเรยี นกลุ่มทดลองสงู กว่านักเรียนกลมุ่ ควบคุมอยา่ งมนี ัยสาคัญ
ทางสถติ ิท่ีระดับ .001 และคะแนนความคิดสร้างสรรคห์ ลังการทดลองและระยะตดิ ตามผลหลังการทดลองของนัก
เรยี นกลุ่มทดลองสงู กวา่ กอ่ น การทดลองอยา่ งมีนัยสาคัญที่ระดับ .001

2. งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้องในต่างประเทศ
แมราโพดิ (Marrapodi. 2005 : 8-18) ไดท้ าการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเร่ือง การศึกษาและเปรยี บเทยี บ
ทฤษฎีการคิดวจิ ารณญาณและความคดิ สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ส่วนใหญ่จะกล่าวถงึ ความคดิ สว่ นบคุ คลและ
วิธกี ารสร้างสรรคก์ ระบวนการทางาน มกี ารสารวจความคิดสรา้ งสรรค์จากกลุม่ คนท่ีเข้าอยใู่ นโรงละคร และการ
ประยกุ ต์ใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ในการทางาน มกี ารกาหนดรปู แบบของความคดิ สร้างสรรค์ไว้หลายลกั ษณะ เชน่ การ
รวบรวมแนวความคิด การเสนอแนวความคิดท่ีแตกต่าง รูปแบบ3P (กระบวนการ ผลผลติ บุคคล และการนาเสนอ)
ความคิดสร้างสรรค์ถูกมองว่าเป็นกระบวนการมากกวา่ ผลผลิต และมีความหลากหลายของทฤษฎี ความคิด
สร้างสรรค์ในเรื่องใดเรื่องหนึง่ ท่ีถกู กาหนดไว้จะตอ้ งได้รับการตรวจสอบจากผ้เู ช่ยี วชาญว่ามีกระบวนการความคิด
สร้างสรรค์มากน้อยเพียงใด โดยทั่วไปแลว้ การตรวจสอบผลผลิตทางความคิดสร้างสรรค์ อาศยั สมมตฐิ านที่ว่า “ผู้มี
ความคิดสรา้ งสรรค์จะมศี กั ยภาพทางความคิดทด่ี ี”
ความคิดสร้างสรรคถ์ ูกกาหนดให้เป็นสิง่ ทแี่ ตกต่างจากปัญญา เพราะว่าความคิดสรา้ งสรรคไ์ ม่ได้จากัด
ขอบเขตของงานและรูปแบบในการเรียนรู้ แตเ่ กีย่ วข้องกบั กระบวนการทีซ่ ับซ้อนที่สัมพนั ธ์กับปัจจัยดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
ความคดิ สร้างสรรคเ์ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของนวตั กรรม
ในขณะท่ีความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดของแต่ละบคุ คล ยังมีเอกสารที่เกีย่ วขอ้ งกับความคิด
สร้างสรรค์ ซ่ึงมกี ารรายงานถึง สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับกระบวนการคิดสร้างสรรค์ดงั นี้คือ บคุ คลจะมี
ความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรค์มากข้ึนเมื่อมีแรงจงู ใจจากภายใน นอกจากนย้ี งั มกี ารทดลองพบวา่ บุคคลแตล่ ะคน
จะมคี วามแตกต่างด้านกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ท่ีแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญ ผลการทดลองดงั กล่าวแสดงให้เห็น
ว่าบคุ คลแต่ละคนมีศักยภาพทางความคิดที่แตกต่างกัน เจ ฮารจ์ รีฟส์ (J. Hargreaves. 2009 : Web Site) ได้
ทาการศกึ ษาค้นคว้าเก่ียวกับเร่ือง การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กจากเพลงบทความนี้รายงานการศกึ ษาก่ึง
ทดลองที่เป็นผลมาจากการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ของเด็ก ๆ โดยใช้เพลง ได้ศึกษาและดาเนินการในโรงเรียน
ประถมที่มีสองกลุ่มทต่ี รงกันของเด็ก 6 ปี ในชว่ งระยะเวลาหกเดือนที่เรยี นดนตรี สาหรบั กลุ่มทดลองนั้นจะประกอบ
ไปดว้ ยกจิ กรรมการแตง่ เพลงทห่ี ลากหลาย ในขณะท่ีผเู้ รียนกลุ่มควบคมุ ไม่ได้ทากิจกรรมใด ๆ แตจ่ ะถูกสอนโดยครู
เปน็ ศูนย์กลาง เด็กในกลุ่มทดลองทจี่ ะไดร้ ับโอกาสและประสบการณท์ ห่ี ลากหลายในการแต่งเพลงจากเสียงขับรอ้ ง
ของพวกเขา การแสดงลลี าประกอบ และเสียงเคร่ืองดนตรี ผู้ดูแลเวบ็ การประเมนิ ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นเพลง
MCTM (Webster, 1987, 1994) ได้จัดการวิธีการใชโ้ ปรแกรมการเรียนการสอน ก่อนและหลังเรียน ในหกเดือน
(เชน่ Pre - test และ Post - test) เพ่ือประเมินความคิดสร้างสรรค์ของเดก็ ในแงข่ องดนตรีทง้ั ส่ีอย่าง ได้แก่ ความ
หลากหลาย ความยดื หยุน่ ทางดนตรี ความคดิ รเิ รมิ่ และไวยากร ณ์ การวเิ คราะห์พบว่าการกระทาอย่างมีนัยสาคญั ที่มี
ผลต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์น้ันโดยเฉพาะอย่างย่ิงจะส่งเสริมความยดื หยุ่นดนตรี ความคิดริเริ่มและ
ไวยากรณ์ของเด็กในการแตง่ เพลง

