...กทม.พรอ้ มเปดิ ใหบ้ รกิ ารยน่ื ขอจด
ทะเบยี นพาณชิ ย์ ผา่ นระบบ “Biz Portal”
เตม็ รปู แบบกนั ยายน 63!
เชญิ ชวนตอบแบบสำ� รวจ
บรรณาธกิ ารแถลง CONTENTS
ปีท่ี 15 ฉบบั ท่ี 3/2563 (มถิ นุ ายน - กันยายน 2563) Vol.45
จากประโยคที่เรามักได้ยินกันบ่อยๆ ว่า คลังบางกอก 3
อยากท�ำอะไรก็ให้รีบทำ� เวลาน้ันไม่คอยท่า ซ่ึงน่าจะ กทม. พรอ้ มเปดิ ใหบ้ รกิ ารยน่ื ขอจดทะเบยี นพาณิชย์
เป็นความประจักษ์จริง เนื่องจากวารสารบางกอก ผ่านระบบ “Biz Portal” เตม็ รปู แบบกนั ยายน 63 !
Economy ของเราฉบับน้ีได้เดินทางมาถึง Bangkok trend 7
ฉบับสุดท้ายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และจาก ท่องเทย่ี วยคุ โควิด-19
การเผยแพร่วารสารที่ผ่านมากองบรรณาธิการ เศรษฐกิจบางกอก 10
ได้พยายามเสนอเร่ืองราวหลากหลายที่น่าสนใจให้แก่ท่านผู้อ่านได้รับ
สาระประโยชน์ท่ีครบถ้วนในทุกมิติ และในฉบับนี้เช่นกันท่ีเรายังคงสรรหา เงินดจิ ทิ ัล บาทดิจทิ ลั ของไทย
ประเด็นเร่ืองราวท่ีน่าสนใจในปัจจุบันมาให้ท่านได้รับรู้เช่นเคย เร่ิมด้วยประเด็น สาระภาษี 13
การด�ำรงชีวิตท่ีเรายังคงต้องอยู่กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส e-Service ภาษบี รกิ ารอิเล็กทรอนิกส์
โควิด-19 ท่ีทุกคนต้องเฝ้าระวังความปลอดภัยจากไวรัสที่สภาพการณ์บ้านเมือง Creative Bangkok 16
ของไทยที่ภาครัฐได้มีการผ่อนปรนในหลายๆ เรื่องเพ่ือให้เศรษฐกิจสามารถ
ประคองอยู่ได้ รวมถึงการพิจารณาเพื่อเปิดรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติท่ีจะได้ Robinhood แอปพลเิ คชัน Food Delivery
กลบั มาเทย่ี วประเทศไทยอกี ครง้ั ซงึ่ แนวโนม้ จะเปน็ ไปในทศิ ทางใด โปรดตดิ ตามกนั ได้ สญั ชาติไทย คนื กำ� ไรสสู่ ังคม
ในคอลัมน์ Bangkok trend และอีกหนึ่งเรื่องน่าสนใจซึ่งทางกองบรรณาธิการ On Trade 18
ได้น�ำเสนอเก่ียวกับความพร้อมเปิดให้บริการยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน New Business Normal
เขตพื้นที่ของ กทม. ผ่านระบบ Biz Portal อย่างเต็มรูปแบบที่ได้ให้บริการแล้ว การปรบั ตวั ธรุ กจิ แนวใหม่ในยุคโควดิ -19
ในเดือนกันยายน 63 น้ี ซึ่งจะท�ำการให้การบริการของหน่วยงานรัฐสามารถ Smart Money 20
ลดขั้นตอนเอกสารของผู้สนใจท�ำธุรกิจให้เป็นเร่ืองง่ายเพียงผ่านมือสัมผัส
เทรนด์การลงทนุ ของคนรุ่นใหม่
โดยผู้สนใจสามารถติดตามได้ในคอลัมน์คลังบางกอก และนอกจากนี้แล้วในอีก รอบรั้วบางกอก 22
หลายเรื่องประเด็นท่ีน่ารู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ไม่ว่าสาระของเงินดิจิทัล บาทดิจิทัล
ของไทยในคอลัมน์ของเศรษฐกิจบางกอก จากน้ันในเร่ืองเทรนด์การลงทุนของ บทบาท ภารกิจ และนโยบายการขบั เคลอ่ื นองค์กร
คนรุ่นใหม่ในปัจจุบันน้ีเป็นอย่างไรกันบ้าง และมีอะไรน่าลงทุนซึ่งผู้อ่านสามารถ ของคณะผบู้ ริหารกรงุ เทพมหานคร
เขา้ ไปตดิ ตามได้ในคอลัมน์ Smart Money ของเรา จัดทำ�โดย : สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง
สุดท้ายกองบรรณาธิการขอขอบคุณท่านผู้อ่านทุกท่านท่ีให้การติดตาม ส�ำนกั การคลงั กรุงเทพมหานคร
วารสารบางกอก Economy และในฉบับส่งท้ายประจ�ำปีน้ี ขอให้ทุกท่านใช้ชีวิต โทร. 0 2224 1916 โทรสาร 0 2225 1945
ด้วยความไม่ประมาทกับช่วงที่เราต้องเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดฯ ดาวน์โหลดวารสารย้อนหลงั :
ซ่ึงยังคงต้องอยู่กับเราต่อไป จนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลายไปได้ในอนาคต
แล้วพบกันฉบบั หน้า... เว็บไซต์ศูนยข์ อ้ มลู เศรษฐกิจการคลังและการลงทนุ ของกรงุ เทพมหานคร
ไพศาล เหมวัฒนานันท์
บรรณาธิการ www.bangkok.go.th/fiic
จัดท�ำตน้ ฉบับ ถา่ ยภาพ ออกแบบ และพมิ พ์ :
บรษิ ัท ดอกเบ้ยี จำ� กดั โทร. 0 2272 1169 - 72
คณะผูจ้ ัดท�ำ วารสารบางกอก ECONOMY
ประธานทป่ี รกึ ษา นางศิลปสวย ระวแี สงสูรย์ ปลัดกรงุ เทพมหานคร
รองประธานท่ีปรึกษา
ทปี่ รกึ ษา นางวัลยา วฒั นรตั น์ รองปลัดกรงุ เทพมหานคร
นายธรรมรัตน์ มกุ มีค่า ผู้อำ� นวยการสำ� นกั การคลัง
บรรณาธกิ าร นายปิยะ พดู คล่อง รองผอู้ �ำนวยการสำ� นกั การคลงั
กองบรรณาธกิ าร
จา่ เอกจรญั เลก็ สราวุธ รองผู้อ�ำนวยการสำ� นักการคลัง
นายไพศาล เหมวัฒนานนั ท์ ผู้อ�ำนวยการสำ� นักงานเศรษฐกิจการคลงั
นายภาณุพงศ์ จนั ทะประเทศ , น.ส.รชั ฎาวัลย์ สุขอดุ ม , น.ส.ปภัสสร จำ� เนยี ร,
น.ส.จันทิมา ผวิ จนั ทร์สด , นางสุนพี ร เรอื นจันทร์ , นายการนั ต์ อยู่สำ� ลี , นายก�ำพล ฟักแสง
biz.govchannel.go.th
บรกิ ารฉบั ไว เวบ็ เดยี วจบ ครบทกุ เรอ่ื ง
กทม. พรอ้ มเปดิ ใหบ้ รกิ ารยนื่ ขอจดทะเบยี นพาณชิ ย์
ผา่ นระบบ “Biz Portal” เตม็ รปู แบบกนั ยายน 63 !
กรุงเทพมหานคร หนึ่งในหน่วยงานภาครัฐท่ีพร้อมเปิดให้ประชาชน
ได้ใช้บริการยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ผ่านระบบให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ
ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Biz Portal) ในเดอื นกันยายน 2563
Biz Portal คือ เว็บไซต์ส�ำหรับการเร่ิมต้นท�ำธุรกิจง่ายๆ ที่สามารถยื่น
ในที่ ๆ เดียว ด้วยแบบฟอร์มชดุ เดยี ว และเอกสารเพยี งชุดเดยี ว โดย Biz Portal
คือศูนย์กลางบริการภาครัฐสำ� หรับภาคธุรกิจที่เป็นการตอบโจทย์ในยุคปัจจุบัน
อย่างดีท่ีสุด จากเดิมหากจะท�ำการเปิดธุรกิจใหม่เป็นของตัวเอง จะต้องท�ำการ
ติดต่อหน่วยงานหลายหน่วยงานกว่าการด�ำเนินการเพื่อเปิดธุรกิจนั้นจะส�ำเร็จ
ไมน่ บั รวมธุรกิจตา่ ง ๆ ที่เก่ียวเนือ่ งกับการการท�ำธุรกิจท่ีไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นพ้ืนที่ซง่ึ โดย
มากก็จะอยู่ในจุดศูนย์กลางอย่างกรุงเทพมหานคร ท�ำให้ผู้ที่ต้องการเปิดตั้ง
ธรุ กิจใหมต่ อ้ งเดนิ ทางมายงั หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับธุรกจิ นน้ั ๆ รวมถึงหากมี
การแก้ไข ปรับปรุง ก็ต้องเดินทางมายังหน่วยงานน้ันอีกคร้ัง แต่ส�ำหรับ
ในเวลาน้ีเราสามารถจดั การได้ดว้ ยตนเองผา่ นระบบออนไลน์
บางกอก ECONOMY 3
ปัจจุบนั ระบบ Biz Portal ไดเ้ ปิดให้ 1. ทำ� ไมตอ้ งตดิ ต่อ 2. ท�ำไมขอเอกสาร/ขอ้ มูลเยอะ 3. ท�ำไมติดตาม
บรกิ ารขอ้ มลู เกีย่ วกับการขออนุมตั /ิ อนญุ าต ท้งั ท่เี ป็นเอกสารท่ภี าครัฐ สถานะยากและ
ในการประกอบธุรกจิ ตา่ ง ๆ โดยมีระบบ ไม่รู้ว่าจะอนุมัติ
เชอื่ มโยงกับคมู่ อื ส�ำหรับประชาชน และ หลายหน่วยงาน มีอยแู่ ลว้ เช่น หนังสอื รบั รอง เสร็จเมื่อไหร่
ดแู ลว้ ไมโ่ ปรง่ ใส
ช่องทางการตอบค�ำถามขอ้ สงสัยตา่ ง ๆ เพอ่ื ประกอบธรุ กจิ นิติบคุ คล ส�ำเนาบัตรประชาชน
ผ่านทางระบบ Smart Quiz ทั้งนร้ี ะบบดังกลา่ ว ฯลฯ
ยังมีการเช่อื มโยงฐานข้อมลู จากหนว่ ยงานของรฐั
ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งในการใหอ้ นญุ าตประกอบธุรกจิ
เพ่ือลดการขอส�ำเนาเอกสารของทางราชการ
จากประชาชน ซ่งึ จะท�ำใหก้ ารย่ืนขอใบอนุญาต
ประกอบธุรกจิ ต่าง ๆ หลายใบสามารถท�ำได้
