www.bangkok.go.th/fiic ISSN 2350-9759 ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 1/2559 ตุลาคม 2558-มกราคม 2559
ECONOMY VOL.31
งบประมาณ 2559 วเิ คราะหผ์ ลการจัดเกบ็ รายได้
กรงุ เทพมหานคร
พฒั นารอบด้านกรุงเทพมหานคร
ปีงบประมาณ 2558
ภาษสี รรพสามติ
รถยนต์ใหม่
รักษ์โลกเลอื กซอ้ื รถ
งดปลอ่ ยก๊าซ
จบั กระแสเมอื งหลวง
ในประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
รายจา่ ยกรงุ เทพมหานคร
ประจ�ำปงี บประมาณ 2558
www.bangkok.go.th/fiic ISSN 2350-9759 ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 1/2559 ตุลาคม 2558-มกราคม 2559 บรรณาแธถกิ ลารง
CONTENTSVOL.31 PROGRESS PROJECT 3 วารสารบางกอก ECONOMY
ฉ บั บ น้ี เ ป ็ น ฉ บั บ แ ร ก ข อ ง ป ี
งบประมาณ 2559 งบประมาณ 2559 ซ่ึงเป็นปีท่ี
พัฒนารอบด้าน กรุงเทพมหานคร ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ในขณะที่
คลังบางกอก 8 สภาวะเศรษฐกจิ ประเทศไทยอยใู่ น
สภาวะชะลอตวั การบรโิ ภคภายใน
วเิ คราะหผ์ ลการจัดเก็บรายได้ ประเทศไม่เกิดการขยายตัว รัฐบาลจึงมีนโยบายการใช้จ่าย
กรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2558 เงนิ ในโครงการใหญๆ่ ทม่ี มี ลู คา่ มาก เพอื่ ผลกั ดนั ใหม้ กี ระแสเงนิ
ไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งกรุงเทพมหานครมีส่วนร่วม
สาระภาษี 12 ในการขบั เคลอ่ื นนโยบายดงั กลา่ วดว้ ย โดยจดั สรรงบประมาณ
ดำ� เนนิ การในการกอ่ สรา้ งปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพนื้ ฐานขนาดใหญ่
ภาษีสรรพสามติ รถยนต์ใหม่ เชน่ โครงการกอ่ สรา้ งปรบั ปรงุ ถนนรามคำ� แหงถงึ ถนนศรนี ครนิ ทร์
รกั ษ์โลกเลือกซ้ือรถ งดปลอ่ ยกา๊ ซ โครงการสรา้ งแนวปอ้ งกนั นำ้� ทว่ มรมิ แมน่ ำ้� เจา้ พระยา โครงการ
ก่อสร้างสวนสาธารณะล�ำบึงพระยา รวมถึงโครงการก่อสร้าง
บางกอกบอกให้ร ู้ 14 ปรับปรุงในพ้ืนที่เขตต่างๆ ทั่วกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รวบรวม
รายละเอียดส�ำหรับผู้อ่านท่ีสนใจ สามารถติดตามได้ใน
จับกระแสเมืองหลวง Progress Project
ในประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ในส่วนของภาคประชาชนท่ีจะต้องด�ำเนินชีวิต
ในท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจอย่างที่เป็นอยู่และโอกาส
เศรษฐกิจบางกอก 16 ในการประกอบอาชพี อย่างไร้พรมแดนของประชาคมอาเซียน
บางกอก ECONOMY ฉบบั น้ี มขี อ้ มลู ทางเลอื กชอ่ งทางทำ� กนิ
ธรุ กิจสขุ ภาพฉบับ Bangkok อยา่ งยงั่ ยนื ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ภาษที เ่ี ราทกุ คนควรศกึ ษาทำ� ความ
เข้าใจและอื่นๆ อีกมากมายที่ล้วนแต่เป็นประโยชน์แก่
บางกอกทันการณ์ 18 ทา่ นผอู้ ่านท้ังส้ิน
กทม. สร้างแกนน�ำดูแลผปู้ ว่ ยติดเตียง นางสาวนติ ยา อัศวนิ านนท์
และผู้สูงอายใุ กล้บ้าน บรรณาธิการ
REPORT จัดท�ำโดย
สำ� นกั งานเศรษฐกิจการคลงั สำ� นักการคลงั กรุงเทพมหานคร
รายจา่ ยกรงุ เทพมหานคร ประจ�ำปงี บประมาณ 2558
โทร. 0 2224 1916 โทรสาร. 0 2225 1945
รอบร้วั บางกอก 22 จัดทำ� ต้นฉบับ ถ่ายภาพ ออกแบบและพมิ พ์
ม.ร.ว.สขุ มุ พันธุ์ บรพิ ัตร บรษิ ัท พเี พลิ มีเดยี กรุ๊ป จำ� กดั
จัดตลาดกลางกรุง กระตนุ้ เศรษฐกิจกรุงเทพมหานคร
คณะผ้จู ดั ท�ำ วารสารบางกอก ECONOMY
นายพีระพงษ์ สายเชอ้ื
ปลัดกรุงเทพมหานคร | ประธานกรรมการทป่ี รึกษา
นางรชั นีวรรณ อศั วธติ านนท์
รองปลัดกรุงเทพมหานคร | กรรมการท่ีปรกึ ษา
นายกฤษฎา ศิรพิ ิบลู ย์
ผู้อำ� นวยการส�ำนักการคลงั | กรรมการทีป่ รึกษา
นางสาวสริ กิ านต์ พงษจ์ ันทร์
รองผ้อู ำ� นวยการสำ� นกั การคลัง | กรรมการท่ปี รกึ ษา
นางสาวนิตยา อัศวนิ านนท์
ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั งานเศรษฐกจิ การคลัง | กรรมการและบรรณาธกิ าร
PROGRESS PROJECT
งบประมาณ 2559
พัฒนารอบด้าน กรงุ เทพมหานคร
เปน็ ทที่ ราบกนั ดอี ยแู่ ลว้ วา่ การจดั ทำ� งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี กรงุ เทพมหานคร กเ็ พอื่ ใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู
ชแ้ี จงถงึ งบประมาณรายจา่ ยทกี่ รงุ เทพมหานครไดน้ ำ� ไปจดั สรรใหแ้ กห่ นว่ ยงานในพนื้ ทใี่ หน้ ำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
กับโครงการต่างๆ ท่ีมุ่งเน้นที่จะบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขตลอดจนแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน
ในพนื้ ทกี่ รุงเทพมหานคร
