ขา่ วสารเศรษฐกิจ
คลงั เดินหนา้ รอ้ื โครงสร้างภาษี แก้งบประมาณขาดดุล
คลงั ยันจำเปน็ ตอ้ งใช้งบประมาณขาดดุลต่อเน่ือง เพอื่ ดูแลเศรษฐกจิ แถมทุกวิกฤตมีการกู้เงินเพ่ิม
พร้อมขยายเพดานหน้ีสาธารณะ เพื่อประคองเศรษฐกิจ ลั่นสิ่งที่ในอดตี ไม่เคยทำคือ ปรับโครงสร้างภาษี
เพื่อจัดเก็บรายได้รัฐ ทำใหร้ ายไดไ้ มพ่ อกับเงินลงทุน
การดำเนินนโยบายขาดดลุ งบประมาณอย่างต่อเนื่องมายาวนานถงึ 16 ปีนับจากปีงบประมาณ 2550
กำลงั สรา้ งความกังวลให้กบั การดำเนนิ นโยบายการเงนิ ลา่ สดุ อดตี ผวู้ ่าการ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) ได้ออกมา
แสดงเป็นห่วงภาครัฐท่ีปล่อยใหก้ ารดำเนนิ นโยบายการคลังแบบขาดดลุ เรือ่ ยๆแบบไมม่ ีนโยบายที่แน่ชดั กำลังซ่อน
สงิ่ ทจ่ี ะเป็นปญั หาระยะยาวเยอะมาก
หนงึ่ ในตวั อย่างของความลม่ สลายทางเศรษฐกิจจากการขาดดลุ งบประมาณเร้ือรัง ควบคู่กับการขาดดุลบญั ชี
เดินสะพดั จนก่อให้เกดิ เหตุจลาจลในประเทศอย่างศรีลังกา แมไ้ ทยจะยังไมไ่ ดข้ าดดลุ บัญชเี ดินสะพัดอยา่ งต่อเนื่อง
แต่กเ็ รม่ิ เหน็ การขาดดุลแลว้ ในปที ่ผี า่ นมา
นายอาคม เติมพทิ ยาไพสฐิ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังเปดิ เผยว่า การเกดิ วกิ ฤตทกุ ครงั้ จะมกี ารใชเ้ งนิ
ทำให้จำเป็นตอ้ งทำงบประมาณขาดดุล ซึง่ เป็นแนวทางเดยี วกนั กับประเทศอน่ื ๆ ซ่งึ ชว่ ง 2 ปีทีผ่ า่ นมาประเทศไทยเกิด
วิกฤตโควิด และในอดีตที่เคยเกิดวิกฤต 2 ครง้ั ในปี 2540 และปี 2552 แต่ละครัง้ ก็มีการออกพระราชกำหนด (พ.ร.ก.)
กู้เงิน ซึ่งเงนิ ทก่ี ูม้ ากเ็ ปน็ ภาระของคลงั ด้วย
เช่นเดยี วกับการปรบั เพดานหน้สี าธารณะเพิ่มขึ้นเหมอื นในอดีต เพ่อื ชว่ ยประคองเศรษฐกจิ ให้ฟื้นตัวได้
ต่อเน่ือง แตจ่ ะปรับลดลงเมื่อเศรษฐกจิ เรมิ่ ฟน้ื ตัว
ส่วนเรื่องที่จำเป็นต้องทำและไมม่ ี
การทำเลยในอดตี คอื การปรบั โครงสร้างการ
จัดเก็บรายไดจ้ ากภาษี ซึ่งทผ่ี า่ นมาไม่มีการ
ปรบั โครงสร้างภาษี มีแต่การทำนโยบายลด
อัตราภาษี เช่น ภาษีนติ บิ ุคคลที่จำเปน็ ตอ้ ง
ปรับลดลงมา เพื่อให้สามารถแข่งขัน
กับประเทศในภูมิภาคอาเซียนได้ ดังนัน้
เมื่อลดภาษีเยอะรายไดข้ องรฐั ก็ไม่เขา้ เป้า
จงึ จำเป็นตอ้ งมีการปรบั โครงสร้างภาษี เพื่อให้
รัฐบาลสามารถจัดเก็บรายได้ได้เพิ่ มข้ึน
รวมทงั้ การขยายฐานภาษี
“ในอดตี เราไมค่ ่อยทำเร่ืองนท้ี ำให้มี
รายจ่ายเพมิ่ ข้นึ จากการลงทนุ ซ่ึงเปน็ การลงทุน
ถ น น ห น ท าง ใ ห้ เ ก ิ ดก ารเ ชื่ อ มต่ อ กั บชนบท
ทำให้สินค้าออกสู่ตลาดได้ ขณะเดียวกัน
รายจา่ ยประจำกเ็ พ่ิมข้นึ สูงไปด้วย โดยเฉพาะ
เรื่องสวัสดกิ ารตา่ งๆ รวมท้ังปัจจุบันมเี รื่อง
การดูแลผู้สงู อายุที่ในอนาคตจะมีเพ่มิ มากขึ้น
ก็เป็นรายจ่ายของงบประมาณแผ่นดินดว้ ย
สว่ นหนึง่ "นายอาคมกลา่ ว