โดยการใหห้ รอื กรอกข้อมลู และแนบเอกสาร เสียงสะทอ้ นจาก
ประกอบทจี่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชซ้ ้ำ� กันในแตล่ ะใบอนุญาต ผู้ประกอบการ
เพยี งครัง้ เดยี ว นอกจากนผี้ ้ยู ืน่ ขอใบอนุญาต
ยังสามารถตรวจสอบสถานะการขอใบอนญุ าตดังกล่าว
ผา่ นทางระบบการตดิ ตามสถานะการดำ� เนินการได้อกี ด้วย
ประชาชน 1 ระบบ Biz portal 2 Biz portal Server 3 ยืน่ ค�ำขอจดทะเบียน
ประชาชน ย่นื คำ� ขอจดทะเบียน
5 4
7 10 เจ้าหนา้ ท่ี
สำ� นักงานเขต
6 ระบบ Biz portal พจิ ารณาค�ำขอ
แจง้ ชำ� ระเงิน
เขา้ มาสอบถามคำ� ขอ น�ำใบ ทพ. มายน่ื
เพื่อชำ� ระค่า
พิมพใ์ บ ทพ. ธรรมเนยี มที่ เจา้ หน้าที่
9 ส�ำนักงานเขต สำ� นกั งานเขต
8 บนั ทึกรับช�ำระ
ค่าธรรมเนียม
สง่ ใหป้ ระชาชน 12 11
ออกใบสำ� คัญ
รูปแบบการใหบ้ ริการรบั จดทะเบียนพาณชิ ยผ์ ่านระบบ Biz Portal ในพนื้ ท่ีกรงุ เทพมหานคร
4 บางกอก ECONOMY
กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้น�ำระบบ Biz Portal ย่ิงข้ึน เพียงแค่เข้าใช้บริการผ่านทางระบบ โดยมีข้ันตอน
มาใช้ส�ำหรับอ�ำนวยความสะดวกในด้านการให้บริการเพ่ือ ง่าย ๆ ดังนี้
รับจดทะเบียนพาณิชย์ โดยเร่ิมใช้น�ำร่องในพ้ืนท่ีของ 1. เข้าสู่เว็บไซต์ Biz Portal โดยพิมพ์ URL :
กรงุ เทพมหานคร ตั้งแต่วันที่ 8 กนั ยายน 2563 เปน็ ตน้ ไป http://bizportal.go.th แลว้ เลอื กเมนขู อจดทะเบยี นพาณชิ ย์
ซ่ึงจะท�ำให้ผู้ประกอบการหรือประชาชนทั่วไปท่ี หรอื พาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แบบออนไลน์
สนใจลงทุนประกอบธุรกิจสามารถยื่นขอใบอนุญาต 2. ยืนยันตัวตน โดยกรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูล
ประกอบการค้าหรือทะเบียนพาณิชย์ได้สะดวกรวดเร็ว บัตรประชาชน ชอ่ งทางการตดิ ต่อ
บางกอก ECONOMY 5
เพ่อื ลงทะเบยี นเปิดบญั ชีผ้ใู ชง้ าน แล้วทำ� การ log in เพอ่ื 4.2 สีฟ้าพื้นขาว หมายถึง รอเจ้าหน้าท่ี
เขา้ ใชง้ านระบบ ด�ำเนินการ เชน่ ยงั อยู่ระหวา่ งข้นั ตอนการพจิ ารณา
3. ยืน่ คำ� ขอ ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 3 สว่ นหลกั ดงั นี้ 4.3 สีแดงพ้ืนขาว หมายถึง รอผู้ย่ืนขอ
3.1 กรอกแบบฟอร์มเพือ่ ยนื่ ค�ำขอใบอนญุ าต ใบอนญุ าตดำ� เนินการ เช่น ส่งเอกสารประกอบเพม่ิ เตมิ
3.2 อัพโหลดเอกสารประกอบ (ซ่ึงระบบจะ 5. เมื่อระบบแสดงสถานะ “ช�ำระค่าธรรมเนียม”
แสดงรายการเอกสารประกอบทจ่ี �ำเปน็ ตอ้ งอัพโหลด) ให้ผู้ยื่นขอใบอนุญาตคลิกดูรายละเอียดเพื่อเลือกสถานท่ี
3.3 ตรวจสอบและยนื ยนั ข้อมูลเพ่ือสง่ ค�ำขอ รบั ใบอนญุ าตและชอ่ งทางการชำ� ระค่าธรรมเนียม
4. หลังจากยน่ื คำ� ขอใบอนุญาตแลว้ ผูย้ น่ื สามารถ 6. เมื่อผู้ยื่นขอใบอนุญาตได้ช�ำระค่าธรรมเนียม
ติดตามสถานการณ์พิจารณาและดำ� เนินการเก่ียวกับคำ� ขอ เรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดงสถานะ “ออกใบอนุญาต”
ซ่ึงในส่วนนี้ระบบจะมีการใช้สีเพื่อแสดงสถานะการ เพ่ือแจ้งให้ผู้ย่ืนขอใบอนุญาตมารับใบอนุญาตดังกล่าว
ด�ำเนนิ การในแต่ละขัน้ ตอน ประกอบด้วย ตอ่ ไป
4.1 สีฟ้าเต็ม หมายถึง ได้ด�ำเนินการ
เสร็จส้ินแล้ว
โดยรวมแล้วระบบ Biz Portal จะช่วยลดขั้นตอนความซ�้ำซ้อนในการติดต่อขอใบอนุญาตในการ
ประกอบธุรกิจต่าง ๆ ซ่ึงจะท�ำให้ประชาชนหรือผู้ประกอบการได้รับความสะดวกสบายและรวดเร็ว รวมทั้งเป็น
การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายส�ำหรับการด�ำเนินการย่ืนขอใบอนุญาตต่าง ๆ ในการประกอบธุรกิจมากย่ิงขึ้น และ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 อันส่งผลกระทบต่อการ
ประกอบธรุ กจิ การติดต่อและดำ� เนินธรุ กรรมต่าง ๆ รวมถึงการรับบรกิ ารจากหน่วยงานภาครฐั ดังน้นั การใช้บรกิ าร
ภาครฐั ผา่ นทางระบบออนไลนด์ ้วยระบบ Biz Portal จึงเปน็ อีกช่องทางหนง่ึ ทสี่ ามารถตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน รวมถึงสอดคล้องกับสถานการณใ์ นปัจจุบนั ได้อย่างดีย่งิ
6 บางกอก ECONOMY
ท่องเทย่ี ว
ยุคโควิด-19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ไม่เพียงพอต่อการเดินหน้าในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
โควิด-19 ท่ีท่ัวโลกก�ำลังเผชิญอยู่ แม้ผ่านระยะเวลา ในประเทศของเรา อนั เนอื่ งจากเราตอ้ งพงึ่ พาการทอ่ งเทยี่ ว
มากว่า 6 เดือนแล้วก็ตาม แตก่ ย็ งั ไม่มปี ระเทศไหนสามารถ จากนักท่องเท่ียวต่างชาติ ท�ำให้รัฐบาลไทยได้ก�ำหนด
หาวัคซีนเพ่ือมาท�ำการรักษาเช้ือไวรัสชนิดน้ีได้ ยังคง มาตรการเพ่ือเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติให้กลับเข้ามา
ต้องรักษาตามอาการของผู้ติดเชื้อ แม้ว่าในหลายประเทศ เท่ียวเมืองไทยอีกคร้ัง ภายใต้เง่ือนไขเร่ืองความปลอดภัย
ทั่วโลกสถานการณ์จะยังไม่ดีขึ้น แต่สถานการณ์ใน จากโควิด-19 และจากสถานการณ์น้ีเองท�ำให้เราได้ยิน
ประเทศไทยถือว่าดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยผลมาจาก ศัพท์ใหม่กับคำ� ว่า “ทราเวลบบั เบลิ้ ” (Travel Bubble)
การสาธารณสุขที่ดี บวกกับความร่วมมือของทุกคน โดยความหมายของคำ� นน้ี ั่นคอื การจบั คดู่ ้านการท่องเที่ยว
ในประเทศท่ีท�ำให้เรากลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเกือบปกติ ของกลุ่มประเทศท่ีมีความมั่นใจในความปลอดภัยของ
สามารถผ่านสถานการณ์ล็อกดาวน์ เพ่ือเดินทางท่องเท่ียว การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 โดยจะได้มี
ภายในประเทศได้พร้อมท้ังยังมีมาตรการของภาครัฐ การตกลงกันระหว่างรัฐบาลของแต่ละประเทศในการให้
ทอ่ี อกมากระตนุ้ เศรษฐกจิ ดา้ นการทอ่ งเที่ยว ทำ� ให้คนไทย สิทธิพิเศษของการเดินทางเข้าออกระหว่างกันได้
พร้อมใจกันออกเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยไม่ต้องมีการกักตัว 14 วัน แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข
โดยผา่ นกจิ กรรมไทยเทยี่ วไทย นบั เปน็ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ มาตรการปอ้ งกันโควดิ -19 ตามทีก่ ำ� หนด
ในประเทศที่ซบเซากันมาหลายเดือน แต่นั่นยังคง
บางกอก ECONOMY 7
ตน้ แบบของโมเดลทราเวลบบั เบล้ิ
โดยประเทศที่เป็นต้นแบบของโมเดลทราเวลบับเบ้ิลสองประเทศแรก
นนั่ คอื “นวิ ซแี ลนด”์ และ “ออสเตรเลยี ” โดยทง้ั สองประเทศไดต้ งั้ ชอ่ื โมเดลนวี้ า่
“Tran-Tasman Travel Bubble” ซ่ึงท่ีทั้งสองประเทศได้ตกลงยินยอมให้มี
การเดินทางระหว่างกันโดยไม่ต้องให้มีการกักตัว 14 วัน แต่ยังคงต้องมี
มาตรการการตรวจที่เขม้ ขน้ ณ สนามบินของแตล่ ะประเทศ อยา่ งเขม้ งวดนบั ตงั้ แตป่ ระเทศตน้ ทาง
กระทง่ั มาถงึ ประเทศไทย ซง่ึ มแี นวทาง
Travel Bubble การท่องเที่ยวรปู แบบใหม่ ในการคดั เลือก ดงั น้ี
หลังจากการได้เห็นต้นแบบของโมเดลทราเวลบับเบิ้ลของ 1. ผู้เดินทางจะต้องมีการซ้ือ
“นิวซีแลนด์” และ “ออสเตรเลีย” ท�ำให้หลายประเทศได้น�ำแนวคิดของ ประกันสุขภาพ และใบรับรองสุขภาพ