๒๓

บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การวจิ ัย
การวิจัยครั้งน้ี มีความมงุ่ หมายเพือ่ ศึกษาการพฒั นาทกั ษะการพูด ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบบันทึก
การสนทนา โรงเรียนเลาขวญั ราษฎร์บารุง สงั กัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 อาเภอเลาขวัญ
จงั หวัดกาญจนบรุ ี โดยผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การตามข้นั ตอนดังต่อไปนี้
1. ขอบเขตของการวิจยั
2. ขัน้ ตอนดาเนินการวจิ ยั
3. เคร่อื งมือและวธิ ีการสร้างเครื่องมือ
4. เทคนิคการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
ขอบเขตของการวิจยั
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการ วิจัยปฏิบัติการใน ช้ันเรียนแบบร่วมมือ ( Collaborative Classroom Action
Research) โดยมีขอบเขตการวิจัยดังน้ี
1. กลมุ่ เป้าหมาย
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเลาขวัญราษฎร์บารุง สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
อาเภอเลาขวัญ จังหวดั กาญจนบุรี ปกี ารศกึ ษา 2562 จานวนนักเรยี น 32 คน 1 ห้องเรยี น
2. ระยะเวลาที่ใชใ้ นการวิจัย
ใชเ้ วลาในการวจิ ัย ทั้งสิน้ 1 ภาคเรยี น คอื ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562
3. เน้อื หาท่ใี ช้ในการวิจัย
เนื้อหาท่ีใช้ในการวิจัยครงั้ นี้ ผู้วจิ ัยพจิ ารณาจากหนงั สอื เอกสารประกอบการวิจยั แ ละค่มู ือการเรียนรกู้ ลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พทุ ธศักราช 2544 ซึ่งมีรายละเอียด
ดงั ต่อไปน้ี

๒๔

3.1 What should I do?

มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทง้ั หมด 12 ช่ัวโมง

ขนั้ ตอนดาเนนิ การวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ ใชก้ ารวิจัยเชงิ ปฏิบัติการในช้ันเรียน ซ่ึงผู้วจิ ัยได้นาหลกั การและขั้นตอน ของการวิจยั เชิง
ปฏิบัตกิ ารของ Kemmis และ McTaggart โดยแบง่ เป็น 2 ส่วน (Phase) ดังนี้

1. สารวจปัญหา (Exploring Problem) ผู้วจิ ยั ได้ศึกษาและวเิ คราะห์สภาพปญั หาการจัดการเรียนการสอน
ภาษาองั กฤษ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเลาขวญั ราษฎรบ์ ารงุ สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา
เขต 8 อาเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี ปัญหาท่ีพบมากทส่ี ุดในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ คอื ปัญหาด้าน
การพูด นกั เรียนยังขาดทักษะทางดา้ นการพูด และการสนทนา เพราะส่วนใหญ่ นักเรยี นได้ฟังครูพดู ในห้องเรยี น
เทา่ น้ันไม่ไดฝ้ ึกพูดโดยตรงจากเจ้าของภาษา และมีการเรยี นการสอนท่ีเนน้ เฉพาะสว่ นของ grammar ซึง่ ละเลยใน
ส่วนของภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร นกั เรียนยังขาดทักษะการ พูดสนทนากับครูตา่ งชาติเนือ่ งจากไม่กล้าทีจ่ ะพูดหรือถาม
เปน็ ภาษาอังกฤษในการเรียนภาษาองั กฤษ และมีการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีไมท่ า้ ทายและไมก่ ระตุ้นผเู้ รียน ดว้ ย
ขอ้ เสยี ของกิจกรรมเหล่าน้ี ผวู้ จิ ัยจึงนาไปส่กู ารใชก้ จิ กรรมการถามครูกลุ่มสาระการเรียนรูต้ ่างๆ พัฒนาทักษะการพูด
มาช่วยในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เพราะทักษะการพูดเป็นทักษะที่มีความสาคัญนกั เรีย นต้องได้พูด
เลียนแบบเสียงเจ้าของภาษา ออกเสียงอย่างถูกต้อง พูดส่ือความหมายโดยการใช้ แบบบันทกึ การสนทนาท่ี
หลากหลาย เม่อื สามารถพดู ภาษาอังกฤษได้แล้ว นักเรียนจะสามารถพฒั นาไปสทู่ ักษะ ฟัง อ่าน และเขียนได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง

ผ้วู ิจยั ได้วเิ คราะห์ปญั หาและสาเหตุตา่ งๆ จากปญั หาดงั กล่าวจึงได้วเิ คราะห์ปัญหาและสาเหตุท่ีเกดิ ขึ้นและ
รว่ มกนั หาแนวทางแก้ไขปัญหาโดย ผู้วจิ ัยได้นาสื่อการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ จาก
หนังสือท่ีเหมาะสมและมีศกั ยภาพในด้านการพูดเพื่อการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษและ การสนทนาของ
นักเรียน เป็นการส่ือการเรียนทชี่ ว่ ยพฒั นาทักษะการพูดท่ีมีประสทิ ธิภาพ ในการวิจัยครั้งน้ีผ้วู ิจยั จึงมคี วามสนใจใน
การจัดกิจกรรมการเรียนกา รสอนเพื่อพัฒนา ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบบันทึกการสนทน า
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเลาขวญั ราษฎรบ์ ารุง สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 8 อาเภอ
เลาขวญั จังหวดั กาญจนบุรี จากน้ันผ้วู จิ ยั ได้ศึกษาคน้ ควา้ ความรแู้ ละงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้องกบั แนวการจัดการเรยี นการ
สอนเพอื่ พัฒนาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ การวจิ ัยเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เชน่ เทคนคิ การ
สงั เกตแบบไม่มีโครงสรา้ ง การสังเกตโดยผู้ร่วมวิจัยจากคณะครูต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้อืน่ การสัมภาษณเ์ พ่ือ
นามาใช้ในการวิจยั

๒๕

2. ขัน้ ปฏบิ ตั กิ ารในรปู วงจร มที ง้ั หมด 3 วงจร 1 วงจร มี 4 ข้นั ตอน ดังน้ี

2.1 ข้ันวางแผน (Plan) ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการสร้างแผนการเรียนรู้ ส่อื อุปกรณ์การสอน และเครื่องมือทีใ่ ช้ใน
การสงั เกตเพอ่ื ใชใ้ นการวจิ ยั

2.2 ขน้ั ปฏิบตั ิตามแผน (Action) เปน็ ข้นั ตอนท่ีลงมือดาเนินการสอนตามแผนการ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบบันทึกการสนทนา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 จานวน 1 แผนที่เตรยี ม
ไว้

2.3 ข้ันสังเกต (Observation) ข้ันนี้ผู้วิจยั ใชเ้ ทคนคิ การเก็บรวบรวมข้อมูลท้งั หมดทีก่ าหนดไว้ โดยผู้วิจัยทา
การสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในดา้ นการเรียน และพฤติกรรมด้านการพดู และสภาพแวดลอ้ มของห้องเรียน การ
สังเกตของผ้รู ว่ มวจิ ยั เป็นผู้สงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมของครู

ในขณะทาการสอน เชน่ การมีปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งครกู บั นักเรียน ความเปน็ ธรรมชาติในการจดั กิจกรรม
การใช้กจิ กรรมพัฒนาการพูดสนทนา ท่ีได้เตรยี มไว้ อารมณข์ องครขู ณะจดั กจิ กรรมตลอดทงั้ สภาพแวดล้อมภายใน
ห้องเรียน และการสัมภาษณ์ เป็นการสุ่มสัมภาษณค์ วามคดิ เห็นของนักเรียนท่มี ี ต่อการเรียนภาษาอังกฤษ บันทึก
ขอ้ มลู และผเู้ ก็บข้อมลู ในขณะเดยี วกัน