3ECONOMY
Progress Project ฉบับน้ี จึงจะขอน�ำข้อมูลส่วนหนึ่งจาก ด้านการโยธาและระบบจราจร 12,415,062,000 บาท ด้านการระบายน้�ำ
สาระส�ำคัญของการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี พ.ศ. 2559 และบ�ำบัดน้�ำเสีย 9,135,334,762 บาท ด้านการพัฒนาและบริการสังคม
กรุงเทพมหานคร มาใหผ้ ูอ้ ่านทกุ ทา่ นไดศ้ กึ ษากนั 7,109,940,700 บาท ดา้ นการสาธารณสขุ ตามอำ� นาจหนา้ ท่ี 5,199,125,000
บาท และด้านการศึกษา 5,339,825,700 บาท รวม 70,000,000,000 บาท
แต่ก่อนอ่ืนต้องให้ผู้อ่านได้ทราบก่อนว่า การจะท�ำงบประมาณ
รายจ่ายประจ�ำปี พ.ศ. 2559 น้ัน จะต้องมีวงเงินของการประมาณการ งบประมาณรายจา่ ยโครงการต่อเนื่อง ปงี บประมาณ
รายรับเปน็ ตวั ก�ำหนดวงเงนิ ของงบประมาณรายจา่ ย ซ่ึงส�ำหรับ พ.ศ. 2559 2559-2563
กรุงเทพมหานครได้ประมาณการรายรับเป็นเงินท้ังส้ิน 70,700,074,700
บาท ซ่ึงตัวเลขดังกล่าวจ�ำแนกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ประมาณการรายรับ การจำ� แนกตวั เลข เมอื่ ศกึ ษาลกึ ลงไปเปน็ รายจา่ ยโครงการตอ่ เนอื่ ง
ของกรุงเทพมหานครที่เป็นรายได้ประจ�ำ 70,000,000,000 บาท และ ปีงบประมาณ 2559-2563 ท่ีจัดสรรให้แก่ส�ำนักฯ ต่างๆ จะพบว่าเม็ดเงิน
ประมาณการรายรับของการพาณิชย์กรุงเทพมหานครท่ีเป็นรายได้ประจ�ำ ทุกบาทได้ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์แก่คนกรุงเทพมหานครครอบคลุมทุกด้าน
514,642,700 บาท และรายไดพ้ ิเศษ 185,432,000 บาท รวมทงั้ สิ้นถงึ 320 โครงการท่ัวกรุงเทพมหานคร ผู้อ่านลองส�ำรวจดวู ่าอยู่ใน
พ้ืนทีใ่ ดตอ่ ไปนบี้ ้าง ไดแ้ ก่
งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี พ.ศ. 2559
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กรุงเทพมหานครได้ต้ังงบประมาณ
รายจา่ ยไวจ้ ำ� นวน 70,424,838,000 บาท รายจา่ ยประจำ� 70,000,000,000
บาท และงบประมาณการรายจ่ายของการพาณิชย์ของกรุงเทพมหานคร
ทเ่ี ปน็ รายจา่ ยประจำ� 239,406,000 บาท และรายจา่ ยพเิ ศษ 185,432,000 บาท
จากตัวเลขงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
จะเห็นแล้วว่ากรุงเทพมหานครในปีน้ีได้จัดสรรรายจ่ายประจ�ำไว้ถึง
70,000,000,000 บาท โดยเงินจ�ำนวนนี้จะถูกน�ำไปใช้ส�ำหรับพัฒนา
คุณภาพชีวิตของคนกรุงเทพมหานครทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหาร
ท่ัวไป เป็นจ�ำนวนเงิน 17,711,177,438 บาท ด้านการรักษาความสะอาด
และความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นจ�ำนวนเงิน 13,089,534,400 บาท
4 ECONOMY
ส�ำนกั การแพทย์ สำ� นักการระบายน้ำ�
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการศูนย์บริการ แผนสาขาสิ่งแวดล้อม : โครงการก่อสร้างแนวป้องกันน้�ำท่วม
การแพทย์ฉุกเฉินเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองใน ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ช่วงจากวัดม่วงแคถึงสถานีสูบน้�ำข้างหมู่บ้านภักดี
โอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554 โครงการก่อสร้างแก้มลิงสวนน�้ำเสรีไทย ช่วงคลองระหัสถึงคลองครุ และ
สำ� นักการศึกษา โครงการอืน่ ๆ นับรวมแลว้ มากถึง 72 โครงการท่ัวพ้ืนทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการก่อสร้างอาคาร ส�ำนักการจราจรและขนสง่
บา้ นพกั โครงการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบโรงเรยี น โครงการ แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
ก่อสร้างอาคารเรียน 5 ชั้น และโครงการอ่ืนๆ นับรวมแล้วมากถึง 29 บรหิ ารจดั การการใหบ้ รกิ ารรถโดยสารประจำ� ทางดว่ นพเิ ศษ (BRT) โครงการ
โครงการทั่วพน้ื ที่ความรับผดิ ชอบ บรหิ ารจดั การระบบขนสง่ มวลชนกรงุ เทพมหานคร โครงการกอ่ สรา้ งทางเดนิ
แผนสาขาการบริหารและการปกครอง : โครงการก่อสร้าง ยกระดับ (Sky Walk) ลานจอดรถแลว้ จร (Park & Ride) และโครงการอ่นื ๆ
อาคารเรียน 8 ช้ัน โรงเรียนวัดประดู่ธรรมาธิปัตย์ ส�ำนักงานเขตบางซ่ือ นับรวมแลว้ มากถึง 13 โครงการทั่วพน้ื ทค่ี วามรับผิดชอบ
โครงการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบ พรอ้ มปรบั ปรงุ อาคารเรยี นเดมิ สำ� นักป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
โรงเรยี นวดั ดวงแข สำ� นักงานเขตปทมุ วัน แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการจัดหารถ
สำ� นกั การโยธา ศูนย์บัญชาการส่ือสารเคล่ือนที่ โครงการจัดหารถกู้ภัยขนาดเล็ก และ