ทั้งสองประเทศน�ำไปปรับใช้เพ่ือวางแผนจับคู่ประเทศหรือเปิดกลุ่มประเทศ อยา่ งละเอยี ด
การทอ่ งเทยี่ วระหว่างกนั ตวั อย่างเชน่ 2. เมื่อเดินทางมาถึงแล้วจะ
- ญี่ป่นุ เตรยี มจับคูก่ บั ไทย นิวซแี ลนด์ ออสเตรเลยี และเวียดนาม ไม่มีการกักตัว แต่จะต้องอยู่ในพ้ืนที่
- จีน จับคู่กับ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง มาเก๊า เปิดให้เที่ยวได้ใน ที่ก�ำหนดไว้เทา่ น้นั
10 ภูมภิ าคของจีน 3. กลุ่มที่ได้รับอนุญาตให้
- กลุ่มประเทศในยุโรป ประกอบด้วย เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ เขา้ มา จะเปน็ กลมุ่ นกั ธุรกิจ และกล่มุ
ลกิ เตนสไตน์ และออสเตรยี เปิดใหท้ อ่ งเทย่ี วระหวา่ งกนั ได้ภายในกลมุ่ ที่เข้ามาใช้บริการทางการแพทย์ หรือ
- สิงคโปร์ จับคู่กับ ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ และจับคู่ เมดิคัลทัวร์ลิสต์ ที่มีศักยภาพในการ
เดินทางไปบางมณฑลในจนี ท่องเท่ียวและมีความจ�ำเป็นต้อง
- กลมุ่ ประเทศในสแกนดเิ นเวยี จบั คเู่ ดนิ ทางกนั เองไมน่ บั รวมสวเี ดน เขา้ มา
ทยี่ งั คงมกี ารระบาดของ COVID-19 อย่างตอ่ เน่ือง 4. นักธุรกิจ นักท่องเท่ียว
- กลุ่มประเทศแถบทะเลบอลติก ในยุโรปตะวันออก ประกอบด้วย จะมีระบบตดิ ตาม
ลัตเวีย ลิทัวเนีย เอสโตเนีย ท่ีอนุญาตให้ประชาชนสารมารถเดินทางหากัน
ในกลมุ่ ได้อย่างเสรี
- อิตาลี เป็นประเทศแรกในยุโรปที่เปิดพรมแดนให้ต่างชาติ
เข้ามาเที่ยว เพราะต้องการให้การท่องเท่ียวมาช่วยฟนื้ เศรษฐกิจ
การก�ำหนดแนวทาง Travel Bubble ในประเทศไทย
จากทปี่ ระชมุ ของศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรสั โควดิ -19 โดยเหน็ ชอบหลกั การในการเปดิ ประเทศเพอ่ื ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งจำ� กดั
ตามที่การท่องเที่ยวเสนอ เป็น Travel Bubble โดยเลือกประเทศเป้าหมาย
ที่เป็นประเทศท่ีสามารถควบคุมการระบาดที่ดี และยังคงต้องมีการตรวจเชื้อ
8 บางกอก ECONOMY
และนอกจากการท่องเที่ยวแบบ Travel Bubble ท่ี จะเห็นได้ว่าการเปิดรับนักท่องเที่ยว
หลายๆ ประเทศพร้อมท่ีจับคู่เพื่อให้การท่องเท่ียวในประเทศ ตา่ งชาตเิ ขา้ มาในประเทศอกี ครงั้ ไมว่ า่ จะรปู แบบใด
ของตนกลับมามีชีวิตอีกคร้ัง ส�ำหรับประเทศไทยในช่วงการ ก็ยังคงอยู่ในการป้องกันและดูแลของหน่วยงาน
ประชุมคณะรัฐมนตรีเดือนกันยายนที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรี ภาครัฐ เพื่อสร้างความม่ันใจให้กับประชาชน
(ครม.) ได้มีการอนุมัติหลักการนักท่องเที่ยวต่างชาติประเภท คนไทยว่า การเปิดรับนักท่องเท่ียวจะไม่ทำ� ให้การ
พิเศษ (Special Tourist Visa : STV) โดยคุณสมบัติของ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 กลับมาอีก
นักท่องเท่ียวประเภทนี้ คือ นักท่องเท่ียวสามารถมาพ�ำนัก โดยการผอ่ นปรนจะยดึ ความปลอดภยั ของประชาชน
ในประเทศไทยได้ในระยะยาว (Long Stay) ในเบื้องต้น ภายในประเทศเปน็ หลัก
ก�ำหนดให้เป็นนักท่องเท่ียวท่ีมีศักยภาพ และ/หรือนักธุรกิจ หากสามารถเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ
โดยทางกระทรวงสาธารณสุข อยู่ระหว่างประสานกับกระทรวง เข้ามา เชื่อว่าจะเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของ
การท่องเที่ยวและกีฬา เพื่อจัดท�ำรายละเอียด ระบบ ข้อก�ำหนด ประเทศได้ เนอ่ื งจากในชว่ งทผี่ า่ นมาจากสถานการณ์
ของกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงสถานที่ในการรองรับ เป็นต้น ดังกล่าวไทยสูญเสียรายได้จากนักท่องเท่ียว
เพื่อขับเคลื่อนโครงการ โดยนักท่องเที่ยวในกลุ่ม STV น้ีจะต้อง ต่างชาติประมาณ 620,000 ล้านบาท เม่ือท�ำการ
ปฎิบัติตามมาตรการเดียวกับกรณีของผู้ที่เดินทางมาจาก เปรียบเทียบกับคร่ึงแรกของปี 2019 ไทยขาด
ประเทศอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นการตรวจร่างกายก่อนเดินทาง รายไดค้ ิดเป็นตัวเลขรายได้ลดลงถงึ 65.15%
เข้าประเทศ โดยต้องผ่านการคัดกรอง และแยกกักกันตัวที่ ถ้าประเทศไทยสามารถเปิดการทอ่ งเทย่ี ว
สนามบนิ 14 วนั ใ ห ้ นั ก ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ต ่ า ง ช า ติ เ ข ้ า ม า ท ่ อ ง เ ที่ ย ว
ในประเทศได้อีกครั้งก็นับเป็นเร่ืองที่ดี หลังจาก
ตารางเปรียบเทยี บรายไดค้ ร่งึ ปี 2019 และ 2020 ตอ้ งประสบกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดเชอื้ ไวรสั
โควดิ -19 ถา้ หากในชว่ งเวลาทเี่ หลอื ของปี ไทยอาจมี
2019 2020 รายได้จากนักท่องเที่ยวเพียงครึ่งหน่ึงของปีก่อน
จ�ำนวน รายไดจ้ าก จำ� นวน รายไดจ้ าก ประมาณ 320,000 ลา้ นบาท และเมอ่ื รวมกบั รายได้
นกั ท่องเท่ียว นกั ท่องเท่ียว นกั ท่องเทยี่ ว นักท่องเท่ียว ชว่ งครงึ่ ปแี รก 330,000 ลา้ นบาท นนั่ หมายความวา่
(คน) (ล้านบาท) (คน) (ล้านบาท) ไทยจะมีรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งปีอยู่ประมาณ
650,000 ล้านบาท
3,718,504 195,830 มกราคม 3,810,155 188,788
3,603,654 184,857 กมุ ภาพันธ์ 2,061,990 103,714
3,473,088 176,258 มนี าคม 819,429 39,511
3,195,006 146,283 เมษายน 0 0
2,726,808 118,021 พฤษภาคม 0 0
3,052,287 0 0
131,323 มถิ นุ ายน
19,769,347 952,572 รวม 6,691,574 332,013
คน ล้านบาท คน ล้านบาท
ขอ้ มลู : กองเศรษฐกิจการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา
บางกอก ECONOMY 9
เศรษฐกจิ บางกอก
เงนิ ดจิ ทิ ลั
บาทดจิ ทิ ลั ของไทย
Central Bank Digital Currency (CBDC) หรือ จากที่กล่าวมาธนาคารกลางสามารถสร้าง
เงินดิจิทัล ที่ออกโดยธนาคารกลางก�ำลังเป็นที่นิยมท่ัวโลก “เงินบาทดิจิทัล” เพ่ือเป็นสื่อกลางในการท�ำธุรกรรม
โดยภาครฐั ของแตล่ ะประเทศไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั เรอ่ื งใหม่ ทางการเงินผ่านท้ังระบบ Retail และ Wholesale ได้
เร่ืองน้ี รวมถึงประเทศไทยด้วยเช่นกัน ซงึ่ ในปัจจุบันระบบ โดยใช้ CBDC เขา้ แทนทกี่ ารทำ� งานในแบบปจั จบุ นั โดยการ
การชำ� ระเงินมดี ้วยกัน 2 สว่ นหลักคือ แปลงมูลค่าของเงินบาทให้อยู่ในรูปของ token เพ่ือให้
1. Retail เป็นการช�ำระเงินผ่านช่องทางต่างๆ สามารถส่งมอบและชำ� ระราคาระหวา่ งกันได้
ของธนาคาร รวมถึงการท�ำ Mobile Banking ที่ท�ำผ่าน การสรา้ งเงนิ บาทแบบดจิ ทิ ลั ทง้ั แบบ Wholesale
ระบบออนไลน์ก็นับเปน็ การทำ� ธรุ กรรมผ่านธนาคาร โดยมี และ Retail ธนาคารกลางสามารถใช้ CBDC เข้าแทนท่ี
ธนาคารเปน็ ตัวกลางในการท�ำธรุ กรรม การท�ำงานในแบบปัจจุบันได้ทั้งหมด เป็นการแปลงมูลค่า
2. Wholesale คือการท�ำธุรกรรมระหว่าง ของเงนิ บาทใหอ้ ยใู่ นรปู ของ token เพอ่ื ใหส้ ามารถสง่ มอบ
ธนาคาร โดยมีธนาคารแห่งประเทศเป็นตัวกลาง ซ่ึงแต่ละ และช�ำระราคาระหว่างกันได้ กล่าวคือธนาคารกลาง
ธนาคารจะมีการเปิดบัญชีกระแสรายวันกับธนาคาร สามารถออก “เงนิ บาทแบบดจิ ทิ ลั ” เพอื่ เปน็ สอ่ื กลางในการ
แห่งประเทศไทย (ระบบ BAHTNET) เพ่ือโอนช�ำระเงิน ท�ำธุรกรรมได้ท้ัง 2 รูปแบบ โดยมีการก�ำหนดมูลค่า