2.4 ข้ันสะท้อนผลการปฏบิ ัติ (Reflection) ข้ันน้ีเป็นการนาข้อมูลที่ไดจ้ ากข้ัน การสงั เกตโดยผรู้ ่วมวจิ ัย
การสัมภาษณ์ และการสนทนา มารว่ มกันวเิ คราะห์ ดังนน้ั ผู้วิจัยและผู้ร่วมวจิ ัยได้ทาการสงั เกตเพื่อใหไ้ ดข้ อ้ เสนอแนะ
และแนวทางในการศึกษาการพฒั นาทักษะการพดู ภาษาอังกฤษ โดยการใช้แบบบันทึกการสนทนา ชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี 3 และเพ่ือปรับปรงุ คณุ ภาพของแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะการพูดในวงจรต่อไป

เครื่องมือและวิธีการสร้างเครือ่ งมือ

1. เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เคร่ืองมือที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
ได้แก่

1.1 แผนการสอน ท่ใี ช้ในการพัฒนาทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ โดยการใช้แบบบันทกึ การสนทนา จานวน
1 แผน ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้

1.1.1 What should I do? จานวน 1 แผนการสอน 12 ช่วั โมง

๒๖

1.2 แบบประเมิน

1.2.1 แบบประเมนิ ทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษเกี่ยวกบั เนื้อหาที่กาหนด

1.2.2 แบบประเมนิ การสนทนาระหว่างนักเรียนกบั ครู

2. การสร้างเคร่อื งมือและการหาคุณภาพของเคร่ืองมือ

2.1 ศกึ ษาหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สาระต่า งประเทศตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช
2544 ทกั ษะการฟงั ภาษาอังกฤษ การพูดภาษาอังกฤษ และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรม
การเรยี นทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษ

2.2 เลอื กหน่วยการเรียนรู้ (Unit) และหัวเร่ือง (Topic) ของระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ทมี่ คี วามเหมาะสม

2.3 เลอื กเน้ือหาจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่สอดคล้องกบั Unit Topic

2.4 เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ทักษะการพูดภาษาองั กฤษ โดยใช้ โดยการใชแ้ บบบันทกึ การสนทนา
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 1 แผน

2.5 นาแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่กลุ่มผู้วจิ ยั สร้างขน้ึ จานวน 1 แผน เสนอตอ่ อาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือ
พจิ ารณาตรวจสอบ แก้ไขเน้ือหาแตล่ ะข้ันตอนของแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐาน
การเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และกจิ กรรมการเรยี นการสอน

2.6 นาแผนการจัดการเรียนรูม้ าปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ท่ปี รกึ ษา

2.7 นาแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ เสนอต่ออาจารย์ทีป่ รกึ ษา เพื่อพจิ ารณาความ
ถกู ต้องอกี ครั้ง แล้วจึงจัดพมิ พ์ฉบับจริงเพอื่ นาไปใช้เป็นเคร่อื งมอื ในการทดลองกบั กลุ่มเปา้ หมาย

3. แบบบนั ทึกการสนทนา ใชใ้ นการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยนักเรยี นกลุ่มเป้าหมายใช้
ประโยคคาถามภาษาอังกฤษในการสอบถามครูในโรงเรยี นและให้ครูทน่ี ักเรียนสอบถามน้ันลงช่อื เพื่อประเมิน
ความสามารถในการพดู

เทคนคิ ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ในการวิจัยคร้งั นี้ ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ช้เทคนิคในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ โดยใช้เทคนิคดงั ตอ่ ไปนี้

2.1 การสนทนา เป็นการฝกึ การพูดภาษาองั กฤษและกล้าแสดงออกในการสอบถามข้อมลู ระหว่างนักเรยี น
กบั ครูผู้สอน การสนทนาแต่ละครั้งจะนาไปสแู่ นวทางการปฏิบตั ิ เพ่อื แก้ไขข้อบกพร่องปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลงในวงจร
ตอ่ ไป

๒๗

2.2 การสังเกตแบบไม่มีโครงสรา้ ง เป็นการสงั เกตพฤติกรรมการเรียนและพฤติกรรมการพูดของนักเรียนท่ี
เกดิ ข้นึ ในระหว่างการดาเนินกิจกรรมการสอน

2.3 การสัมภาษณ์แบบไมม่ ีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณน์ กั เรียนบางคนที่ผู้วิจัยตอ้ งการขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จาก
ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากสนทนาและการสังเกตความคิดเห็นของนักเรยี นทีม่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้
แบบบนั ทึกการสนทนา เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการพดู

2.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลการพัฒนาทักษะการพูด ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่
3 โดยใช้โดยการใช้แบบบันทึกการสนทนา ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาและเกบ็ ขอ้ มูล ที่โรงเรียนเลาขวัญราษฎรบ์ ารุง
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 เป็นเวลา 1 ภาคเรยี น สัปดาห์ละ 3 ช่ัวโมง รวมเวลา 12 ช่ัวโมง โดยมีวิธีการ
ดาเนินการดังน้ี