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ โครงการอ่นื ๆ นบั รวมแล้วมากถึง 6 โครงการท่วั พื้นทคี่ วามรบั ผิดชอบ
ก่อสร้างปรับปรุงถนนรามค�ำแหงถึงถนนศรีนครินทร์ โครงการเชื่อมถนน ส�ำนักสิง่ แวดล้อม
โรงพยาบาลผสู้ งู อายบุ างขนุ เทยี น โครงการกอ่ สรา้ งปรบั ปรงุ ถนนรามคำ� แหง แผนสาขาสิ่งแวดล้อม : โครงการจ้างเหมาเอกชนก�ำจัดมูลฝอย
ถงึ ถนนศรนี ครนิ ทร์ (ผา่ นซอยรามคำ� แหง 24) และโครงการอนื่ ๆ นบั รวมแลว้ โดยระบบเตาเผามลู ฝอยขนาด 300 ตนั ตอ่ วนั ทศี่ นู ยก์ ำ� จดั มลู ฝอยหนองแขม
มากถงึ 33 โครงการทั่วพ้นื ท่ีความรับผิดชอบ โครงการจัดหารถเก็บขนมูลฝอยพ้ืนท่ีฝั่งสายไหม โครงการก่อสร้าง
แผนสาขาการบริหารและการปกครอง : โครงการก่อสร้างศาลา สวนสาธารณะล�ำบึงพระยา และโครงการอ่ืนๆ นับรวมแล้วมากถึง 41
ว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง (ระยะที่ 4) โครงการติดต้ังระบบความ โครงการทั่วพ้นื ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
ปลอดภยั และระบบควบคมุ อาคารอตั โนมตั ิ ศาลาวา่ การกรงุ เทพมหานคร 2
ดนิ แดง (ระยะที่ 3) นบั รวมแลว้ มากถงึ 4 โครงการทวั่ พนื้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
5ECONOMY
สำ� นักวฒั นธรรม กีฬา และการท่องเท่ียว สำ� นักงานเขตบางขนุ เทยี น
แผนสาขาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละสงั คม : โครงการกอ่ สรา้ งศนู ยเ์ ยาวชน แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
มีนบุรี โครงการกอ่ สร้างอาคารเสริมศนู ยเ์ ยาวชนลาดกระบงั ปรบั ปรงุ ซอยแยกซอยสะแกงาม 14 (ชมุ ชนศกั ดม์ิ งคลชยั ) จากซอยสะแกงาม
ส�ำนกั งานเขตยานนาวา 14 ถงึ จดุ ทก่ี ำ� หนดให้ แขวงแสมดำ� โครงการปรบั ปรงุ ซอยอนามยั งามเจรญิ 25
แผนสาขาสิ่งแวดล้อม : โครงการก่อสร้างเขื่อน ค.ส.ล. คลองวัด จากสะพานนาค-จรญู ถึงล�ำรางสาธารณะ แขวงท่าข้าม
ปริวาส จากซอยสาธุประดิษฐ์ 57 ถึงสุดระยะทีก่ �ำหนดให้ สำ� นักงานเขตลาดพรา้ ว
สำ� นักงานเขตบางเขน แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ ปรบั ปรงุ ซอยโชคชยั 4 ซอย 54 แยก 6 และซอยแยกยอ่ ย (หมบู่ า้ น ต.รวมโชค)
ปรับปรุงซอยรามอินทรา 5 จากศาลเจ้าพ่อเสือถึงถนนพหลโยธิน-ถนน จากที่ปรับปรงุ แลว้ ถึงสุดระยะที่กำ� หนด
รตั นโกสินทร์สมโภช ส�ำนกั งานเขตบงึ กุ่ม
สำ� นักงานเขตมนี บรุ ี แผนสาขาสงิ่ แวดลอ้ ม : โครงการกอ่ สรา้ งเขอื่ น ค.ส.ล. ดาดทอ้ งคลอง
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ คลองชวดดว้ น จากถนนรามอนิ ทราถงึ คลองบางขวด โครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื น
ปรับปรุงซอยหม่บู า้ นบวั ขาวฝัง่ นอก ค.ส.ล. ดาดทอ้ งคลอง คลองหลวงวจิ ติ ร จากคลองชวดดว้ นถงึ คลองลำ� ชะลา่
สำ� นกั งานเขตบางกอกน้อย โครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื น ค.ส.ล. ดาดทอ้ งคลอง ลำ� รางหนองยายจนี จากถนน
แผนสาขาการบริหารและการปกครอง : โครงการก่อสร้างอาคาร ประเสริฐมนกู ิจถึงโรงเรียนเบญจมินทร์
สำ� นักงานเขตบางกอกน้อย สำ� นักงานเขตประเวศ
ส�ำนกั งานเขตหนองแขม แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ ปรับปรุงผิวจราจรและท่อระบายน้�ำถนนรามค�ำแหง 2 แยกซอยสถานี
ปรับปรุงถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ ซอย 6/2 จากถนนเลียบคลอง ตำ� รวจนครบาลอุดมสขุ
ภาษีเจริญฝั่งเหนือถึงบ้านเลขที่ 7/166 นับรวมแล้วมากถึง 4 โครงการ สำ� นกั งานเขตบางพลัด
ทว่ั พน้ื ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ แผนสาขาสง่ิ แวดลอ้ ม : โครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื น ค.ส.ล. (ดาดทอ้ งคลอง)
คลองมอญ (จากถนนจรัญสนทิ วงศถ์ ึงจดุ ทกี่ �ำหนดให้)
ส�ำนักงานเขตสวนหลวง
แผนสาขาการบริหารและการปกครอง : โครงการก่อสร้างอาคาร
อเนกประสงค์
สำ� นกั งานเขตบางแค
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
ปรบั ปรงุ ซอย 001 กาญจนาภเิ ษก 008 แยก 2 (หมบู่ า้ นสชิ ล) จากซอย 001
กาญจนาภเิ ษก 008 ถึงคลองหนองใหญ่
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการก่อสร้างอาคาร
อเนกประสงค์ 3 ชัน้ โรงเรยี นบางเชือกหนงั
สำ� นกั งานเขตสายไหม
แผนสาขาสิ่งแวดล้อม : โครงการก่อสร้างเข่ือน ค.ส.ล. คลอง
พระยาสุเรนทร์คลองหกวาและคลองสอง จากถนนสายไหมถึงสุดระยะ
ทก่ี �ำหนด
สำ� นกั งานเขตคนั นายาว
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ
ปรบั ปรงุ ซอยรามอินทรา 44 ช่วงปลายและซอยแยก 4, 6, 8, 10 และ 12
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการก่อสร้างบ้าน
พักอาศัย 3 ช้นั โรงเรียนคันนายาว
สำ� นกั งานเขตวังทองหลาง
แผนสาขาการบริหารและการปกครอง : โครงการก่อสร้างอาคาร
สำ� นักงานเขตวังทองหลาง
6 ECONOMY
ส�ำนกั งานเขตบางบอน ไมเ่ พียงเท่านี้ กรุงเทพมหานครไดร้ บั งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี
แผนสาขาการจราจร การขนส่ง และสาธารณูปโภค : โครงการ พ.ศ. 2559 เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาลจำ� นวนเงนิ 16,510.4 ลา้ นบาท เพอื่ นำ� มาใช้
ปรับปรุงซอยเอกชัย 83/1 จากถนนเอกชัยถึงทางรถไฟสายวงเวียนใหญ่- ส�ำหรบั เดินตามเป้าหมายพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ น อาทิ
มหาชัย
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการก่อสร้างและ • เพ่ือใหน้ ักเรยี นในโรงเรียนสังกัดกรงุ เทพมหานครทุกคนมีโอกาส
ปรับปรงุ โรงเรียนพระยามนธาตรุ าชศรีพจิ ิตร์ ไดร้ บั การศกึ ษาโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยและเปน็ ไปตามนโยบายรฐั บาลทจ่ี ดั การ
มหาวิทยาลัยนวมินทราธริ าช ศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานเรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน ฯลฯ
แผนสาขาทรัพยากรมนุษย์และสังคม : โครงการก่อสร้างอาคาร
หอพักพยาบาล วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข
โครงการการอนุรักษ์อาคารวชิรานสุ รณ์ (ตึกเหลือง) วทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ ประจ�ำหมู่บา้ น ฯลฯ
กรงุ เทพมหานครและวชริ พยาบาล โครงการกอ่ สรา้ งอาคารเวชภณั ฑก์ ลาง
วทิ ยาลัยแพทยศาสตร์กรงุ เทพมหานครและวชิรพยาบาล • เพ่ือสร้างหลักประกันรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุที่มีอายุต้ังแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อย่างท่ัวถงึ และเป็นธรรม ฯลฯ
• เพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นสวสั ดกิ าร
ทางสงั คมให้แกผ่ พู้ ิการหรือทุพพลภาพ ฯลฯ
• เพื่อช่วยเหลือ ฟื้นฟู และพัฒนาผู้เสพติดและผู้ค้าท่ีผ่าน
กระบวนการปรบั เปลย่ี นทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรม ไมใ่ หก้ ลบั ไปกระทำ� ผดิ ซำ้� ฯลฯ
• เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการคมนาคมขนสง่ ทางบกและทางนำ�้ ฯลฯ
• เพอ่ื พฒั นาการใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นและประชาชนดว้ ย
การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ ฯลฯ
• เพ่ือแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม เช่น ปัญหาน�้ำเน่าเสียของแม่น้�ำ
เจา้ พระยาและคลองต่างๆ ฯลฯ
• เพื่อสงเคราะห์สนับสนุนผู้ด้อยโอกาสในสังคมเมือง ได้แก่ เด็ก
คนพกิ าร และคนชรา อย่างเท่าเทยี มกนั ฯลฯ
ท้ายน้ีผู้อ่านท่านใดต้องการสาระส�ำคัญของงบประมาณ
รายจ่ายประจ�ำปี พ.ศ. 2559 สามารถติดต่อขอข้อมูลได้ท่ีส�ำนัก
งบประมาณกรุงเทพมหานคร www.bangkok.go.th/budd
7ECONOMY
คลงั บางกอก
วเิ คราะห์
ผลการจดั เกบ็ รายได้
กรงุ เทพมหานคร ปงี บประมาณ 2558
ผลการจัดเกบ็ รายไดป้ งี บประมาณ 2558 อันมีผลจากการใช้ราคาปานกลางของท่ีดินปี 2521-2524 เป็นฐานภาษี
ในการค�ำนวณภาษีบ�ำรุงท้องท่ี รวมทั้งมีการลดหย่อนและยกเว้นภาษี
กรุงเทพมหานครสามารถจัดเก็บรายได้จริงทั้งสิ้น 69,245.75 หลายประการ ทำ� ใหก้ รงุ เทพมหานครมอี ตั ราการขยายตวั ของรายไดจ้ ากภาษี
ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ จากปงี บประมาณ 2557 (รายไดท้ ง้ั สนิ้ 66,658.87 ลา้ นบาท) บ�ำรุงท้องท่ีเพิ่มข้ึนในอัตราที่ลดลง โดยปีงบประมาณ 2556 อัตราการ
เป็นเงิน 2,586.88 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.88 และเมื่อเปรียบเทียบกับ ขยายตัวของการจัดเก็บภาษีบ�ำรุงท้องท่ีเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.67 และลดลง
ประมาณการ สามารถจดั เกบ็ ไดส้ งู กวา่ ประมาณการทต่ี ง้ั ไวเ้ ปน็ เงนิ 4,245.75 รอ้ ยละ 0.23 และ 0.35 ในปงี บประมาณ 2557 และในปงี บประมาณ 2558
ลา้ นบาท (ประมาณการรายรบั ปี 2558 65,000 ลา้ นบาท) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.53 ตามลำ� ดบั
ท้ังนี้ การจัดเก็บรายได้ที่เพิ่มขึ้นเป็นผลจากกรุงเทพมหานครจัดเก็บรายได้