ทม่ี มี ูลคา่ สูงระหวา่ งสถาบนั การเงิน เงนิ บาทดจิ ทิ ลั ใหไ้ มต่ า่ งจากเงนิ สดทม่ี กี ารใชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั โดย
10 บางกอก ECONOMY
“บาทดจิ ทิ ลั แบบ Retail” ธนาคารกลางจะออก ขอ้ มลู ทางการเงนิ มคี วามปลอดภยั และนา่ เชอื่ ถอื โดยไมต่ อ้ ง
“เงินดจิ ทิ ลั ” เพื่อน�ำออกมาใชไ้ ดเ้ หมือนเงินสดทใ่ี ช้กันอยู่ มคี นกลาง
“บาทดิจิทัลแบบ Wholesale” ธนาคารกลาง โดยในช่วง 6-7 ปีที่ผ่านมามีการสร้างเงินสกุล
สรา้ งเงนิ ดจิ ทิ ลั ขน้ึ มาใชใ้ นวงจำ� กดั เพอ่ื ดแู ลหรอื ทำ� ธรุ กรรม ดิจิทัลด้วยอัลกอริทึ่มเพ่ิมขึ้นอีกหลายสกุลหากเรียงตาม
ทมี่ ีมลู ค่าสงู ระหว่างสถาบันการเงนิ มูลค่าตามราคาตลาด (Market Cap ค�ำนวณจากจ�ำนวน
ธนาคารกลางส่วนใหญ่ท่ีท�ำการทดลอง CBDC เหรียญคูณด้วยอัตราซื้อขาย) โดยเงินสกุลดิจิทัลท่ีมีการ
ผา่ นการใชเ้ ทคโนโลยี Distributed Ledger Technology สร้างข้ึนมาน้ันมีจ�ำนวนมากกว่า 1,500 สกุล ซึ่งแต่ละ
(DLT) หรือระบบ Blockchain ที่มีขอ้ ดี คอื สกุลเงินที่ถูกสร้างขึ้นนั้น มีระดับความนิยมและ
1) การออกแบบระบบการช�ำระเงินสามารถ ความน่าเช่ือถือแตกต่างกันไป โดยในปัจจุบันเงินสกุล
ใส่เง่ือนไขและข้อก�ำหนดท่ีจ�ำเป็นและซับซ้อน รวมถึง ดิจิทัลท่ีมีความนิยมในการลงทุนเป็นอันดับแรกได้แก่
ก�ำหนดกฎหมายที่ใช้ในการก�ำกับดูแลผู้เล่นในระบบผ่าน Bitcoin
Smart Contract ได้ จากตารางจะเห็นว่าบิตคอยน์น้ันยังคงเป็นเงิน
2) การส่งต่อมูลค่าของเงิน จากเดิมที่ธนบัตร สกุลดิจิทัลที่แพง และเป็นท่ีนิยมท่ีสุดมีมูลค่าตามราคา
เป็นตัวก�ำหนดมูลค่าจะหายไป โดยระบบจะเก็บและ ตลาดสูงถึงกว่า 2.09 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ
ส่งต่อมูลค่าดังกล่าวได้โดยไม่ต้องพ่ึงพาตัวก�ำหนดมูลค่า ตามมาดว้ ยอเี ธอเรยี ม (Ethereum) ทถ่ี กู พฒั นาโดย Vitalik
อกี ตอ่ ไป Buterin ซึ่งเป็นโปรแกรมเมอร์ผู้เช่ียวชาญบิตคอยน์ในยุค
3) ช่วยลดการจัดเก็บข้อมูลบัญชีที่ต้องท�ำผ่าน เร่ิมต้นและได้มองเห็นถึงข้อจำ� กัดหลายประการของระบบ
ตัวกลางและ Clearing house ลดลงท�ำให้การเก็บรักษา สกุลเงินบิตคอยน์จึงได้พัฒนาสกุลเงินใหม่ขึ้นมาและได้
ทมี่ า : https://coinmarketcap.com/
ณ วันท่ี 3 กันยายน 2563
บางกอก ECONOMY 11
เพ่ิมเติมคุณสมบัติในหลายด้านรวมถึงความสามารถ โดยประเทศไทยได้มีการทดสอบบาทดิจิทัลเพื่อ
ในการรองรับ Smart Contract ซึ่งเป็นชุดโปรแกรม พัฒนาสกุลเงินดิจิทัล “โครงการอินทนนท์” ภายใต้การ
ที่ Vitalik Buterin พฒั นาขนึ้ เพอื่ ใหส้ ามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ช้ ก�ำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย นับตั้งแต่ปี 61
ในการท�ำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์โดยการเก็บสัญญาไว้บน เป็นต้นมา โดยได้มีการทดลองใช้งานในรูปแบบ
การจดั เกบ็ ขอ้ มลู แบบบล็อกเชน (Block Chain) ซงึ่ ทำ� ให้ Wholesale ก่อน ซ่ึงเป็นการทดสอบการโอนเงินมูลค่า
ยากต่อการแอบแก้ไขและเม่ือเกิดการท�ำธุรกรรมจะใช้ สูงระหว่างธนาคารกับธนาคาร การทดสอบซ้ือขาย
สกุลเงินอีเธอเรียม (Ethereum) เป็นสื่อกลางโดย พันธบัตรรัฐบาล และการทดสอบการโอนเงินระหว่าง
อีเธอเรียม (Ethereum) ได้รับความคาดหวังว่าจะได้รับ ประเทศโดยไม่ผ่านธนาคารตวั แทน โดยในปจั จบุ นั การ
ความนิยมท่ีแพร่หลายมากกว่าบิตคอยน์เพราะ Smart ทดสอบและพฒั นา “บาทดิจทิ ลั ” อยู่ในรูปแบบ Retail
Contract สามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดและท�ำให้เกิด ซึ่งหากการทดสอบในการปฏิบัติการสร้าง “บาทดิจิทัล
นวตั กรรมของธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ดอ้ ยา่ งหลากหลาย แบบ Retail” สำ� เร็จ กฎหมายทใี่ ชใ้ นปัจจบุ ันสำ� หรบั คำ�
โดยในเบื้องต้นการจะเปิดบัญชีเพ่ือเก็บ Retail นิยามความหมายของค�ำว่า “เงินตรา” และก�ำกับดูแล
CBDC นั้น จะต้องมี e-wallet เพื่อเก็บเงินในรูปแบบ ธุรกิจทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเงินตราทุกประเภท
ดิจิทัล แต่รูปแบบการเปิดและบริหารจัดการบัญชีข้ึนอยู่ จะต้องมีการแก้ไขและปรับปรุงเพ่ือเป็นการรองรับ
กับการก�ำหนดของธนาคารกลางว่าจะเลือกจัดท�ำ Retail การใช้งานของเงินดิจิทัลท่ีจะกลายเป็นอีกหนึ่งเงินตรา
CBDC แบบ Direct Model หรอื Indirect Model โดย ที่สามารถใช้จ่าย และช�ำระหน้ีได้ตามกฎหมายดังเช่น
รูปแบบของทัง้ 2 Model ท่ธี นาคารกลางจะเลือกใชค้ อื ธนบตั รท่ใี ช้อยใู่ นทุกวนั นเี้ ชน่ กนั
Direct Model จะต้องเปิดบัญชีโดยตรงกับ และท้ายท่ีสุดแล้วการสร้าง Retail CBDC
ธนาคารกลาง โดยในรูปแบบนี้ธนาคารกลางอาจต้องรับ ในประเทศต่างๆ ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อใช้ทดแทนเงินสด
ภาระในการท�ำกระบวนการรจู้ กั ลูกคา้ (Know Costomer แบบ 100% เพราะการทจี่ ะยกเลกิ การใช้ “เงนิ สด” นนั้ ไมใ่ ช่
: KYC) และอาจมีหน้าท่ีตามกฎหมาย “ฟอกเงิน - ภาษี” เรอื่ งงา่ ย ไมว่ า่ เทคโนโลยจี ะพฒั นาระบบการชำ� ระเงนิ ของโลก
เช่น หกั เงนิ ได้ ณ ท่ีจ่ายเพ่ือน�ำสง่ สรรพากร หากมีการจ่าย ให้ปรับเปลี่ยนเพ่ือเข้าสู่ยุคดิจิทัลมากแค่ไหน แต่ก็ยัง
ดอกเบ้ีย น่ันอาจเป็นการเพิ่มภาระให้กับธนาคารกลาง คงมปี จั จยั อกี หลายปจั จยั ทไี่ มส่ ามารถยกเลกิ การใชเ้ งนิ สดได้
ในการบรหิ ารจัดการ ไมว่ า่ จะเปน็ การเขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ทเ่ี ทา่ เทยี มของประชาชน
Indirect Model คือการบริการจัดการบัญชีโดย ประชากรผู้สูงอายุท่ีไม่สามารถเข้าสู่ระบบน้ีได้ทุกคน
มีการใช้สถาบันการเงินท�ำหน้าท่ีเป็นตัวแทน หรือให้ ก็ยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะมาชะลอการหายไปของการ
ประชาชนเปิดบัญชีกับธนาคารคล้ายระบบเงินสด ใช้เงินสดในระบบ รวมไปถึงการให้บริการทางการเงิน
ในปัจจุบนั เพื่อใหธ้ นาคารกลางและสถาบันการเงินตวั แทน การปรบั ปรงุ กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งและการพจิ ารณานโยบาย
จะอยู่บนระบบปฏิบัติการ DLT เดียวกันเพื่อประโยชน์ การเงนิ ทร่ี อบคอบ นคี่ งเปน็ ประเดน็ ทรี่ ฐั บาลและหนว่ ยงาน
ในการตรวจทาน CBDC ซ่ึงไม่ใช่การเปิดใช้บริการเงิน ทเ่ี กีย่ วข้องจะต้องหาวิธกี าร
อเิ ล็กทรอนิกส ์ (e-Money) เพราะ e-Money จะเปน็ การ ที่เหมาะสมกับทกุ ฝา่ ย
ที่ผู้รับบริการได้ช�ำระเงินล่วงหน้า และผู้ให้บริการได้เก็บ ในการสร้าง CBDC
มูลค่าของเงินไว้ในส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (บัตรพลาสติก/
e-Wallet) เพ่ือวัตถุประสงค์ในการซื้อสินค้า/บริการ
(Stored Value) ซึ่งเป็นคนละลักษณะกับ CBDC
ท่ีมีวตั ถุประสงค์เป็นการสรา้ งเงนิ ให้อยูใ่ นรปู แบบดิจทิ ัล
12 บางกอก ECONOMY
e-Service ภาษบี รกิ ารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ธุรกิจออนไลน์ (e-Service) เร่ิมมีบทบาทกับ สาระส�ำคญั ของ พ.ร.บ.