1. วงจรท่ี 1 สอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 What should I do ใช้เวลา 12 ช่ัวโมง โดยผู้วิจัยใช้
เทคนคิ การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสรา้ ง และการสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น
ระหว่างครูและนักเรียนแล้วนาข้อมลู ทไี่ ดม้ าทาการวิเคราะห์ครั้งท่ี 1 เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปรบั ปรุงจากการ

วเิ คราะหข์ องผู้วิจยั เพอ่ื ใช้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นวงจรต่อไป

2. ปรบั ปรุงแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามแนวทางในการแก้ไขปรบั ปรงุ จากการวิเคราะหข์ องผวู้ จิ ัย
และผ้รู ่วมวจิ ัยในแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ งจรท่ี 1 เพอ่ื ใชใ้ นแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตอ่ ไป

วงจรที่ 1

แผนการสอนที่ วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้เก็บข้อมลู ผู้ให้ขอ้ มลู ระยะเวลาดาเนินการ

แผนท่ี 1 1 . สั ง เ ก ต แ บ บ ไ ม่ มี ผ้วู จิ ัยและ นักเรียน ผู้วจิ ัย สอนจนจบแตล่ ะแผน
โครงสร้างและการสังเกต ผู้ร่วมวิจยั ผวู้ ิจัย นกั เรียน นักเรยี น
โดยผู้ร่วมวิจยั สอนจนจบแต่ละแผน
สอนจนจบแตล่ ะแผน
2. การสัมภาษณ์แบบไม่ ผวู้ จิ ัย

มโี ครงสร้าง ผ้รู ว่ มวิจัย

3. การสนทนา ผวู้ จิ ยั ผ้วู จิ ยั

สะทอ้ นผลการปฏิบตั ิตามแผน คร้ังที่ 1 และปรับปรงุ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นวงจรตอ่ ไป

วงจรท่ี 2 วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้เกบ็ ขอ้ มลู ผู้ให้ขอ้ มูล ๒๘
แผนการสอนที่
ระยะเวลาดาเนนิ การ

แผนท่ี 1 1 . สั ง เ ก ต แ บ บ ไ ม่ มี ผวู้ ิจัยและ นกั เรียน ผวู้ ิจยั สอนจนจบแต่ละแผน
โครงสรา้ งและการสังเกต ผูร้ ่วมวจิ ยั
โดยผรู้ ่วมวิจัย ผวู้ ิจัย นกั เรียน นกั เรียน สอนจนจบแต่ละแผน
ผู้วจิ ยั สอนจนจบแต่ละแผน
2. การสัมภาษณ์แบบไม่ ผูว้ ิจัย

มโี ครงสร้าง ผรู้ ่วมวจิ ยั

3. การสนทนา ผู้วิจัย

สะท้อนผลการปฏิบตั ติ ามแผน ครั้งท่ี 2 และปรบั ปรงุ แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ในวงจรตอ่ ไป

วงจรท่ี 3 วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้เกบ็ ข้อมลู ผ้ใู ห้ข้อมูล ระยะเวลาดาเนนิ การ
แผนการสอนที่

แผนที่ 1 1 . สั ง เ ก ต แ บ บ ไ ม่ มี ผวู้ ิจัยและ นกั เรยี น ผู้วิจัย สอนจนจบแต่ละแผน
โครงสร้างและการสงั เกต ผูร้ ่วมวจิ ัย ผวู้ ิจัย นักเรยี น นักเรียน
โดยผรู้ ว่ มวิจัย สอนจนจบแตล่ ะแผน
สอนจนจบแตล่ ะแผน
2. การสัมภาษณ์แบบไม่ ผู้วิจยั

มโี ครงสรา้ ง ผู้รว่ มวจิ ัย

3. การเขียนอนุทนิ ผูว้ ิจัย ผู้วิจัย

สะท้อนผลการปฏบิ ตั ิตามแผน ครัง้ ที่ 3 เพ่ือนามาวเิ คราะหต์ ่อไป

๒๙

การวิเคราะหข์ ้อมูล

ผู้วิจัยได้ทาการสังเกตโดยผู้รว่ มวิจัย การสนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ระหว่างครูและนักเรียน และการ
สมั ภาษณ์ ประเมินผลการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษและการสนทนา ตามจุดประสงคใ์ นแต่ละแผนการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ เพ่ือนามาวิเคราะห์ผลการวิจัย โดยการใชเ้ ทคนิคสามเสา้ (Triangulation) และเขียนรายงาน
โดยการพรรณนาวเิ คราะหต์ ามรูปแบบของการวิจยั ปฏบิ ัติการ