เบ็ดเตล็ด ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้ายท่ีเพ่ิมข้ึน และได้รับจัดสรร (2) ภาษโี รงเรอื นและทดี่ นิ จดั เกบ็ ได้ 11,514.12 ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสุรา ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีและค่าจดทะเบียนสิทธิ 440.51 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 3.98 สงู กวา่ ประมาณการ 1,514.12 ลา้ นบาท
และนติ กิ รรม ในจำ� นวนทเ่ี พมิ่ ขนึ้ จากปที แี่ ลว้ และสงู กวา่ ประมาณการ ซงึ่ หาก หรือรอ้ ยละ 15.14 การเพมิ่ ขนึ้ ของการจัดเกบ็ ภาษอี ยู่ในช่วงไตรมาสที่สอง
แยกพิจารณาในรายละเอียดผลการจัดเก็บจริงปี 2558 เปรียบเทียบกับ และไตรมาสทส่ี ามท่ีเปน็ ชว่ งของการรับชำ� ระภาษี ซ่ึงหากกรงุ เทพมหานคร
ผลการจดั เกบ็ จรงิ ในปี 2557 และประมาณการรายรบั ปี 2558 จะประกอบดว้ ย มกี ารเรง่ รดั ตรวจสอบตดิ ตามผเู้ สยี ภาษรี ายใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ กส็ ามารถทจี่ ะทำ� ให้
มยี อดรายได้ภาษโี รงเรือนและท่ดี นิ เพม่ิ มากข้นึ ได้
1. รายไดท้ กี่ รงุ เทพมหานครจดั เกบ็ เอง จำ� นวน 16,956.54 ลา้ นบาท
สงู กวา่ ประมาณการทต่ี ั้งไว้ คิดเปน็ 3,271.54 ลา้ นบาท หรอื ร้อยละ 23.91 (3) ภาษปี า้ ย จดั เกบ็ ได้ 800.77 ลา้ นบาท เพม่ิ ขนึ้ 27.00 ลา้ นบาท
และเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2557 จ�ำนวน 1,447.88 ล้านบาท หรือ หรือร้อยละ 3.49 สูงกว่าประมาณการ 85.77 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.00
รอ้ ยละ 9.34 สว่ นทเี่ พม่ิ ขน้ึ มาจากการจดั เกบ็ ภาษโี รงเรอื นและทด่ี นิ ภาษปี า้ ย เป็นผลมาจากการด�ำเนินโครงการก�ำหนดเลขรหัสประจ�ำป้ายท่ีสามารถ
รายได้จากค่าธรรมเนยี มฯ และรายได้เบ็ดเตล็ดท่ปี รบั ตวั เพม่ิ ข้นึ ตรวจสอบป้ายท่ีเสียภาษีแล้วในระบบคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง ซ่ึงท�ำให้
การตรวจสอบสถานะการช�ำระภาษีป้ายเป็นไปอย่างมีระบบและท�ำให้
1.1 รายได้จากภาษีอากร จัดเก็บได้รวม 12,447.98 ล้านบาท ยอดการจดั เกบ็ ภาษีป้ายเพม่ิ ขน้ึ และเปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ
ขยายตวั เพมิ่ ขนึ้ จากปงี บประมาณ 2557 คดิ เปน็ 467.83 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ
3.91 ทั้งนี้ เพ่ิมข้ึนจากปีที่ผ่านมา เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและ
ท่ีดิน ภาษีบ�ำรุงท้องที่ และภาษีป้าย เม่ือเปรียบเทียบกับประมาณการ
สามารถจดั เกบ็ ภาษไี ดส้ งู กวา่ ประมาณการทตี่ ง้ั ไว้ คดิ เปน็ 1,600.18 ลา้ นบาท
หรอื รอ้ ยละ 14.75 โดยผลการจดั เกบ็ ภาษอี ากร 4 ประเภททกี่ รงุ เทพมหานคร
จัดเกบ็ เอง ดงั น้ี
(1) ภาษีบ�ำรุงท้องท่ี จัดเก็บได้ 130.65 ล้านบาท เพิ่มข้ึน
458,878.52 บาท หรอื ร้อยละ 0.35 สงู กวา่ ประมาณการ 649,454.52 บาท
หรอื รอ้ ยละ 0.50 เพม่ิ ขนึ้ จากปที ผ่ี า่ นมาและสงู กวา่ ประมาณการไมม่ ากนกั
8 ECONOMY
(4) อากรฆา่ สตั ว์ จดั เกบ็ ไดร้ วม 2.44 ลา้ นบาท ลดลง 0.14 ลา้ นบาท 1.4 รายได้จากการสาธารณูปโภค การพาณิชย์ และกิจกรรม
หรอื รอ้ ยละ 5.58 และตำ�่ กวา่ ประมาณการทตี่ งั้ ไว้ คดิ เปน็ 0.36 ลา้ นบาท หรอื อื่นๆ เปน็ รายได้ที่การพาณชิ ยข์ องกรุงเทพมหานคร (สถานธนานุบาลของ
ร้อยละ 12.97 ซึ่งการจัดเก็บท่ีลดลงจากประมาณการที่ต้ังไว้เป็นผลจาก กรงุ เทพมหานคร สำ� นกั งานตลาดกรงุ เทพมหานคร) จดั สรรนำ� สง่ รายไดใ้ หก้ บั
การขออนญุ าตฆา่ สตั วใ์ นแตล่ ะพน้ื ทล่ี ดจำ� นวนลงตามการลดลงของกำ� ลงั ซอื้ กรุงเทพมหานคร โดยสถานธนานุบาลฯ และส�ำนักงานตลาดฯ สามารถ
จากผู้บรโิ ภค และอาจมีการขออนญุ าตฆ่าสตั ว์ในพนื้ ทใี่ กลเ้ คียงทเี่ พ่มิ ขนึ้ จัดสรรน�ำส่งรายได้รวม 61.38 ล้านบาท ลดลง 28.17 ล้านบาท หรือ
รอ้ ยละ 31.45 และในสว่ นของสำ� นกั งานตลาดกรงุ เทพมหานครไมส่ ามารถ
1.2 คา่ ธรรมเนยี ม คา่ ใบอนญุ าต คา่ ปรบั และคา่ บรกิ าร จดั เกบ็ ได้ ดำ� เนนิ การพจิ ารณาจดั สง่ รายไดไ้ ดท้ นั ภายในปงี บประมาณ 2558 เนอ่ื งจาก
รวม 1,151.39 ล้านบาท เพมิ่ ข้ึน 65.15 ลา้ นบาท หรือรอ้ ยละ 6.00 สงู กวา่ ผลประกอบการของสำ� นกั งานตลาดฯ ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ ทำ� ให้
ประมาณการ 71.39 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.61 เน่ืองจากการจัดเก็บ รวมการจัดเก็บรายได้จากการพาณิชย์ 61.38 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน
ค่าธรรมเนยี มคาดวา่ จะมยี อดการจัดเก็บท่ีไม่สูงจากปีทผี่ า่ นมา เพราะไมม่ ี ร้อยละ 83.86 จากประมาณการท่ีต้ังไว้ ท้ังนี้ การน�ำส่งรายได้ของสถาน