ชีวิตเรามากข้ึน โดยเฉพาะช่วงการแพร่ระบาดของ พ.ร.บ e-Service หรือพระราชบัญญัติแก้ไข
เชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ท�ำให้ทุกคนต้อง เพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่..) พ.ศ..... (การจัดเก็บ
อยู่กับบ้านท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ในบ้านออกไปไหนไม่ได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจเหล่านี้เติบโตแบบก้าวกระโดดกันเลยทีเดียว จากต่างประเทศ หรือ อี-เซอรว์ สิ (e-Service) นน้ั เกิดขนึ้
ที่ส�ำคัญก่อนหน้าน้ีประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเรียกเก็บ มาจากความต้องการในการเพ่ิมความเป็นธรรมระหว่าง
ภาษีมูลค่าเพ่ิมกับการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผู้ประกอบการในประเทศและต่างประเทศ และเพ่ิม
จากต่างประเทศ ถือเป็นโอกาสให้แก่บริษัทเหล่าน้ี ประสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อมูลภาษีมูลค่าเพ่ิมให้
ในการท�ำการตลาดในไทย และกวาดรายได้ไปอย่าง เหมาะสมกับรูปแบบการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน โดยมี
ถล่มทลายตลอดมา ด้วยเม็ดเงินมหาศาลน้ีไทยเองก็จึงเริ่ม สาระสำ� คัญดงั น้ี
เคล่ือนไหวเกิดเป็น พ.ร.บ. จัดเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิมกรณี 1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามค�ำว่า “สินค้า”
การใหบ้ รกิ ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ากตา่ งประเทศ หรอื ภาษี หมายถึง ทรัพย์สินที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่างที่อาจมีราคา
e-Service และไดผ้ ่านความเห็นชอบจากมตคิ ณะรัฐมนตรี และถือเอาได้ ไม่ว่าจะมีไว้เพื่อขาย เพ่ือใช้ หรือเพ่ือ
(ครม.) เมื่อวันที่ 9 มิถุนายนที่ผ่านมา จึงอยากให้ทุกท่าน การใดๆ และให้หมายรวมถึงส่ิงของทุกชนิดท่ีน�ำเข้า
มาท�ำความรู้จกั “พ.ร.บ. e-Service” ไดจ้ ากคอลัมน์น้ี แต่ท้ังน้ี ไม่รวมถึงทรัพย์สินท่ีไม่มีรูปร่างที่ส่งมอบโดยผ่าน
บางกอก ECONOMY 13
ทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจอะไรบ้างที่เข้าข่ายธุรกิจออนไลน์
อื่นใด และเพ่ิมบทนิยามค�ำว่า “บริการอิเล็กทรอนิกส์” (e-Service)
หมายถงึ บรกิ ารทส่ี ง่ มอบโดยผา่ นทางเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ กลุม่ E-Commerce เชน่ eBay, Alibaba
หรอื เครอื ขา่ ยทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่ ใด และ “อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และ Amazon
แพลตฟอรม์ ” หมายถงึ ตลาด ชอ่ งทาง หรอื กระบวนการ กลุ่มมีเดียและการโฆษณา เช่น Google,
อ่ืนใดท่ีผู้ให้บริการหลายรายใช้ในการให้บริการทาง Facebook และ Line
อเิ ลก็ ทรอนิกส์แกผ่ ้รู บั บริการ กลุ่มบริการ เช่น บริการมาร์เก็ตต้ิง และ
Evernote
2. ก�ำหนดให้
2.1 ผปู้ ระกอบการทใี่ หบ้ รกิ ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ กลมุ่ การขนสง่ เช่น สายการบิน
จากต่างประเทศแก่ผู้ใช้ซึ่งไม่ใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียน กลุ่มการท่องเที่ยว เช่น Booking และ
ในประเทศและมีการใช้บริการน้ันในประเทศ ซึ่งมีรายได้ Airbnb
จากการให้บริการดังกล่าวเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี กลุ่มดิจิทัลคอนเทนท์ เช่น Netflix, Iflix,
ให้ย่ืนค�ำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม และให้มีหน้าที่ Joox และ Spotify
เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยค�ำนวณจากภาษีขายโดยไม่ให้ กลุ่มซอฟต์แวร์ เชน่ Apple
หกั ภาษซี อื้ กลุ่มเกม
2.2 ส�ำหรับกรณีผู้ประกอบการต่างประเทศ กลมุ่ โครงสรา้ ง เชน่ บริการ Cloud
ไดใ้ หบ้ รกิ ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ กผ่ รู้ บั บรกิ ารในประเทศไทย กลมุ่ บรกิ ารการเงิน เช่น Paypal
ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มต่างประเทศ ก�ำหนดให้รายได้ กลุ่ม Forex Investment
ที่ได้รับจากการให้บริการนั้นเป็นฐานภาษีมูลค่าเพิ่มของ กลมุ่ การพนนั ออนไลน์
ดิจิทัลแพลตฟอร์มต่างประเทศ ซ่ึงหากดิจิทัลแพลตฟอร์ม
ต่างประเทศมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ให้ยื่นค�ำขอ
จดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ และใหม้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
3. ก�ำหนดให้การด�ำเนินการเก่ียวกับเอกสาร
หลักฐานหรือหนังสืออ่ืนใดตามประมวลรัษฎากร และการ
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม สามารถกระท�ำผ่านทาง
อิเล็กทรอนกิ สไ์ ด้
4. ก�ำหนดห้ามไม่ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียน
ท่ี ใ ห ้ บ ริ ก า ร ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ จ า ก ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
ออกใบกำ� กับภาษี
14 บางกอก ECONOMY
ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงลบ
เน่ืองจากก่อนหน้านี้กฎหมายไม่ได้ครอบคลุม ส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นตามมาเลยคือ “ค่าใช้จ่าย
บริษัทไอทีต่างชาติมาก่อน ท�ำให้บริษัทเหล่านี้สามารถ ทส่ี งู ขน้ึ ” ของฝง่ั ผใู้ หบ้ รกิ ารนนั่ เอง เพราะหากมผี ใู้ หบ้ รกิ าร
เขา้ มาทำ� งานในประเทศไทย ทำ� รายไดอ้ อกไปไดเ้ ปน็ จำ� นวน รับส่วนเพิ่มของภาษีไว้เอง จะเท่ากับว่ามีต้นทุนท่ีสูงข้ึน
มหาศาล การท่ีมีการจัดเก็บภาษีในส่วนนี้จะท�ำให้ ในขณะที่บริษัทสามารถสร้างรายได้ได้เท่าเดิม คุณภาพ
ประเทศไทยเองมีรายได้มากข้ึน โดยกระทรวงการคลัง บริการเท่าเดิม แต่ก�ำไรของบริษัทหายไปน่ันเอง และเมื่อ
คาดวา่ จะเกบ็ ภาษไี ดเ้ พมิ่ ขน้ึ ประมาณ 3,000 ลา้ นบาทตอ่ ปี คา่ ใชจ้ า่ ยสงู ขน้ึ งบทางการตลาดหรอื การโปรโมทต่าง ๆ ก็
เลยทเี ดยี วอกี ทงั้ การทม่ี กี ารเกบ็ ภาษบี รษิ ทั ไอทตี า่ งชาตนิ น้ั อาจหายไป ก็จะไปกระทบต่อยอดขายในอนาคตอีก และ
จะเรียกเก็บเฉพาะผู้ประกอบการต่างประเทศท่ีให้บริการ อาจท�ำให้ยอดขายหรือยอดใช้บริการในอนาคตหดตัวลง
ในประเทศไทยและมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี แต่ในทางกลับกันผู้ให้บริการน้ัน ๆ ผลักภาระภาษีไปให้
ทำ� ใหบ้ รษิ ทั เหลา่ นล้ี ดความสามารถในการแขง่ ขนั ในตลาดไทย ทางลกู คา้ กจ็ ะทำ� ใหล้ กู คา้ จะตอ้ งจา่ ยแพงและมผี ลกระทบ
และหากประเทศไทยมีบริษัทไอทีท่ีให้บริการเหล่านี้ อาจท�ำให้ผู้ใช้บริการลดลง หรือสูญเสียความได้เปรียบ
เพิ่มมากข้ึน ก็จะมีความสามารถในการแข่งขันกับบริษัท ในการแข่งขันไปได้เช่นกัน และท�ำให้การท�ำตลาดของ
เหล่านี้ได้ เพราะมีความได้เปรียบทางด้านก�ำแพงภาษี บริษัทไอทีต่างชาติในไทยอาจเป็นเรื่องที่ยากข้ึนกว่าเดิม
เม่ือ Netflix แพงข้ึน คนไทยเองก็อาจเปล่ียนไปใช้บริการ ในฝง่ั เราทเ่ี ปน็ ลกู คา้ กต็ อ้ งมาลนุ้ กนั วา่ บรกิ ารตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี
Platform ของไทยอื่น ๆ แทนก็เปน็ ได้ จะตัดสินใจอย่างไร จะต้องจ่ายค่าบริการเหล่าน้ีแพงขึ้น
หรอื ไม่ ต้องตดิ ตามดกู นั ต่อไป
สรุปโดยง่ายก็คือภาษี e-Service นั้นจะถูก
จัดเก็บจากผู้ประกอบการท่ีได้ให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์
จากต่างประเทศ และมกี ารใชบ้ รกิ ารในประเทศ อยา่ งเชน่
วิดีโอ เกม เพลง ภาพยนตร์หรือดิจิทัลคอนเทนต์อื่น ๆ
เป็นต้น ซึ่งบริการดังกล่าวจะต้องมีรายรับมากกว่า
1.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี โดยผปู้ ระกอบการจะตอ้ งยนื่ จดทะเบยี น
ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ผ่านเว็บไซต์กรมสรรพากร โดยก่อนหน้าน้ี
ก็มีหลาย ๆ ประเทศท่มี ีการจดั เกบ็ ภาษบี รกิ าร e-Service
ส�ำหรับต่างชาติบ้างแล้ว เช่น สหราชอาณาจักร
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและไต้หวัน
เปน็ ต้น
บางกอก ECONOMY 15
แอปพลิเคชนั Food Delivery
สัญชาติไทย คืนกำ� ไรส่สู ังคม
16 บางกอก ECONOMY
จากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ตั้งแต่ ท่ีขายหน้าร้าน ทั้งยังคงปริมาณและคุณภาพได้อย่าง
ช่วงต้นปีต่อเนือ่ งมายังปัจจบุ ัน ซ่งึ สถานการณป์ ัจจบุ นั ของ เหมาะสม นนั่ หมายรวมวา่ ลกู คา้ กไ็ ดจ้ า่ ยคา่ อาหารตามจรงิ
ประเทศไทยนั้นมีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประชาชน นอกจากน้ียังช่วยให้ร้านค้าที่เข้าร่วมแพลตฟอร์มน้ี
สามารถเร่ิมกลับมาใช้ชีวิตประจ�ำวันได้เกือบเป็นปกติ สามารถเขา้ สรู่ ะบบสนิ เชอ่ื ของธนาคารไดง้ า่ ยและรวดเรว็ ขน้ึ
แต่จากผลกระทบสืบเนื่องของสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 แพลตฟอร์มน้ีเกิดจากทรัพยากรทางเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้ว
