ขา่ วสารเศรษฐกจิ
“ความยินยอม” ตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล
ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 “ความยินยอม” เป็นฐานทางกฎหมายในการ
เกบ็ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมลู ส่วนบุคคล ฐานหน่ึงในหลาย ๆ ฐานทีก่ ฎหมายกำหนดไว้ เพือ่ ให้ “ผคู้ วบคุม
ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล” ใช้เปน็ เคร่อื งมือในการบรรลวุ ัตถุประสงค์การใช้ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ท้ังขอ้ มูลส่วนบุคคลท่ัวไปและ
ข้อมูลส่วนบคุ คลตามมาตรา 26 อาทิ เชือ้ ชาติ ศาสนา ประวตั อิ าชญากรรม ขอ้ มูลสุขภาพ ความพกิ าร และข้อมูล
ชวี ภาพ เป็นต้น
ก่อนที่จะใชค้ วามยินยอมเปน็ ฐานการประมวลผลข้อมลู ส่วนบุคคล ผคู้ วบคมุ ขอ้ มลู ส่วนบุคคลมีหน้าที่
ตรวจสอบก่อนว่าความยินยอมเป็นฐานทางกฎหมายทส่ี อดคล้องกบั กจิ กรรมการประมวลผล ลกั ษณะการประมวลผล
และกฎหมายอนื่ ๆ ที่เกี่ยวข้องหรอื ไม่ เน่อื งจากตามมาตรา 19 วรรคท้ายกำหนดวา่ การขอความยินยอมจากเจา้ ของ
ขอ้ มูลสว่ นบุคคลทไ่ี ม่เปน็ ไปตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหมวดนี้(หมวด 2 มาตรา 19-29 ) ไมม่ ีผลผกู พันเจา้ ของข้อมูลสว่ นบคุ คล
และไมท่ ำให้ผ้คู วบคุมขอ้ มลู ส่วนบคุ คลสามารถทำการประมวลผลขอ้ มลู สว่ นบคุ คลได้
เมื่อพิจารณาแล้วว่าความยินยอมเป็นฐานทางกฎหมายทีเ่ หมาะสม ถูกต้อง จึงพิจารณาเงื่อนไข
ของการจัดทำความยนิ ยอมท่ีชอบดว้ ยกฎหมายตามทกี่ ำหนดไวใ้ นมาตรา 19 ดังน้ี
1) ตอ้ งได้รบั ความยินยอมเม่อื ใด: ต้องไดม้ าก่อนหรอื ในขณะที่จะ เกบ็ รวบรวม ใช้ หรอื เปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคล โดยจะขอความยินยอมทหี ลงั หรอื ขอย้อนหลงั ไมไ่ ด้
2) รูปแบบการขอความยินยอม: ต้องทำโดยชัดแจง้ เป็นหนังสือหรือทำโดยผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
เวน้ แตโ่ ดยสภาพไม่อาจขอความยินยอมดว้ ยวธิ ีการดงั กลา่ วได้
3) ขอจากใคร: ในการขอความยินยอมต้องขอจากเจ้าของข้อมูลส่วนบคุ คลเท่าน้ัน หากแต่เป็นกรณี
ทเี่ จา้ ของข้อมลู ส่วนบุคคลเปน็ ผเู้ ยาวซ์ ่งึ ยังไม่บรรลนุ ิติภาวะโดยการสมรส หรอื ไมม่ ฐี านะเสมอื นดงั บคุ คลซึ่งบรรลุนิติ
ภาวะแล้วตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
การขอความยนิ ยอมจากเจา้ ของข้อมูลส่วนบคุ คลดังกล่าวต้องปฏบิ ัตติ ามเงอ่ื นไขในมาตรา 20 ของ พ.ร.บ.
คมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คลฯ ได้แก่ ต้องได้รบั ความยนิ ยอมจากผู้ใชอ้ ำนาจปกครองท่มี อี ำนาจกระทำการแทนผู้เยาว์
หรือตอ้ งขอความยนิ ยอมจากผ้ใู ชอ้ ำนาจปกครองทม่ี อี ำนาจกระทำการแทนผูเ้ ยาว์ ทัง้ นีต้ ามเงือ่ นไขทก่ี ฎหมายกำหนด
4) การแจ้งวตั ถุประสงค์: ผู้ควบคุมขอ้ มูลสว่ นบุคคลต้องแจ้งวัตถปุ ระสงค์ของการประมวลผลข้อมูลสว่ นบุคคล
และการแจ้งนนั้ ตอ้ งไม่เปน็ การหลอกลวงหรอื ทำให้เจ้าของขอ้ มลู สว่ นบคุ คลเข้าใจผิดในวตั ถปุ ระสงค์ดงั กล่าว
5) แบบของการขอความยนิ ยอม: การขอความยินยอมนนั้ ต้องแยกส่วนออกจากข้อความอืน่ อยา่ งชัดเจน
มีแบบหรือขอ้ ความท่เี ข้าถงึ ได้งา่ ยและเขา้ ใจได้ รวมท้ังใช้ภาษาทอี่ ่านง่าย
6) ความเป็นอสิ ระในการให้ความยินยอม: ผู้ควบคุมขอ้ มูลสว่ นบคุ คลต้องคำนึงอยา่ งถึงท่สี ดุ ในความเป็น
อิสระของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ( freely given) โดยในการเข้าทำสัญญาซ่ึงรวมถึง
การให้บริการใด ๆ ต้องไมม่ ีเงื่อนไขในการให้ ความยินยอมเพื่อประมวลผลข้อมลู ส่วนบุคคลที่ไม่มีความจำเป็น
หรือเกย่ี วขอ้ งสำหรับการเข้าทำสญั ญาซึง่ รวมถงึ การให้บรกิ ารน้ัน ๆ
7) การถอนความยินยอม: เจา้ ของข้อมลู สว่ นบคุ คลจะถอนความยนิ ยอมเสียเมอ่ื ใดกไ็ ด้โดยจะตอ้ งถอนความ
ยินยอมไดง้ า่ ยเชน่ เดียวกบั การใหค้ วามยนิ ยอม เวน้ แตม่ ขี ้อจำกดั สทิ ธใิ นการถอนความยินยอมโดยกฎหมายหรือสญั ญา
ทใ่ี ห้ประโยชนแ์ กเ่ จ้าของขอ้ มูลสว่ นบุคคล
ในการใช้ “ความยนิ ยอม” นนั้ องค์กรตอ้ งปฏบิ ัติตามเงอื่ นไขทัง้ 7 ประการขา้ งตน้ อยา่ งเคร่งครัด จงึ จะเปน็
ความยนิ ยอมที่ชอบดว้ ยกฎหมาย ซ่งึ หลกั การขอความยินยอมตามมาตรา 19 ของ พ.ร.บ. ค้มุ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คลฯ
เปน็ บทบัญญตั ทิ สี่ อดคล้องกบั เงอ่ื นไขการขอความยนิ ยอมตามกฎหมายคมุ้ ครองขอ้ มูล
ส่วนบุคคลของสหภาพยุโรปหรือ GDPR มาตรา 7 โดย EDPB Guidelines 05/2020 on consent under
Regulation 2016/679 ไดใ้ หข้ อ้ แนะนำไว้วา่ ความยนิ ยอมจะเปน็ ฐานทางกฎหมายท่เี หมาะสมไดก้ ็ต่อเม่ือเจ้าของขอ้ มลู
สว่ นบุคคลไดร้ บั การเสนอการควบคมุ (control) และเสนอทางเลอื กทแี่ ท้จริง (genuine choice) เกี่ยวกับการยอมรับ
หรือปฏเิ สธข้อกำหนดท่ีเสนอหรือปฏิเสธได้โดยไม่มีความเสยี หาย (หรือได้รบั ผลกระทบเชงิ ลบ) และความยินยอม
เป็น “การตัดสินใจที่ย้อนกลับไ ด้” (reversible decision) โดยในส่วนหน่วยงานของรัฐ Information
Commissioner’s Office (ปร ะเทศอังกฤษ) และ European Data Protection Board ให้ข ้อแนะนำว่า
หนว่ ยงานของรฐั อาจมขี อ้ จำกัดในการใชฐ้ านความยนิ ยอมในการประมวลผล
เน่ืองจากการมอี ำนาจรัฐมกี ารใชอ้ ำนาจทางปกครองเพ่ือการจดั ทำบรกิ ารสาธารณะ ความยนิ ยอมท่ีเปน็ อสิ ระ
จงึ อาจเกิดข้ึนได้ยาก หรือในกรณีของความสัมพนั ธ์ระหว่างนายจ้าง-ลกู จ้างทีน่ ายจา้ งมีสถานะทางเศรษฐกิจหรืออำนาจ
ต่อรองทส่ี ูงกว่าลกู จา้ ง การขอความยนิ ยอมก็อาจทำไดย้ ากท่จี ะใหม้ ีความเปน็ อิสระอยา่ งแทจ้ ริงเช่นกนั
ความยินยอมเป็นหนง่ึ ในหลาย ๆ ฐานที่กฎหมายกำหนดไว้ เพื่อให้การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเปน็ ธรรม
และโปร่งใสต่อเจา้ ของขอ้ มลู ส่วนบคุ คล โดยการให้องคก์ รต่าง ๆ ทจ่ี ะประมวลผลขอ้ มูลสว่ นบุคคลต้องพิจารณา
และพสิ ูจน์ได้วา่ มีฐานทางกฎหมาย (ขอ้ กลา่ วอ้างวา่ มีสทิ ธปิ ระการใดประการหนงึ่ ในการนำขอ้ มูลส่วนบคุ คลไปใช)้
โดยต้องแจ้งในประกาศนโยบายความเปน็ ส่วนตวั (Privacy Notice) และควรบนั ทึกไว้ในบนั ทกึ รายการ
กิจกรรมการประมวลผลด้วย (Record of Processing Activities: ROPA) เพื่อประโยชน์ในการทบทวนตรวจสอบ
ท้งั จากเจา้ หนา้ ทีค่ ้มุ ครองขอ้ มลู สว่ นบุคคลเจ้าของขอ้ มูลสว่ นบคุ คล และสำนักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบุคคล.
ท่ีมา : หนงั สอื พมิ พก์ รุงเทพธุรกิจ