๓๐

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจัยครงั้ น้ี ผู้วิจัยได้นาเสนอโดยแบง่ ออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนท่ี 1 ความสามารถทางด้านการพูดภาษาองั กฤษและการสนทนาของนักเรยี น ก่อนทาการศึกษาคน้ คว้า
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ตอนท่ี 1 ความสามารถทางด้านการพูดภาษาอังกฤษและการสนทนาของนักเรียน ก่อนทาการศึกษาคน้ ควา้

ด้านทกั ษะการพูด นักเรียนทุกคนสามารถพูดภาษาองั กฤษจากเจา้ ของภาษาได้เพยี งคา วลี หรือประโยค
ส้นั ๆ ง่ายๆ เท่านน้ั เชน่ คาทักทาย คากลา่ วอาลาแบบง่ายๆ การถามทกุ ขส์ ขุ ช่ือสถานที่ ชอื่ ผลไม้ ชื่อเครื่องดนตรี
อปุ กรณ์การเรียน อุปกรณก์ ฬี า ส่ิงของตา่ งๆในชั้นเรียน แตไ่ ม่สามารถพดู บทสนทนายาว ๆได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
รวมทง้ั นกั เรียนไม่สามารถถา่ ยทอดความเข้าใจและความคดิ ทสี่ ร้างสรรค์ออกมาเป็นคาพดู หรือเขียนเปน็ คาศัพท์ วลี
หรอื ประโยคในภาษาอังกฤษที่ซบั ซ้อนได้ ทงั ยังไม่กล้าแสดงออกในการถาม-ตอบ กับครูต่างชาติ
ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

การวจิ ัยคร้งั น้ีใชร้ ปู แบบการวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารในชั้นเรยี น การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยการใช้
แบบบนั ทกึ การสนทนาของนกั เรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเลาขวัญราษฎร์บารงุ จานวน 32 คน ซ่ึงผวู้ ิจยั ได้
ออกแบบการวิจัยไว้ 3 วงจร และเครื่องมือท่ใี ช้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน ใช้เวลาแผนละ 12 ช่ัวโมง
รวมท้ังสน้ิ 12 ชัว่ โมง เนือ้ หาท่ใี ช้ในการวิจยั ครั้งน้ี What should I do?
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลปรากฏดงั น้ี
1. การสะท้อนผลการปฏบิ ัติ วงจรที่ 1
1.1 ขั้นกจิ กรรมกอ่ นพูด

ข้ันนี้ครูเป็นผู้ให้ความรู้เกย่ี วกับคาศัพท์ โครงสร้างและเนื้อหา โดยเริ่มท่คี รู ให้นักเรียนดูวดี ีโอนาเข้าสู่
บทเรียน แลว้ ถามนกั เรียน “What should I do?” จากน้ันครูสอนคาศัพท์ และให้นักเรยี นฟังเสยี งคาศัพท์ ดูวีดีโอ
อธิบายคาศัพท์ประกอบ พร้อมท้ังออกเสียงตามและสะกดคาศัพท์โดยเลยี นแบบเสยี งของเจ้าของภาษา จากน้ัน
อธิบายการใชโ้ ครงสร้างประโยค ฟัง 2-3 ครั้ง เพื่อสรา้ งความคุ้นเคยและใหน้ ักเรียนฝกึ พูดและทบทวนคาศพั ท์ใน
ภาษาองั กฤษ หลังจากน้นั ครูจงึ ให้นกั เรยี นฝึกพูดโครงสรา้ งประโยค 2 – 3 รอบ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแต่ละคน ฝกึ ถามกัน
โดยใชค้ าศพั ทแ์ ละโครงสรา้ งท่ีเรียนมา จากการสงั เกตของผวู้ ิจัยพบว่า นักเรยี นทกุ คนให้ความร่วมมอื ในการเรยี น
และสนใจในกจิ กรรมท่ีครูนามาใช้ในการเรยี นการสอน เพราะส่อื เสียงคาศพั ท์ และวดี ีโออธิบายคาศพั ท์ชว่ ยกระตุ้น
ใหน้ กั เรยี นสนใจในบทเรียนและมคี วามทะเยอทะยานท่จี ะเรียนรู้ ในดา้ นความสามารถทาง การพดู ปรากฏวา่ ในชว่ ง
การฝึกออกเสียงคาศพั ทแ์ ละการสนทนา นักเรียนส่วนใหญ่ยงั ไมส่ ามารถเรยี บเรยี งคาพูดให้เป็นประโยคได้ เวลาครู
ถามคาถาม นักเรยี นจะไมเ่ ข้าใจว่าครูถามถงึ อะไร จึงทาให้นักเรียนไม่กลา้ ที่จะตอบคาถาม เน่อื งจากกลัววา่ ตนเอง
จะตอบหรอื ออกเสียงอยา่ งไร ผดิ ครูใช้วธิ ีการกระตนุ้ ความมน่ั ใจจนนักเรยี นกลา้ ออกเสยี งคาศัพท์ และพดู ได้ถกู ต้อง