ดงั กลา่ ว ทำ� ใหธ้ รุ กจิ ตา่ งๆ ตอ้ งกลบั มาตง้ั หลกั เรม่ิ ตน้ กนั ใหม่ ของธนาคาร รวมถึงเครอื ข่ายรา้ นคา้ ใน “โครงการแม่มณี”
อีกครั้ง แตม่ ีธรุ กิจหนึ่งทส่ี รา้ งรายไดอ้ ยา่ งมากในชว่ งวิกฤต อกี ทงั้ ยงั เปน็ พารท์ เนอร์ กบั Google My Business และในสว่ น
ที่ผ่านมาน่ันก็คือ “ธุรกิจ Food Delivery” จากการท่ี ของการจัดส่งก็ได้ร่วมเป็นพาร์ทเนอร์กับ SKOOTAR
รา้ นอาหารตา่ งๆ ไดใ้ ชว้ กิ ฤตนเ้ี ปลย่ี นเปน็ โอกาสในการเขา้ รว่ ม และยังคงมองหาพารท์ เนอรร์ ายอืน่ ๆ เพมิ่ เตมิ ในอนาคต
แพลตฟอรม์ Food Delivery เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางในการสรา้ ง ที่กล่าวมาทั้งหมดการสร้างแพลตฟอร์มน้ีไม่ได้ใช้
รายได้ทดแทนจากการขายหน้าร้านท่ีไม่สามารถขายได้ การลงทุนสูงเหมือนธุรกิจ Startup ใหม่ๆ และด้วยความ
ถึงแม้ว่าแพลตฟอร์ม Food Delivery จะช่วยให้มี ท่ีเป็นระบบธนาคารจะสามารถท�ำให้การชำ� ระเงินสามารถ
ยอดขายเพ่ิมขึ้นแต่น่ันต้องแลกมากับการจ่ายค่าบริการ ท�ำได้อย่างรวดเร็วท้ังร้านค้าและผู้ส่งสินค้า โดยการ
ใหก้ บั เจา้ ของแพลตฟอรม์ ประมาณ 30-35% โดยคา่ ใชจ้ า่ ย รับจ่ายเงินท้ังหมดเป็นระบบดิจิทัล โดยในเบ้ืองต้นคาดว่า
ในส่วนน้ีเรียกว่า “GP Food Delivery” ส่งผลให้ต้นทุน จะสามารถเปิดใช้บริการแอปพลิเคชัน “Robinhood”
เพิ่มขน้ึ อยา่ งไม่อาจหลกี เลีย่ งได้ ได้เต็มรูปแบบภายในเดือนกันยายน 2563 และคาดว่า
แอปพลเิ คชนั “Robinhood” ซงึ่ เปน็ แอปพลเิ คชนั หลงั จากเปดิ ใหใ้ ชบ้ รกิ ารในชว่ งเรม่ิ ตน้ จะมรี า้ นคา้ ประมาณ
สัญชาติไทยแท้ เป็นหน่ึงในโครงการ CSR (Corporate 20,000 ร้าน โดยแพลตฟอร์มนี้จะเริ่มท่ีกรุงเทพมหานคร
Social Responsibility หรือ การสร้างความรับผิดชอบ และปริมณฑลเป็นหลักก่อน ร้านค้าท่ีสนใจเข้าร่วม
ต่อสังคม) ของธนาคารไทยพาณิชย์ เพ่ือคืนก�ำไรให้สังคม แพลตฟอร์มนี้สามารถสมัครได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายท่ี
โดยแพลตฟอร์มน้ีไม่มีการเก็บค่าธรรมเนียมใดๆ ทั้งส้ิน ธนาคารไทยพาณิชย์ทุกสาขาในเขตกรุงเทพมหานครและ
ไมว่ ่าคา่ สมัครหรือคา่ GP (Gross Profit) รา้ นอาหารจะได้ ปริมณฑล
เงินเตม็ จ�ำนวน ทำ� ใหส้ ามารถตั้งราคาขายอาหารได้เทา่ กับ
GP (Gross Profit) คอื คา่ คอมมิชชัน่ ทีร่ า้ นอาหารต้องจา่ ยใหก้ บั แอปพลิเคชันสงั่ อาหาร เป็นค่าดำ� เนนิ การท่ที าง
แพลตฟอรม์ เรยี กเกบ็ ซ่งึ แต่ละเจา้ กจ็ ะแตกตา่ งกนั ออกไป ข้ึนอย่กู ับชอื่ เสยี งของร้านอาหาร ถ้าเป็นร้านท่ีเปน็ ที่รจู้ ักเป็นวงกว้าง
คา่ ด�ำเนินการกอ็ าจจะไม่สูงมาก แต่ส่วนมากแล้วรา้ นอาหารทั่วไปจะตอ้ งจ่ายคา่ ด�ำเนินการให้กับแพลตฟอรม์ ส่งั อาหารออนไลน์
อยู่ท่ีประมาณ 30-35% โดยร้านอาหารแต่ละร้านจะมีวิธีจัดการค่าด�ำเนินการในส่วนนี้แตกต่างกัน บางร้านก็ยอมที่จะแบกค่า
ด�ำเนินการน้ีไว้เอง ส่วนบางร้านก็จะบวกไว้จากราคาอาหารและเครื่องด่ืมหน้าร้านแทน ค�ำนวณตัวอย่างคร่าวๆ ค่าด�ำเนินการ
ในสว่ นนที้ ่ีรา้ นอาหารต้องจา่ ย หากร้านอาหารต้องจ่าย 30-35% ให้กับแอปส่ังอาหารหรือเว็บไซตด์ ลิ ิเวอรี
ตารางแสดงรา้ นอาหารทีม่ ีรายรบั 300,000 บาท/เดือน และตอ้ งจ่ายค่าด�ำเนนิ การ 35%
ยอดขายจาก Food Delivery คา่ ด�ำเนินการแพลตฟอร์ม 35% รายรบั รา้ นอาหาร
1 ออเดอร์ ราคา 100 บาท 35 บาท 65 บาท
ออเดอร์ท้งั หมดใน 1 วนั 3,500 บาท 6,500 บาท
รวม 10,000 บาท
นน่ั หมายความวา่ ใน 1 เดอื นร้านอาหารมีรายไดจ้ ากการคา้ 300,000 บาท จะต้องเสยี คา่ ดำ� เนนิ การ ในส่วนของ GP
ให้กับแพลตฟอร์มแอปพลิเคชั่น Food Delivery สงู ถึง 105,000 บาท เลยทเี ดยี ว
บางกอก ECONOMY 17
New Business
Normal
การปรับตัวธรุ กิจแนวใหม่ในยคุ โควดิ -19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ที่กินเวลา
ยาวนานมาหลายเดือน และยังไม่สามารถท่ีจะบอกได้ว่าสถานการณ์น้ีจะจบลง
เม่ือไร ผู้คนเดือดร้อนไม่สามารถด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันได้อย่างปกติ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งระบบเศรษฐกิจ ท�ำให้หลายธุรกิจประสบปัญหา บางธุรกิจถึงข้ันต้อง
หยุดกิจการหรือปิดกิจการ อันเนื่องมาจากผู้ใช้บริการธุรกิจต่างๆ ไม่สามารถ
ใช้ชวี ิตในแบบเดมิ ได้
New Business Normal หลงั วกิ ฤตโควิด-19 ต้องการมากท่ีสุดได้แก่ หน้ากากอนามัย แอลกอฮอล์
จากการที่เราต้องมีระยะห่างทางสังคม ธุรกิจ เคร่ืองวัดอุณหภูมิ เจลล้างมือ เป็นต้น ซึ่งเป็นไปตาม
ทุกอย่างก็นับได้ว่าต้องพ่ึงพาดิจิทัลกันเป็นส่วนใหญ่ สถานการณ์ที่ผู้คนต่างวิตกกังวลกับการแพร่ระบาดของ
เนื่องจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปล่ียนไป การท�ำงาน ไวรสั โควิด-19 สินคา้ ในกลุ่มนี้จงึ เป็นที่ตอ้ งการเพ่มิ มากขึน้
อยู่บ้าน การเรียนผ่านระบบออนไลน์ หรือแม้การจะกิน
อาหารเราก็สามารถท�ำได้ด้วยเพียงการหยิบโทรศัพท์ พลกิ วกิ ฤตโควดิ -19 ใหเ้ ป็นการสร้างโอกาส
มอื ถอื ขน้ึ มา ทำ� ใหก้ ารทำ� ธรุ กจิ แบบ E-commerce เตบิ โต ในสถานการณ์ร้ายๆ ท่ีไม่มีใครคาดถึง ก็สามารถ
อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจดิลิเวอรี ธุรกิจระบบการ สร้างเศรษฐีใหม่ได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการเร่ิมต้นธุรกิจ
ขนส่งต่างๆ รวมไปถึงสังคมแบบไร้เงินสด การซ้ือขาย ที่ทุกคนต้องเรียนรู้ใหม่ไปพร้อมกัน ใครท�ำได้ก็จะประสบ
ผ่านระบบออนไลน์ ธุรกิจแบบ E-commerce ของไทย ความส�ำเร็จได้ระยะเวลาอันสั้น แต่น่ันหมายความว่าเรา
ปี 2020 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส จะต้องพัฒนาระบบธุรกิจน้ันๆ ให้เป็นท่ีต้องตาต้องใจ
โควิด-19 ได้ส่งผลให้เกิดความต้องการบริโภคกลุ่มสินค้า กบั ผคู้ นโดยทวั่ ไป โดยธรุ กจิ ทจ่ี ะประสบความสำ� เรจ็ จงึ จำ� เปน็
สุขภาพและความงาม สินค้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือน ต้องมี New Growth หรือ New S-Curve ที่จะสร้าง
และเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เพมิ่ สงู ข้นึ กวา่ 29 เปอรเ์ ซน็ ต์โดยเฉลย่ี ความเติบโตให้กับธุรกิจ และสามารถท�ำให้ธุรกิจนั้น
โดยสินค้ากลุ่มสุขภาพและความงาม มีปริมาณความ กลายมาเป็นผู้น�ำทางธุรกิจได้ และจากการท่ีเรายังไม่
18 บางกอก ECONOMY
สามารถด�ำเนินธุรกิจติดต่อกับต่างประเทศได้ เราจ�ำเป็น
ตอ้ งพึง่ พาตัวเอง กลับมาใชบ้ ริการการผลติ ภายในประเทศ
สรา้ งแบรนดส์ ินคา้ เป็นของตวั เอง และเพ่อื เปน็ การตอ่ ยอด
ในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ เมอ่ื ถงึ วนั ทสี่ ามารถท�ำการคา้ กบั ตา่ งชาติ
ได้กลับมาอีกครั้ง ในส่วนของการปรับตัวของสินค้าไทย
กจ็ ะขยายสง่ ออกไปยงั ตา่ งประเทศไดเ้ พม่ิ มากขนึ้ ในอนาคต
เม่อื สถานการณ์น้ีหมดไป
และเชื่อเหลือเกินว่าการปรับตัวของธุรกิจที่จะ
เปิดด�ำเนินกิจการหลังจากพ้นสถานการณ์การล็อคดาวน์
ไม่มีธุรกิจไหนท่ีจะสามารถกลับมาด�ำเนินการได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากยังต้องมีการเว้นระยะห่าง เข้าท�ำงานในสถานด�ำเนินธุรกิจขององค์กรที่จะต้องมีการ
(Social distancing) กันอยู่ แต่ละองค์กรธุรกิจจึงต้อง เพ่ิมกฎเกณฑ์การท�ำงานเพื่อลดความเส่ียงของทุกคน
มกี ารปรบั เปลยี่ นการทำ� งาน รวมถงึ การวางแผนระบบงานใหม่ ดังนั้นทุกองค์กรธุรกิจต้องมีการจัดการทรัพยากรบุคคลท่ี
หลายองค์กรธุรกิจต้องเริ่มปรับกันต้ังแต่โครงสร้างของ มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ทรัพยากรท่ีมีได้อย่างเต็มความ
บุคลากรในการท�ำงาน เพื่อที่จะท�ำงานจากที่บ้านบ้างเพื่อ สามารถมากท่ีสุด รวมถึงการยืดหยุ่นเวลาท�ำงานด้วยการ
เป็นการลดความเสี่ยง การเพ่ิมประสิทธิภาพการท�ำงาน จัดการที่เหมาะสม และท้ายท่ีสุดเพ่ือความอยู่รอดของ
ขององค์การให้สอดคล้องกับสถานการณ์จึงเป็น องค์กรธุรกิจจ�ำเป็นต้องมีการรักษาความสมดุลภายใน
ส่ิงจ�ำเป็น รวมถึงมาตรการการดูแลเม่ือต้องมีบุคลากร องค์กรจากสถานการณท์ ่ีเกิดข้นึ
โดยในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โควิด-19 ธุรกิจต่างๆ ล้มไปมากมาย รวมถึงคนที่ท�ำงานประจ�ำก็เกิด
แรงส่ันสะเทือน นับรวมไปถึงบุคคลที่มีชื่อเสียงในวงการบันเทิงที่ต่างก็
ต้องพบกับวิกฤตน้ีเช่นกันอยู่ที่ใครจะหาทางออกกันได้ไว ยกตัวอย่าง
เช่นคณุ กอล์ฟ ฟกั กิง้ ฮโี รท่ ีโ่ ดนผลกระทบเตม็ 100% งานจ้างถกู ยกเลกิ
ทั้งหมด จึงต้องเดินหน้าหาธุรกิจท�ำเพ่ือความอยู่รอดด้วยการเปิดร้าน
ขายหมูปิ้งท่ีเป็นข่าวให้ได้รับรู้กัน แต่จากการด้ินเอาตัวรอดในวันน้ัน
ท่เี กดิ สถานการณ์น้ีใหม่ๆ ในวนั น้หี มูปิง้ ขยายไปเกอื บ 10 สาขา น่ันคง
เปน็ ตัวอยา่ งทดี่ วี ่าทุกปญั หามีทางออกเสมอ
บางกอก ECONOMY 19
SMART
MONEY
เทรนดก์ ารลงทุนของคนรุน่ ใหม่
..พฤติกรรมและอายทุ ่ตี า่ งกนั !! เปน็ ปจั จัยหน่งึ
ทท่ี �ำใหแ้ ผนการเงนิ การลงทุน
ของแต่ละคนแตกต่างกนั ไป !