ดังนั้นจำเป็นต้องปรับโครงสร้างรายได้ภาษี แต่ทุกครั้งที่พูดก็จะไม่สามารถทำได้ เพราะทุกคน
ไม่ชอบกระทบตอ่ โครงสรา้ ง แตเ่ ปน็ สิ่งที่กระทรวงการคลงั ต้องทำในช่วงตอ่ ไป
อยา่ งไรกต็ าม การทำงานทผ่ี า่ นมามีการประสานกันระหวา่ งนโยบายการเงินและการคลัง ซึ่งด้านการคลงั ไม่ได้
ใช้จา่ ยเกินตัว และตงั้ งบประมาณขาดดลุ ลดลงในปีงบประมาณ 66 เปน็ การสง่ สัญญาณวา่ การขาดดลุ ยังมี แตจ่ ะตอ้ ง
ลดขนาดของการขาดดลุ ลง
ด้านนายกฤษฎา จนี ะวิจารณะ ปลดั กระทรวงการคลังกล่าววา่ ตลอด 40 ปที ่ผี ่านมา ไทยมีการทำงบประมาณ
ขาดดุลมาโดยตลอด มเี พยี งแค่ 2 คร้งั ท่ีสามารถทำงบประมาณสมดุลได้ เพราะประเทศไทยเป็นประเทศท่ีกำลงั พัฒนา
จำเป็นตอ้ งมีการลงทุนโครงสรา้ ง เพอื่ ให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต ดังนน้ั ตราบใดท่ีเปา้ หมายต้องการใหเ้ ศรษฐกิจเติบโต
ต้องมีงบลงทนุ ซง่ึ กค็ อื นโยบายงบประมาณขาดดุล
ขณะเดยี วกนั หนี้สาธารณะของไทยก็ยงั อยใู่ นระดบั ทส่ี ามารถบริหารจดั การได้ ยงั ไม่ถงึ 70% ตามกรอบเพดาน
ที่ไดข้ ยายไว้ ปัจจุบันอย่ทู ี่ 60% ต่อจดี พี ีเทา่ นั้น จึงยังมีเพดานทีส่ ามารถดำเนนิ การได้ และเงนิ คงคลังก็ไม่มีปัญหา
ปจั จุบันมีเงินคงคลงั ต้นงวดท่ี 5.8 แสนล้านบาทและคาดว่า ปลายงวดจะจัดเกบ็ รายได้ตามเปา้ หมายท่ี 2.4 ลา้ นล้านบาท
ซ่ึงจะทำใหเ้ งินคงคลังปลายงวดใกล้เคียงที่ 5 แสนกว่าล้านบาท “ชว่ งวกิ ฤตนโยบายการเงินก็ควรมาช่วยนโยบาย
การคลังในการสนบั สนนุ การฟ้นื ตัวของเศรษฐกจิ สว่ นปัจจุบันนโยบายการเงินจะตอ้ งทำอะไรเพิม่ อกี หรือไม่น้ัน
ไมข่ อพดู แต่กถ็ อื เปน็ การส่งสัญญาณเลก็ ๆไปถงึ ธปท.”นายกฤษฎากลา่ ว
ขณะทดี่ ร.อมรเทพ จาวะลา ผชู้ ว่ ยกรรมการผู้จดั การใหญผ่ ้บู รหิ ารสำนกั วิจยั และทีป่ รกึ ษาการลงทนุ ธนาคาร
ซีไอเอม็ บี ไทยกล่าวว่า ระดับหนี้สาธารณะตอ่ จดี ีพขี องไทยยงั อยู่ในกรอบ ยังสามารถทำมาตรการเยียวยาได้
แตไ่ มใ่ ชเ่ ปน็ การหวา่ นแหห่ รอื ใช้มาตรการเหมอื นปที แ่ี ล้ว แตต่ ้องใชม้ าตรการเฉพาะจดุ มากกว่า ท้งั นี้ ไม่ตอ้ งการเห็น
การตรงึ ราคาสินค้า เป็นการบดิ เบือนราคาตลาด โดยเฉพาะราคาน้ำมัน คนไทยไม่มีประสิทธภิ าพในการใช้พลังงาน
อาจนำเขา้ นำ้ มนั ต่อเน่อื งทำให้ขาดดุลบญั ชเี ดินสะพดั สงู เงนิ ก็จะไหลออกนอกประเทศยงิ่ กระทบตอ่ เสถยี รภาพ
“รฐั บาลไมใ่ ชถ่ ังแตก แตเ่ ลอื กทจ่ี ะใช้เงนิ เฉพาะจดุ และส่งิ ที่เราคาดหวัง คอื ความตอ่ เนอ่ื งของงบประมาณ
คาดว่า มาตรการทางการคลงั จะขับเคลอ่ื นและสร้างเสถียรภาพตา่ งๆหรอื รัฐอาจจะหารายได้ โดยการกระจาย
รายไดแ้ ละคอ่ ยๆปรบั ขึ้นภาษกี จ็ ะเหน็ มาตรการทางการคลังสนบั สนุนเศรษฐกิจไทย” ดร.อมรเทพกลา่ ว
ท่ีมา : หนงั สอื พมิ พ์ฐานเศรษฐกจิ