จากอาเซยี นถงึ ไทย มองทศิ ทางภาษหี ลงั โควดิ -19
ตั้งแต่การระบาดของโควิด-19 เป็นต้นมา หนี้สาธารณะของแทบทกุ ประเทศรวมถึงไทยเพิ่มขึน้ อยา่ ง
กา้ วกระโดด สง่ ผลใหร้ ฐั บาลประเทศต่างๆมงุ่ หน้าหารายได้เพื่อชดเชยภาระการคลังนี้ ในขณะเดยี วกนั วิกฤตินี้
มาพรอ้ มกบั ความเหลื่อมลาํ้ ท่ีรุนแรงมากยิ่งขึ้นรวมไปถึงระเบยี บภาษีโลกท่ีเปลย่ี นไปภายใต้สถานการ ณ์น้ี
นโยบายภาษขี องอาเซียนจะมแี นวโน้มเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร ในบทความนีผ้ มชวนทา่ นผอู้ ่านพูดคุยเรื่องนี้
โดยผมแบง่ เป็น 3 แนวโนม้ กวา้ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การขึ้นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
แนวโนม้ แรกคอื ความพยายามท่ีจะขึน้ อตั ราภาษมี ลู คา่ เพมิ่ โดยภาษีมลู ค่าเพม่ิ นถี้ ือวา่ เปน็ Revenue
machine ของรฐั บาลแทบทุกประเทศเนอ่ื งจากเปน็ ภาษีท่ีเกบ็ บนการใชจ้ ่ายของครัวเรือน ซึ่งการโยกย้ายการ
บริโภคหรือการหลบเลี่ยงภาษีทำได้ยากกว่าภาษีอื่นๆ ดังนั้นจึงไม่น่าแปล กใจที่หลายประเทศนึกถึง
ภาษีมูลคา่ เพ่ิมเปน็ ลำดบั แรกเมอ่ื ตอ้ งการรายไดเ้ พ่ิมขน้ึ
ตวั อย่างไดแ้ ก่ อินโดนเี ซียซง่ึ จะขนึ้ อตั ราภาษีมลู ค่าเพ่ิมจาก 10% เป็น 11% ปี 2022 และ 12%
ในปี 2025 รัฐบาลสิงคโปร์ก็ไดป้ ระกาศจะขึน้ อตั ราภาษีมลู คา่ เพมิ่ เชน่ กัน จาก 7% เป็น 8% ปี 2023 และ
เป็น 9% ในปี 2024 ในขณะทีป่ ระเทศท่ีไดย้ กเลกิ ภาษีมูลค่าเพิ่มไปเมื่อปี 2018 อย่างมาเลเซีย รัฐมนตรี
กระทรวงเศรษฐกิจก็ยงั ยอมรับวา่ กำลงั พิจารณาแผนทจี่ ะนำภาษีมลู คา่ เพิม่ นี้กลับมาใช้อกี ครัง้ หน่ึง
นอกจากประเทศในอาเซียนแล้ว ประเทศในภูมิภาคอ่ืนก็มีความพยายามทจี่ ะหารายได้เพ่ิมจา ก
ภาษมี ลู คา่ เพ่ิมนี้เช่นกนั แต่รปู แบบอาจจะแตกต่างกันขึ้นกับคุณลักษณะของโครงสร้างภา ษี โดยประเทศ
ในยุโรปจะเนน้ ที่การยกเลิกการยกเวน้ (VAT exemption) และอัตราภาษีพิเศษ (Reduced VAT rates)
เนอื่ งจากประเทศเหลา่ น้นั มกั จะมีหลายอตั ราภาษี และมีอัตราภาษีหลกั ท่สี งู อยู่แลว้
2. การเกบ็ ภาษีคนรวย
แนวโนม้ ทสี่ องคือ การเพิม่ ความก้าวหน้า (Progressivity) ใหแ้ ก่ระบบภาษผี ่านการเก็บภาษีจากผ้มู ีรายได้สูง
และรายได้จากทุน (Capital income)
ในภมู ภิ าคเรา รัฐบาลอนิ โดนเี ซยี ไดเ้ รมิ่ ขยับด้านนีเ้ ร็วทีส่ ุดโดยได้ปรับขนึ้ อตั ราภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
โดยเพม่ิ ข้ันบนั ไดสูงสดุ จากเดิม 30% เป็น 35% สำหรับมหาเศรษฐีทม่ี ีรายไดเ้ กนิ 5 พันลา้ นรูเปยี (ประมาณ
11.3 ลา้ นบาท) พร้อมกบั ยกเลกิ แผนการลดอตั ราภาษีเงนิ ได้นติ บิ ุคคลท่ี 22% ลงมาให้เทา่ กบั ของไทย
ในขณะท่ปี ระเทศทีข่ ้ึนช่ือวา่ เป็นประเทศภาษีต่ํา (Low-tax jurisdiction) อย่างสิงคโปร์ก็ขยับตัว
เช่นกัน โดยได้ประกาศข้ึนอตั ราภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดาสำหรบั ขัน้ บนั ไดสูงสดุ จาก 22% เป็น 24% ในปี 2024