เทรนด์การลงทุนของคนรุ่นใหม่ในกลุ่มคนท่ีได้ ที่ใช้ง่าย ใช้ฟรีและเป็นกลาง เช่น www.gobear.com
เริ่มต้นท�ำงานใหม่ (First Jobber) สามารถรับความเส่ียง ซง่ึ ลา่ สดุ ไดเ้ ปิดดชั นีชวี้ ัดสขุ ภาพทางการเงิน หรอื GoBear
ไดส้ ูง (มาก) ต้องการเลน่ หุน้ ทองค�ำ น�้ำมัน ฯลฯ สามารถ Financial Health Index ท่ีบริษัทร่วมกับ องค์กรวิจัย
ท�ำได้ เพราะว่าต่อให้พลาดหรือขาดทุนอย่างไรก็ยัง Kadence International เพื่อกระตุ้นให้คนไทยใส่ใจกับ
พอมีเวลาปรับพอร์ตใหม่ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมและ ความรู้ด้านการเงิน มีการวางแผนชีวิตและการเงิน
มเี วลาหาเงนิ นนั่ เอง ซง่ึ สามารถลงทนุ เนน้ “ผลตอบแทน” ได้ หลังเกษียณ ซึ่งเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญมากส�ำหรับโลกที่ก้าวสู่
เพราะความเสยี่ งสงู ผลตอบแทนทไ่ี ดก้ ย็ งิ่ สงู แตเ่ มอื่ เทยี บกบั สงั คมผสู้ งู อายุ
คนวัยเกษียณการเลือกลงทุนจะลงทุนที่มีความเสี่ยงต่�ำ ในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาเรามักจะเห็นคนรุ่นใหม่
โอกาสขาดทุนน้อยท่ีสุด เพราะไม่มีเวลาแก้ตัวให้หาเงิน ท่ีอายุยังไม่มากนักประสบความสำ� เร็จในการท�ำธุรกิจหรือ
มาลงทนุ ใหม่ และชว่ งระยะเวลาของการลงทนุ เปน็ แบบสนั้ การลงทุนกันมาอย่างมากมาย แตก่ ็ใชว่ า่ ทกุ คนจะสามารถ
หรอื กลาง เนน้ ลงทนุ “รกั ษาเงนิ ต้น” มากกว่าผลตอบแทน ประสบความส�ำเร็จกันได้ เพราะกว่าจะประสบความ
ในปจั จุบนั เรามรี ปู แบบการลงทนุ และการออมให้เลอื กอยู่ ส�ำเร็จได้น้ัน ต้องแลกมาด้วยความกดดัน ความพยายาม
มากมาย โดยที่เราสามารถเลือกในส่ิงที่เหมาะสมกับ ความมุ่งม่ัน เพื่อที่จะไม่ท�ำให้การลงทุนนั้นสูญเปล่า
ตัวเราที่สุด จะให้เก็บออมโดยไม่ลงทุนเงินก็งอกเงยช้า จึงท�ำให้คนส่วนมากเลือกท่ีจะท�ำงานในหน่วยงานท่ีมั่นคง
จะลงทุนอย่างเดียวผิดพลาดไปน่ันก็หมายถึงเงินออม แต่ก็ยังมีอีกจ�ำนวนมากท่ีต้องการเป็นนายตัวเองและ
ไม่มีไปด้วย การศึกษาเก่ียวกับการลงทุนและการออม ต้องการประสบความส�ำเร็จตัง้ แต่อายุยังน้อย
ของคนรุ่นใหม่จึงเป็นสิ่งท่ีท้าทายและสามารถมองเห็น นอกจากการลงทุนและการก�ำหนดรายได้ด้วย
ผลตอบแทนท่ีดีได้อย่างไม่ยากจนเกินไป ซึ่งทางเลือกหนึ่ง ตนเองแล้ว คนยุคใหม่ยังให้ความสนใจในการออมเงิน
ที่เข้ามาเสริมองค์ความรู้และช่วยในการตัดสินใจเลือก สรา้ งสรรคเ์ ทคนคิ การเกบ็ เงนิ และใสใ่ จในสขุ ภาพทางการเงนิ
ความคุ้มค่าให้กับคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม นั้นคือ ของตนเองมากขึ้น หากจะกล่าวถึงพฤติกรรมการใช้
เว็บไซต์เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ทางการเงินและประกัน จ่ายเงินในการด�ำเนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ยุค 4.0 ซึ่งเป็น
20 บางกอก ECONOMY
ช่วงเริ่มต้นของวัยท�ำงานนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายเก่ียวกับ - ลงทุนอสังหาริมทรัพย์ การลงทุนท่ีมีมานาน
ทอี่ ยอู่ าศยั การใชเ้ งนิ เพอ่ื ตอบโจทยไ์ ลฟส์ ไตลท์ งั้ การทอ่ งเทยี่ ว เพราะไม่ว่าอย่างไรอสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุนก็จะมีมูลค่า
ความบันเทิง การซ้ือสินค้าและการใช้จ่ายด้านความสวย สูงข้ึนตามราคาท่ีดินท่ีไม่เคยลดลง แต่การลงทุนน้ี
ความงาม ล้วนแต่เป็นการใช้จ่ายเพ่ือสร้างความสุข กไ็ มส่ ามารถเปลีย่ นเปน็ เงินสดในเวลาท่ีรวดเร็วได้
หลงั จากทำ� งานหาเงนิ ไดแ้ ละหากมองไปถงึ มมุ มองการลงทนุ แม้ว่าทุกการลงทุนจะมีความเส่ียง แต่ก็ไม่ใช่เร่ือง
คนรนุ่ ใหม่ก็มวี ิสยั ทศั น์ทเ่ี รียกไดว้ ่าเห็นอนาคตที่ดี ยากท่ีจะสร้างผลตอบแทนท่ีคุ้มค่า หากผ่านการศึกษา
ขอ้ มูลในการลงทนุ มาอย่างดี
การลงทนุ ยอดฮติ ของคนรุ่นใหม่
- ลงทุนที่มีความเสี่ยงน้อย เช่นการลงทุนซื้อ
พันธบตั รรฐั บาล สลากพิเศษของธนาคารนอกจากดอกเบย้ี การออมเงินยอดนยิ มของคนรุ่นใหม่
ท่ีแน่นอนแล้ว อาจจะยังโชคดีถูกรางวัลใหญ่เป็นของแถม
มาอกี - ออมเพอื่ การลงทนุ อกี หนง่ึ ขอ้ ดขี องคนรนุ่ ใหม่
- ลงทุนในตลาดหุ้น ถึงแม้การลงทุนนี้จะได้รับ คงหนีไม่พ้นความกล้าได้กล้าเสีย พร้อมเสี่ยงในทุกเร่ือง
ผลตอบแทนสูงและรวดเร็ว แต่มีความเสี่ยงสูงก็ไม่ใช่ ยิ่งเป็นเรื่องท่ีเพิ่มเม็ดเงินเต็มที่ วิธีการออมเงินด้วยการ
ปัญหาในการเลือกที่จะศึกษาการลงทุนส�ำหรับคนรุ่นใหม่ ลงทุน จะให้ออมเงินแบบออมทรัพย์ อย่างเดียวอาจไม่
ท่กี ลา้ ได้กล้าเสียและศกึ ษาขอ้ มลู กอ่ นการลงทนุ ทกุ ครั้ง เพียงพออีกต่อไป เพราะเราสามารถออมในกองทุนต่าง ๆ
- ลงทุนทองค�ำ อีกหน่ึงการลงทุนที่น่าสนใจ นอกจากดอกเบ้ียที่สูงขึ้น ยังอาจสามารถสร้างก�ำไรเพ่ิม
เนื่องจากการลงทุนทองนี้ สามารถเปล่ียนเป็นเงินได้ มากข้นึ อีกด้วย
ในเวลาอนั รวดเร็ว - ออมไว้เผื่อฉุกเฉิน เงินส่วนน้ีเป็นเงินที่ทุกคน
ควรมี เพราะจะเป็นตัวช่วยในยามที่มีเหตุเดือดร้อนเข้ามา
อย่างคาดไม่ถึง โดยเงินส่วนนี้ควรเก็บไว้ให้ได้ประมาณ
3-6 ของค่าใช้จ่ายต่อเดือน
- ออมเผื่อวยั เกษียณ เป็นค�ำพดู ทม่ี กั ได้ยินเสมอ
ว่าท�ำไมเวลาเดินเร็ว จะท�ำอะไรก็ต้องรีบท�ำ การออม
ก็เช่นกัน หากเราออมเผื่อในส่วนน้ีไว้ไวเท่าไร ย่อมการันตี
ความสุขสบายในวัยเกษียณได้มากเท่านั้น การลงทุน
ทน่ี า่ สนใจในสว่ นนน้ี า่ จะเปน็ การออมในกองทนุ สำ� รองเลย้ี งชพี
หรอื กองทนุ บำ� เหนจ็ บำ� นาญขา้ ราชการหาวธิ คี ำ� นวณคา่ ใชจ้ า่ ย
ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชห้ ลงั เกษยี ณ
- ออมสร้างสุข คนรุ่นใหม่นับเป็นกลุ่มคน
ทพี่ รอ้ มจะหาความสขุ ให้กบั ตวั เอง การใหร้ างวลั กับตวั เอง
เปรียบได้เหมือนการเพิ่มพลังในชีวิต การออมในส่วนน้ี
จึงเหมือนแรงกระตุ้นการออมเพื่อเป้าหมายในการซ้ือ
ความสุขให้กับตัวเอง อาจท�ำได้ด้วยการเปิดบัญชีแยก
จากส่วนอื่น ถ้าครบตามเป้าหมายรางวัลที่เราตั้งเป้าไว้
ก็จะมาหาเราเร็วเม่ือน้ัน
ที่มา : marketeeronline
บางกอก ECONOMY 21
บทบาท ภารกิจ และนโยบายการขับเคลอื่ นองค์กร
รอบร้วั บางกอก ของคณะผู้บริหารกรงุ เทพมหานคร
กทม. สง่ เสริมการท่องเทยี่ วทัว่ กรงุ เทพฯ
ฟืน้ ฟเู ศรษฐกิจและสงั คม จากผลกระทบโควดิ -19
กรุงเทพมหานคร จัดประชุมเพ่ือการจัดท�ำโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเสนอ
ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟู
เศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เพ่ือ
เปน็ การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วและเปน็ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ รากหญา้ จากประชาชนในชมุ ชนตา่ ง ๆ
ตามนโยบายของรัฐบาล กรุงเทพมหานครได้พิจารณาโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว จ�ำนวน 6
โครงการ ได้แก่ โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านคลองบางหลวง โครงการส่งเสริม
การท่องเที่ยวย่านสวนลอยฟ้าเจ้าพระยา โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านเดินเพลิน
กรุงรัตนโกสินทร์ โครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวย่านคลองผดุงกรุงเกษม โครงการส่งเสริม
การท่องเท่ียวย่านหัวตะเข้(วัดลานบุญ-ตลาดหัวตะเข้-วัดสุทธาโภชน์) และโครงการส่งเสริม
การท่องเที่ยวย่านวัดกระทุ่มเสือปลา-วัดมหาบุศย์ โดยได้มีการมอบหมายให้ส�ำนักงานเขต
และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้รายงานถึงปัญหาด้านการท่องเท่ียวในสถานท่ีท่องเท่ียวในเขตต่างๆ
รวมทั้งน�ำเสนอถึงวิธีแก้ปัญหา เพื่อให้หน่วยงานคิดค้นโครงการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวย่านต่าง ๆ ให้สะอาด ปลอดภัย
และกระตุ้นให้นักท่องเท่ียวอยากมาท่องเท่ียวในสถานที่ท่องเที่ยวย่านต่าง ๆ เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวของ
กรุงเทพมหานคร รวมถึงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว และการเชื่อมโยงการเดินทางในพ้ืนที่เพ่ือให้สามารถเดินทางได้สะดวก
ปลอดภัย โดยให้แต่ละหน่วยงานได้น�ำเสนอโครงการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องน�ำเสนอส�ำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลพิจารณา เพื่อเข้า
คณะกรรมการระดับกรุงเทพมหานคร และสง่ ต่อถึงสำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตติ อ่ ไป
โครงการกอ่ สร้างเพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ
การจราจร ในพน้ื ทฝี่ ่งั ธนบรุ ี
ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ลงพ้ืนท่ีพร้อมด้วยผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีส�ำนักการ
โยธาของส�ำนักงานเขตบางกอกน้อยร่วมลงพื้นที่ เพ่ือติดตามโครงการก่อสร้างเพ่ือเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจราจรในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซ่ึงอยู่ในเขตพื้นท่ีบางกอกน้อย ประกอบด้วย
โครงการทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์-ถนนพรานนก และโครงการขยายผิวจราจรถนน
สุทธาวาสและสะพานข้ามถนนจรัญสนิทวงศ์ ส�ำหรับโครงการก่อสร้างทางลอดถนน
จรญั สนทิ วงศ-์ ถนนพรานนก ซ่ึงเปน็ การก่อสร้างถนนทางราบบริเวณแยกไฟฉายเชื่อมต่อ
ถนนพรานนก-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 การก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามบริเวณแยก
ไฟฉาย และการก่อสร้างทางลอดถนนจรัญสนิทวงศ์-ถนนพรานนก ขนาด 2 ช่องจราจร
2 ทิศทาง ความยาวทางลอดประมาณ 600 ม. ซ่ึงแลว้ เสรจ็ พร้อมเปดิ การจราจร คาดว่า
จะช่วยบรรเทาและแก้ไขปัญหาจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วนได้ ส�ำหรับการก่อสร้าง
สะพานลอยคนข้ามบริเวณแยกไฟฉาย ได้ด�ำเนินการก่อสร้างสะพานลอยพร้อมติดตั้ง
หลังคาและราวกันตก รวมถึงเช่ือมต่อระบบไฟฟ้าส่องสว่างแล้วเสร็จ เพ่ือความปลอดภัยและอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
ผู้ใช้สะพานลอยคนข้าม ในส่วนการก่อสร้างทางลอดดังกล่าวเกิดความล่าช้า เนื่องจากพื้นที่ก่อสร้างทางลอดได้ทับซ้อนกับโครงการ
รถไฟฟ้าสายสีน้�ำเงิน จึงจ�ำเป็นต้องหยุดการก่อสร้างช่ัวคราว เพื่อให้โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้�ำเงินด�ำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ
อยา่ งไรกด็ ปี จั จบุ นั กรงุ เทพมหานครไดร้ บั มอบพนื้ ทค่ี นื และไดใ้ หบ้ รษิ ทั ผรู้ บั จา้ งเขา้ พน้ื ทเี่ ตรยี มการกอ่ สรา้ งตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 กรกฎาคม 63
ท่ผี ่านมา ก�ำหนดจะแลว้ เสรจ็ ในเดอื นมกราคม 64
22 บางกอก ECONOMY
พร้อมเปิดใหบ้ ริการรถไฟฟ้าสายสที อง
ตามแนวถนนเจริญนคร เขตคลองสาน ตุลาคม 63
กทม. เดินหน้าโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีทอง เพ่ือเป็นระบบขนส่งมวลชน
ทางรางระบบรอง สง่ ต่อความสะดวกสบาย และความคลอ่ งตวั ในการเดินทางของประชาชน
ในย่านชมุ ชนฝ่งั ธนบุรีไปยงั ระบบขนส่งมวลชนระบบหลัก ลอ้ ราง เรือ ได้โดยไม่ใชร้ ถส่วนตวั
ท้ังรถโดยสารประจ�ำทาง เรือโดยสารแม่น้�ำเจ้าพระยา และรถไฟฟ้าบีทีเอส 3 เส้นทาง
ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีเขียวส่วนต่อขยายสายสีลม รถไฟฟ้าสายสีแดง ช่วงหัวล�ำโพง-
บางบอน-มหาชัย และรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ โดยการพัฒนา
โครงข่ายการเดินทางในกรุงเทพมหานครในเส้นทางที่ใกล้เสร็จพร้อมเปิดให้บริการ
คือ โครงการรถไฟฟ้าสายสีทอง ระยะท่ี 1 รวม 3 สถานี ต้ังแต่สถานีกรุงธนบุรี -
ส�ำนักงานเขตคลองสาน ระยะทาง 1.7 กิโลเมตร ได้แก่ สถานีกรุงธนบุรี (G1)
สถานีเจริญนคร (G2) และ สถานีส�ำนักงานเขตคลองสาน (G3) โดยเป็นเส้นทางเดินรถ
ตามแนวถนนเจริญนคร เขตคลองสาน ท่ีเป็นอีกหนึ่งแหล่งเศรษฐกิจฝั่งธนบุรี อีกท้ังยังมีสถานท่ีส�ำคัญท่ีมีประชาชนไปใช้บริการ
จ�ำนวนมาก เช่น โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา รวมถึงสถานท่ีท่องเท่ียวอีกหลายแห่ง อาทิ ล้ง 1919
ไอคอนสยาม รวมถงึ สวนลอยฟา้ เจ้าพระยา และยังเช่ือมต่อกบั ย่านท่องเที่ยวเชงิ วัฒนธรรมรมิ แม่น้ำ� เจ้าพระยา
โดยขบวนรถไฟฟ้าสายสีทองมีความพิเศษ คือ เป็นรถไฟฟ้าแบบไร้คนขับ โดยใช้รางน�ำทาง มีล้อและทางวิ่งเป็นยาง
ซง่ึ จะท�ำใหเ้ กิดความนมุ่ นวลและกอ่ ให้เกิดเสยี งรบกวนตำ่� ลดฝุ่นและมลพษิ ความเร็วสูงสดุ อยู่ที่ 80 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง โดยขบวนรถ
ที่ใชใ้ นระบบน้ีมีทั้งหมด 3 ขบวน ขบวนละ 2 ตู้ รองรบั ผโู้ ดยสารได้ 4,000 – 12,000 คน/ช่วั โมง/ทิศทาง การก่อสร้างโครงการฯ
คืบหน้าประมาณร้อยละ 95 และอยู่ในระหว่างการทดสอบระบบการเดินรถ โดยคาดว่าจะพร้อมให้บริการเดินรถแก่ประชาชน
ในเดอื นตลุ าคม 2563
ปรบั ปรงุ ทางเดนิ ลอดใตส้ ะพานถนนพระราม 9 เพิม่ ความสะดวก ความปลอดภยั ให้ประชาชน
ผู้บริหารกรุงเทพมหานครเปิด “สะพานเดอะไนน์เชื่อมสัมพันธ์” โดย
กรุงเทพมหานครได้รับมอบ “สะพานเดอะไนน์เช่ือมสัมพันธ์” จากคณะผู้บริหาร
ศูนยก์ ารค้า บรษิ ทั เอม็ บี เค จ�ำกดั (มหาชน) เพือ่ ปรบั ปรุงเสน้ ทางเดนิ ลอดใตส้ ะพาน
ถนนพระราม 9 ใหม้ ีความปลอดภัยและความสะดวกให้กับชมุ ชนในพื้นทเี่ ขตสวนหลวง
จากท่ีส�ำนักงานเขตสวนหลวงได้รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนในชุมชน
เจริญพัฒนาถาวร ชุมชนธรรมานุรักษ์ ชุมชนถนนพระรามเก้าพัฒนา ชุมชนนาคภาษิต
ชุมชนวิเศษสุข และประชาชนท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณถนนพระราม 9 ในเรื่องการได้รับ
ความเดือดร้อนจากการข้ามถนนพระราม 9 ซ่ึงมีความยาวกว่า 3,175 เมตร มีสะพานลอยเดินข้าม เพียง 1 แห่ง ซ่ึงไม่เพียงพอ
ต่อการสัญจร ทำ� ให้ประชาชนต้องใช้ทางเดินลอดสะพานข้ามคลองลาวที่จากเดิมมีสภาพเป็นทางเดินดินเก่า ไม่มีความมั่นคงแข็งแรง
และเวลากลางคืนค่อนข้างมืดท�ำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายกับผู้สัญจรได้ จึงได้มีการปรับปรุงก่อสร้างทางเดิน
ลอดสะพานข้ามคลองลาว ให้สามารถใช้งานได้อย่างดีอีกคร้ัง ทางส�ำนักงานเขตสวนหลวงจึงเห็นควรในการก่อสร้าง
“สะพานเดอะไนน์เช่ือมสัมพันธ์” เพ่ือให้ประชาชนสามารถเดินข้ามได้ อย่างปลอดภัย ลดการเกิดอาชญากรรม และลดความเสี่ยง
ที่จะเกดิ อันตรายกับประชาชนในพ้ืนที่
บางกอก ECONOMY 23
Start ธรุ กจิ Step ง่าย
คน้ หาข้อมูล ขออนุญาตออนไลน์ ตรวจสอบสถานะ รับใบอนุญาต
คน้ หาขอ้ มลู การติดตอ่ ยื่นคำ� ขอไดห้ ลายหน่วยงาน ตดิ ตามสถานะการขออนญุ าต รบั ใบอนญุ าตไดโ้ ดยไมต่ ้อง
ราชการไดค้ รบทกุ หนว่ ยงาน โดยไมต่ อ้ งกรอกขอ้ มลู และ ได้สะดวกและรวดเร็ว ติดตอ่ ดว้ ยตนเอง
ทกุ ขน้ั ตอน เอกสารหลายครั้ง
“Biz Portal” ระบบราชการออนไลน์แบบครบ จบ ในจดุ เดยี ว
www.bangkok.go.th/fiic
โทร. 0 2224 1916 โทรสาร 0 2225 1945