ยอดรายได้จากค่าบริการระบบขนส่งมวลชนของกทม. (BTS) น�ำส่งรายได้ ธนานบุ าลฯ ทล่ี ดลงจากปีท่ีผ่านมาและตำ�่ กวา่ ประมาณการทตี่ ั้งไว้ เปน็ ผล
เข้ากรุงเทพมหานคร ประกอบกับการจัดเก็บรายการค่าธรรมเนียมหลาย จากผลกำ� ไรของสถานธนานบุ าลฯ และสำ� นกั งานตลาดของกรงุ เทพมหานคร
รายการจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นค่อนข้างน้อย เช่น ค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอย ที่ได้รับผลกระทบจากการลดลงของราคาทองคำ� ท�ำให้ไม่สามารถหากำ� ไร
ค่าปรับผู้ละเมิดกฎหมาย และค่าธรรมเนียมตามกฎหมายควบคุมอาคาร จากทรพั ยห์ ลดุ จำ� นำ� ไดม้ ากนกั ประกอบกบั มกี ารนำ� สง่ กำ� ไรเพยี งรอ้ ยละ 18
เพิ่มข้ึนร้อยละ 2.76, 18.89 และ 0.12 ตามล�ำดับ ในขณะที่ค่าบริการ ตามระเบยี บกรงุ เทพมหานครวา่ ดว้ ยการเงนิ การสง่ และการแบง่ ผลกำ� ไรสทุ ธิ
รถโดยสารประจำ� ทางดว่ นพเิ ศษ (BRT) จดั เกบ็ ไดเ้ พมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 6.00 เปน็ ตน้ ของการพาณชิ ย์ของกรงุ เทพมหานคร (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2554
ท�ำให้ภาพรวมรายได้จากค่าธรรมเนียมของกรุงเทพมหานครมีจ�ำนวนที่
เพมิ่ ขน้ึ คอ่ นขา้ งนอ้ ย กรงุ เทพมหานครจะตอ้ งพฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารแก่ 1.5 รายได้เบ็ดเตล็ด จัดเก็บได้รวม 2,454.34 ล้านบาท เพ่ิมข้ึน
ประชาชน และปรบั ปรงุ กฎหมายขอ้ บัญญตั กิ ารจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมต่างๆ 1,156.37 ล้านบาท หรือร้อยละ 89.08 และสูงกว่าประมาณการที่ต้ังไว้
ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัย ก็สามารถที่จะท�ำให้มีรายได้ในแต่ละประเภท คดิ เปน็ 1,525.34 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 164.19 เปน็ ผลจากในปงี บประมาณ
เพิม่ มากข้นึ 2558 กรุงเทพมหานครมีเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืนและค่าเบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ
สง่ เปน็ รายไดก้ รุงเทพมหานครคอ่ นข้างสูง
1.3 รายได้จากทรพั ย์สิน จัดเกบ็ ได้รวม 841.44 ล้านบาท ลดลง
211.72 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.10 และสูงกว่าประมาณการ 86.44 2. รายไดท้ ่ีส่วนราชการอื่นจัดเกบ็ ให้
ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 11.45 ทงั้ น้ี รายไดจ้ ากทรพั ยส์ นิ ทสี่ งู กวา่ ประมาณการ รวมท้ังส้ินจ�ำนวน 52,289.21 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณ
เป็นผลจากการก�ำหนดยอดประมาณการจัดเก็บท่ีไม่สูงมากนัก และยังมี 2557 คดิ เปน็ 1,139.00 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 2.23 และสงู กวา่ ประมาณการ
รายได้ท่ีลดลงจากปีที่ผ่านมา เป็นผลจากยอดรายการค่าดอกเบ้ียเงินฝาก 974.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.90 ซึ่งเป็นผลจากการจัดเก็บภาษีจาก
ธนาคารฯ และค่าเช่าอาคารสถานท่ีที่ลดลงจากปีท่ีผ่านมา คิดเป็นมูลค่า กรมที่ดินและกรมสรรพากรท่ีจัดเก็บได้เพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษี
147.72 และ 58.59 ล้านบาท หรือคิดเปน็ ร้อยละ 23.36 และ 14.51 มูลคา่ เพมิ่ ภาษีและค่าจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ ิกรรม และภาษสี รรพสามติ
9ECONOMY
ซงึ่ หากแยกพจิ ารณาในรายละเอยี ดผลการจดั เกบ็ จรงิ ในปี 2558 เปรยี บเทยี บ 2.3 ภาษีสุรา เป็นภาษีที่กรมสรรพสามิตจัดเก็บให้และจัดสรร
กบั ผลการจัดเกบ็ จริงในปี 2557 และประมาณการรายรบั ปี 2558 ดังน้ี รายไดต้ ามสดั สว่ นจำ� นวนประชากรตามหลกั ฐานทะเบยี นราษฎร์ ซง่ึ กระทรวง
มหาดไทยน�ำรายได้ท้ังหมดค�ำนวณร่วมกับประชากรแต่ละท้องถ่ิน
2.1 ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ เปน็ ภาษที กี่ รมสรรพากรจดั เกบ็ ใหแ้ ละจดั สรร รวม 1,198.72 ลา้ นบาท ขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ 134.88 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 12.68
ตามสัดส่วนของเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีจัดเก็บได้ในเขตกรุงเทพมหานคร และสงู กวา่ ประมาณ 198.72 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 19.87 โดยภาษสี รุ าเปน็
ในปีงบประมาณก่อนปีงบประมาณท่ีล่วงมาแล้ว ตามพระราชบัญญัติ รายไดส้ ำ� คญั ของกรมสรรพสามติ สามารถจดั สรรสง่ รายไดใ้ หก้ รงุ เทพมหานคร