และขน้ึ ภาษอี สังหารมิ ทรพั ย์ (Property tax) ในปี 2023 และ 2024
นอกจากนรี้ ัฐบาลสิงคโปร์ได้ยอมรับว่ากำลงั พจิ ารณาการเก็บภาษจี ากคนรวยอย่างเป็นระบบ ซึ่งหมาย
รวมถึงภาษรี ายไดจ้ ากการขายหนุ้ (Capital gains tax) ภาษีเงนิ ปนั ผล และภาษคี วามมัง่ คงั่ (Wealth tax)
3. การลดทอนการพึ่งพงิ สิทธปิ ระโยชน์ภาษีเพื่อดึงดูด FDI
อาเซยี นเปน็ ภูมภิ าคที่มกี ารแข่งขันทางด้าน
ภาษที สี่ งู สดุ ภูมิภาคหน่ึง อยา่ งไรกต็ ามข้อตกลงการ
กำหนดอัตราภาษเี งินได้ขัน้ ตํ่า (Global minimum
income tax) ในระดับ อยา่ งนอ้ ย 15% จะสง่ ผลอยา่ ง
ยง่ิ ยวดตอ่ การวางนโยบายภาษีเพือ่ สง่ เสริมการลงทุน
ในภมู ภิ าคอาเซยี นตอ่ จากนี้
ภายใต้ข้อตกลงนี้ กลุ่มบริษัท(Corporate
groups) จะต้องจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลร วมจา กทุก
ประเทศอย่างน้อย 15% ซึง่ หากกลมุ่ บริษทั มีการจ่าย
ภาษีไม่ถึงเกณฑ์นี้ รัฐบาลของประเทศที่แต่ละกลุม่
บรษิ ัทน้ีจด Headquarter อยมู่ ีสิทธิทีจ่ ะเรียกเก็บภาษี
top up ภาษใี หถ้ งึ 15% นักเศรษฐศาสตรห์ ลายท่าน
คาดหวังวา่ ขอ้ ตกลงนีจ้ ะช่วยลดแรงกดดนั การแข่งขัน
ภาษีระหว่างประเทศ รวมไปถงึ ปรากฎการณ์ ‘Race
to the bottom’ ของอัตร า ภา ษีที่รัฐบาลหลาย
ประเทศโดยเฉพาะอย่างยง่ิ อาเซยี นต้องเผชิญ
ประเด็นที่ต้องให้ควา มสำ คัญคือ การที่
ขอ้ ตกลงนจ้ี ะลดทอนความน่าสนใจของสทิ ธปิ ระโยชนภ์ าษีในรปู Tax holiday ในสายตาของนักลงทุนต่างชาติ
เน่อื งจากนกั ลงทนุ ทไี่ ดร้ ับ Tax holiday อาจจะมีหน้าทต่ี ้องไปจ่ายภาษี Top up ในประเทศท่ี Headquarter
ของตนตง้ั อยู่ หาก อัตราภาษีรวมของกลุ่มบริษัทตนไมถ่ งึ เกณฑ์ 15%
ทางออกของเรอื่ งนค้ี ือ รฐั บาลตา่ งๆ ในอาเซียนจะต้องปรับนโยบายสิทธิประโยชน์ภาษขี องตนไปเป็น
เคร่อื งมืออนื่ ท่เี ชอ่ื มโยงโดยตรงตอ่ ปริมาณการลงทนุ เช่น การหักค่าเสอ่ื มราคา และการชดเชยการขาดทนุ เปน็ ต้น
ซ่งึ แนน่ อนวา่ เครอ่ื งมอื เหล่านไี้ ม่ไดเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ที่สร้างแรงจูงใจสูงเทา่ Tax holiday และในโลกหลงั โควิด-19
เราหวงั จะเห็นการลดการพึง่ พาสทิ ธิประโยชนภ์ าษลี ง และการใหค้ วามสำคญั ต่อปจั จยั ทีไ่ มใ่ ชภ่ าษีมากข้นึ
Lawrence Wong (รัฐมนตรกี ระทรวงการคลงั สงิ คโปร)์ ได้กล่าวไว้ ในการสมั ภาษณ์ชว่ งตน้ ปี 2022
น ี้ว่า “ A fairer and more progressive way of tax contributions will help to hold Singapore’s society
together as it entersa new post-pandemicfuture that’sset to be more volatile” เพราะการชำระภาษี
ไมไ่ ด้เป็นเพยี งแคห่ นา้ ท่ขี องประชาชนเทา่ น้ัน แต่ยังเป็นสัญญาทางสงั คมระหว่างประชาชน และรัฐบาลที่มี
หน้าทต่ี อ้ งใชจ้ ่ายเงินภาษีอยา่ งรู้ คุณค่าและเกบ็ ภาษจี ากกลมุ่ คนต่างๆด้วยความเป็นธรรม
ท่ีมา : หนงั สอื พมิ พฐ์ านเศรษฐกจิ