ข้อมูลดังกลา่ วสอดคลอ้ งกับการสังเกตโดยผู้รว่ มวิจยั ซ่งึ ต่างลงความเห็นวา่ นักเรียนทุกคนมคี วามสนใจและ
ต่นื เต้นกับกิจกรรมท่ีแปลกใหม่ นักเรียนเขา้ ใจความหมายของคาศัพท์ เนือ่ งจากมวี ีดโี ออธบิ ายคาศพั ท์ แตน่ ักเรียน
ยังออกเสยี งคาศัพท์ได้ไม่ถูกต้อง และบอกความหมายของคาศัพทเ์ ปน็ ภาษาอังกฤษไดบ้ างคาเทา่ น้ัน เพราะนกั เรียน
ยังไม่คุน้ เคยกบั สาเนียงของเจา้ ของภาษา ทาให้นกั เรียนไม่กลา้ ออกเสียงหรือตอบคาถามเพราะกลัวว่าจะตอบผิด
ขอ้ มลู ดังกล่าวนี้ยังสอดคลอ้ งกบั การสัมภาษณ์นกั เรยี นผู้ร่วมวจิ ัย

๓๑

1.2 ข้นั กจิ กรรมขณะการพดู
กิจกรรมทน่ี ามาใชใ้ นการพัฒนาทกั ษะการพูดในครั้งนี้ ผวู้ ิจัยไดอ้ อกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ไว้ 1 กิจกรรม

คือ กิจกรรม Funny Asking โดยครใู ห้นักเรยี นไปถามประโยคคาถามเพ่อื สนทนาภาษาอังกฤษกบั ครูในโรงเรียนโดย
ใชป้ ระโยคดงั ตอ่ ไปน้ี

1 Hello! My name is …………………… . I’m from M. 3. Can I ask you some questions?
2 What is your name?
3 How old are you?
4 What is your telephone number?
5 What is your favorite color?
6 What subject do you teach?
7 How many people are there in your family?
9 Can you play sport?
9 Can you eat spicy food?
10 I hope you have a great day, see you again next time.

ครูในโรงเรยี นเป็นผู้ประเมินทักษะการพูด และบันทึกลงชื่อในแบบบันทึกการสนทนาของนักเรียน
รายบุคคล มีนกั เรยี น จานวน 2 คน ไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษไดเ้ ลย มนี ักเรียน จานวน 8 คนที่พอจะพดู ไดต้ าม
เกณฑ์การประเมินทักษะการพูด แต่นักเรียนทั้ง 22 คน ผ่านเกณฑ์ จากการประเมนิ การพัฒนาทักษะการพูด
ภาษาอังกฤษและการสนทนา โดยการใช้แบบบันทกึ การสนทนา ของนักเรยี น กล่มุ เปา้ หมายรายบุคคลระหว่างการ
ทากิจกรรม เมอ่ื พิจารณาปรากฏว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 32 คน มีนักเรียนอยู่ในระดับดมี าก
จานวน 12 คน เกณฑ์ระดับดจี านวน 10 คน และเกณฑ์ระดับพอใช้ 10 คน ซึง่ ระดับดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 37.50
ระดบั ดี คิดเปน็ ร้อยละ 31.25 และระดบั พอใชค้ ิดเปน็ รอ้ ยละ 25.00

๓๒

บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ยั

ผู้วิจัยไดส้ รุปผลและอภิปรายผล รวมทง้ั ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษและการ
สนทนา โดยการใชแ้ บบบนั ทกึ การสนทนา ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 สรุปผลการวิจยั ตามลาดับขั้นตอนดังนี้
1. ความม่งุ หมายของการวิจยั
2. สรปุ ผล
3. อภปิ รายผล
4. ขอ้ เสนอแนะ

ความมุ่งหมายของการวิจัย
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษและการสนทนา โดยการใชแ้ บบบันทกึ การสนทนา ของนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2/2562 โรงเรียนเลาขวัญราษฎร์บารุง สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต 8 อาเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี

สรุปผล
จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ยี วกับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ พฒั นาทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษและ

การสนทนา โดยการใชแ้ บบบันทึกการสนทนา ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2562 โรงเรยี นเลา
ขวญั ราษฎรบ์ ารงุ สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 8 อาเภอเลาขวญั จังหวดั กาญจนบุรี ในคร้ัง
นี้ผู้วจิ ัยสรุปผลการวิจัยดังน้ี

พบว่ามนี ักเรียน จานวน 2 คน ไมส่ ามารถพดู ภาษาอังกฤษไดเ้ ลย มีนักเรียน จานวน 8 คนทพี่ อจะพูดได้
ตามเกณฑก์ ารประเมินทักษะการพูด แต่นักเรยี นทัง้ 22 คน ผ่านเกณฑ์ จากการประเมินการพัฒนาทักษะการพูด
ภาษาอังกฤษและการสนทนา โดยการใชแ้ บบบนั ทึกการสนทนา ของนกั เรยี น กล่มุ เปา้ หมายรายบุคคลระหว่างการ
ทากิจกรรม เม่อื พิจารณาปรากฏว่า นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 32 คน มีนักเรียนอยูใ่ นระดบั ดมี าก
จานวน 12 คน เกณฑ์ระดบั ดจี านวน 10 คน และเกณฑ์ระดับพอใช้ 10 คน ซึ่งระดับดมี าก คิดเปน็ ร้อยละ 37.50
ระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 31.25 และระดบั พอใช้คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.00

อภิปรายผล
ผลจากการใช้กระบวนการวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการในช้ันเรียน เพ่ือพัฒนาทักษะการพดู ภาษาอังกฤษและการ

สนทนา โดยการใชแ้ บบบันทกึ การสนทนา ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2562 ปรากฏว่า
นกั เรยี นไมส่ ามารถพูดภาษาอังกฤษท่เี ปน็ ประโยคยาวๆ หรอื วลไี ดแ้ ละไม่เข้าใจในคาส่งั ภาษาอังกฤษ ผู้วจิ ยั จงึ ลด
ความยากของประโยค และใชป้ ระโยคคาถามง่ายๆ ทีเ่ จอในชวี ติ ประจาวนั บ่อยๆ เช่น

1. Hello! My name is …………………… . I’m from M.3. Can I ask you some questions?
2. What is your name?
3. How old are you?
4. What is your telephone number?
5. What is your favorite color?

๓๓

6. What subject do you teach?
7. How many people are there in your family?
11 .Can you play sport?
9. Can you eat spicy food?
12 .I hope you have a great day, see you again next time.
ทาให้นักเรยี นเรมิ่ พูดประโยคคาถามถามครู และเริ่มสนทนาภาษาอังกฤษได้มากข้ึน กล้าท่จี ะเข้าไปถามครู
ประจาวชิ าตา่ งๆเป็นภาษาอังกฤษ

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทวั่ ไป
1.1 การคดั เลือกกิจกรรมในการพัฒนาทักษะการพูดและการสนทนา ครูผูส้ อนต้องคานึงถึงกจิ กรรมที่สอดคลอ้ งกับ
เนือ้ หาทเ่ี ตรียมมารวมถงึ ระดบั ความยากง่ายของเน้ือหา เพ่ือใหก้ ารจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมกบั ระดับชนั้ ของ
นกั เรียน
1.2 ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นาทักษะการพูดภาษาองั กฤษและการสนทนา โดยใช้แบบบนั ทึก
การสนทนา ครูต้องใชข้ ้ันตอนและเทคนคิ การสอนพูดที่ให้นักเรียนไดใ้ ชท้ กั ษะในการพูดและกลา้ แสดงออกให้มาก
ที่สุด กจิ กรรมท่ีจัดขนึ้ ตอ้ งเน้นทกั ษะการพูดเป็นสาคัญ

2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไป
2.1 ควรพฒั นากิจกรรมให้หลากหลาย และมคี วามนา่ สนใจกบั นักเรียนทกุ กลมุ่
2.2 ควรมกี ารนากิจกรรมการสอนไปปรับใชเ้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะอน่ื ๆ เช่นทกั ษะการฟัง หรอื ทักษะการเขียน

๓๔

ภาคผนวก ก

- บันทึกข้อความ
- บนั ทกึ หลงั แผน

๓๕

บนั ทึกขอ้ ความ

๓๖

บันทึกหลงั แผนการสอน

๓๗

๓๘

ภาคผนวก ข

- ภาพกจิ กรรม
- แบบบนั ทกึ การสนทนา

๓๙

แบบบนั ทกึ การสนทนา

๔๐

๔๑

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕

๔๖

๔๗


Click to View FlipBook Version