จัดสรรรายได้ให้ท้องถ่ิน พ.ศ. 2534 และพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและ เข้าในทุกช่วงไตรมาส และเป็นการจัดสรรรายได้ตามจ�ำนวนประชากร
ข้ันตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 จงึ ทำ� ใหร้ ายไดท้ จี่ ดั สรรใหก้ บั กรงุ เทพมหานครยงั คงเพม่ิ ขนึ้ และเปน็ ไปตาม
โดยในปงี บประมาณ 2558 กรงุ เทพมหานครมรี ายไดจ้ ากภาษมี ลู คา่ เพม่ิ รวม ประมาณการทตี่ ัง้ ไว้
24,290.42 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ 2557 คิดเป็น 1,115.15
ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 4.81 และสงู กวา่ ประมาณการ 490.42 ลา้ นบาท หรอื 2.4 ภาษกี ารพนนั เปน็ ภาษที ส่ี มาคมราชกรฑี าสโมสร ราชตฤณมยั
รอ้ ยละ 2.06 เปน็ ผลจากอปุ สงคเ์ พอ่ื การบรโิ ภคและการลงทนุ ภายในประเทศ สมาคม จ่ายให้ในอัตราร้อยละสองครึ่งของภาษีท่ีจะต้องเสียให้แก่รัฐบาล
ที่ยังคงฟื้นตัวและทรงตัวในช่วงบางเดือน ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่มี เฉพาะทจ่ี ดั เกบ็ ไดใ้ นเขตกรงุ เทพมหานคร รวม 26.40 ลา้ นบาท เพม่ิ ขนึ้ จาก
การเติบโตอย่างชา้ ๆ ปงี บประมาณ 2557 คดิ เปน็ 4.19 ลา้ นบาท หรอื ร้อยละ 18.88 และต�่ำกว่า
ประมาณการ 23.60 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.19 ส่วนหน่ึงมีผลมาจาก
2.2 ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเล่ือน เป็นภาษี การเลือกบริโภคสินค้าที่จ�ำเป็นมากขึ้นของผู้บริโภคตามภาวะเศรษฐกิจ
ท่ีกรมการขนส่งทางบกจัดเก็บให้และจัดสรรรายได้ที่จัดเก็บได้ในเขต ทช่ี ะลอตวั จงึ ทำ� ใหภ้ าพรวมยอดการนำ� สง่ ภาษกี ารพนนั ลดลงจากปที ผี่ า่ นมา
กรุงเทพมหานครน�ำส่งกรุงเทพมหานครทั้งหมด รวมจ�ำนวน 10,260.12 และต่�ำกว่าประมาณการค่อนขา้ งมาก
ลา้ นบาท ลดลง 1,998.17 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 16.30 และตำ่� กวา่ ประมาณการ
1,339.88 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.55 เป็นผลจากผู้บริโภคยังคงมีความ 2.5 ภาษีสรรพสามิต เป็นภาษีที่กรมสรรพสามิตจัดเก็บให้และ
ระมดั ระวงั ในการใชจ้ า่ ย ทำ� ใหอ้ ปุ สงคเ์ พอ่ื การบรโิ ภคในประเทศอยใู่ นระดบั ตำ�่ จัดสรรรายได้ตามสัดส่วนจ�ำนวนประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร์
โดยเฉพาะหมวดสนิ คา้ คงทน (รถยนต์) และอุปสงค์รถยนตภ์ ายในประเทศ ซึ่งกระทรวงมหาดไทยน�ำรายได้ทั้งหมดค�ำนวณร่วมกับประชากรแต่ละ
ทย่ี งั ไมฟ่ น้ื ตวั ดี สง่ ผลใหม้ จี ำ� นวนรถทขี่ อจดทะเบยี นใหมใ่ นกรงุ เทพมหานคร ทอ้ งถน่ิ รวม 2,065.03 ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ 618.00 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 42.71
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกเพ่ิมขึ้น แต่ต�่ำกว่าประมาณการ 234.97 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.22 เป็นผลจาก
ไมม่ ากนัก กรมสรรพสามติ จดั เกบ็ ภาษสี รรพสามติ ในหลายประเภทไดต้ ำ่� กวา่ เปา้ หมาย
ทง้ั ภาษรี ถยนต์ ภาษยี าสบู เปน็ ตน้ ซง่ึ มปี จั จยั จากอปุ สงคร์ ถยนตใ์ นประเทศ
ทห่ี ดตวั แมภ้ าครฐั มกี ารกำ� หนดนโยบายดา้ นภาษที ชี่ ดั เจน จะมกี ารปรบั ขนึ้ ของ
อตั ราภาษสี รรพสามติ นำ�้ มนั ดเี ซล จนทำ� ใหก้ ารจดั เกบ็ ภาษสี รรพสามติ นำ�้ มนั
เปน็ ไปตามเปา้ หมาย แตใ่ นภาพรวมรายไดท้ ก่ี รงุ เทพมหานครไดร้ บั การนำ� สง่
ภาษียังคงต�ำ่ กว่าประมาณการทต่ี ง้ั ไว้
2.6 ภาษแี ละคา่ ธรรมเนยี มการจดทะเบยี นสทิ ธ/ิ นติ กิ รรมเกย่ี วกบั
อสงั หารมิ ทรพั ย์ เปน็ ภาษที ก่ี รมทดี่ นิ จดั เกบ็ ใหแ้ ละจดั สรรรายไดต้ ามพน้ื ท่ี
การจดั เก็บรวม 11,452.93 ล้านบาท ขยายตัวเพิม่ ขน้ึ 1,171.32 ลา้ นบาท
หรอื รอ้ ยละ 11.39 และสงู กวา่ ประมาณการ 1,752.93 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ
18.07 เป็นผลจากธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์มีการขยายตัวอย่างต่อเน่ือง
ตามโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ เพื่อเพ่ิมศักยภาพการ
ขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในระยะยาว สง่ ผลใหม้ กี ารทำ� ธรุ กรรมการโอน จำ� นอง
และการซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนมากเม่ือเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปีที่ผ่านมา ท�ำให้กรมที่ดินสามารถจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมการ
จดทะเบยี นสทิ ธ/ิ นติ กิ รรมไดเ้ พม่ิ มากขน้ึ กรงุ เทพมหานครจงึ ไดร้ บั การจดั สรร
รายได้สงู กว่าปีท่ีผา่ นมา
2.7 ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีท่ีกรมสรรพากรและกรมที่ดิน
จดั เกบ็ ใหแ้ ละจดั สรรตามแหลง่ กำ� เนดิ ของภาษตี ามพระราชบญั ญตั กิ ำ� หนด
แผนและข้ันตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ. 2542 จดั เกบ็ ไดร้ วม 2,995.57 ลา้ นบาท ขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ 93.62 ลา้ นบาท
หรอื รอ้ ยละ 3.23 และสงู กวา่ ประมาณการ 130.57 ลา้ นบาท หรอื รอ้ ยละ 4.56
10 ECONOMY
ซง่ึ ปจั จยั สำ� คญั ของการเพมิ่ ขน้ึ ของภาษธี รุ กจิ เฉพาะนนั้ เปน็ ผลมาจากภาษี ส่วนรายได้ที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บเองยังคงให้ความส�ำคัญกับ
ท่ีเก็บจากธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์จัดเก็บได้เพ่ิมข้ึนและสูงกว่าเป้าหมาย การเพมิ่ รายไดจ้ ากการจดั เกบ็ ภาษี โดยเฉพาะภาษโี รงเรอื นและทดี่ นิ ภาษปี า้ ย
จึงท�ำให้กรมสรรพากรสามารถจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะได้เพ่ิมข้ึน ท�ำให้ โดยการติดตามและเร่งรัดขยายฐานผู้เสียภาษีให้ครบถ้วน รวมถึงการ
กรมสรรพากรสามารถจดั สรรนำ� สง่ รายไดใ้ หก้ บั กรงุ เทพมหานครเพม่ิ ขน้ึ จาก เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชนท่ีจะท�ำให้การจัดเก็บภาษี
ปีที่ผ่านมาและสงู กว่าประมาณการที่ต้งั ไว้ ทก่ี รงุ เทพมหานครจดั เกบ็ เอง คา่ ธรรมเนยี ม คา่ บรกิ ารเพม่ิ ขน้ึ ได้ แตใ่ นสว่ น
การบริหารรายได้จากทรัพย์สินของกรุงเทพมหานครและรายได้จากการ
สรปุ และคาดการณร์ ายไดข้ องกรงุ เทพมหานคร ปี 2559 พาณชิ ย์ทจี่ ะได้รบั การจดั สรรจากสถานธนานุบาลเป็นสว่ นใหญ่ อาจได้รับ
ผลกระทบจากความผันผวนของอัตราดอกเบ้ีย ราคาทองคำ� ในระหว่างปี
จากสถานการณ์รายได้ของกรุงเทพมหานครในปี 2558 ที่เพ่ิมข้ึน ซ่ึงจะท�ำให้รายรับจากดอกเบ้ียเงินฝาก รายได้จากดอกเบี้ยรับจ�ำน�ำและ
ในอัตราท่ีลดลงจากปีท่ีผ่านมาและเพ่ิมขึ้นจากประมาณการไม่มากนัก กำ� ไรจากการจำ� หนา่ ยทรพั ยห์ ลดุ จำ� นำ� ลดลงและไมเ่ ปน็ ไปตามประมาณการ
ด้วยเหตุปัจจัยจากเศรษฐกิจภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัว และการด�ำเนิน ที่ต้ังไว้ได้ จึงคาดว่าในภาพรวมรายได้ที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บเอง
นโยบายด้านเศรษฐกิจต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อดึงความเช่ือมั่นของผู้บริโภค ยงั คงขยายตัวได้ตามประมาณการท่ีตง้ั ไว้
และนกั ลงทนุ และชว่ ยเหลอื คา่ ครองชพี ของประชาชน ทำ� ใหก้ ารจดั เกบ็ รายได้
ของรฐั บาลหลายประเภทไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย สง่ ผลกระทบตอ่ รายไดห้ ลกั อย่างไรก็ตาม ประมาณการรายได้ของกรุงเทพมหานครใน
ส�ำคัญของกรุงเทพมหานครท่ีได้จากภาษี/ค่าธรรมเนียมรถยนต์ และภาษี ปีงบประมาณ 2559 ท่ีก�ำหนดไว้ 70,000 ล้านบาท มากกว่าปีที่ผ่านมา
สรรพสามติ ลดลงจากประมาณการคอ่ นขา้ งมาก และหากพจิ ารณาแนวโนม้ จะบริหารจัดเก็บรายได้ให้เป็นไปตามท่ีตั้งไว้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับ
การจัดเกบ็ รายไดข้ องกรงุ เทพมหานครในปงี บประมาณ 2559 คาดวา่ จะมี ความพยายามในการจัดเก็บภาษีของกรุงเทพมหานคร ความสามารถ
รายไดท้ เ่ี พมิ่ ขน้ึ จากปงี บประมาณ 2558 ไมม่ ากนกั เนอื่ งจากผลกระทบของ ในการเสียภาษีของประชาชน และการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดเก็บ
มาตรการการเงนิ การคลงั เพอื่ กระตนุ้ เศรษฐกจิ ภาคอสงั หารมิ ทรพั ย์ โดยการ ภาษีและการให้บริการประชาชนอย่างท่ัวถึง จริงจัง และเห็นผลที่ชัดเจน
ลดค่าธรรมเนียมการโอนและการจ�ำนองส�ำหรับการจดทะเบียนสิทธิและ ตลอดจนการเร่งพจิ ารณาปรบั ปรุงแก้ไขกฎหมายและออกกฎหมายเพ่อื ให้
นติ กิ รรม ซงึ่ จะทำ� ใหร้ ายไดท้ ส่ี ำ� คญั จากสว่ นราชการอนื่ จดั เกบ็ ให้ โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานครมีอ�ำนาจในการจัดเก็บรายได้ประเภทใหม่ได้เพ่ิมข้ึน
คา่ ธรรมเนยี มการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมเกย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละ ในขณะเดียวกันจะต้องมีการติดตามการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจอย่าง
ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ อาจจดั เกบ็ ไดไ้ มเ่ ปน็ ไปตามประมาณการทต่ี งั้ ไวห้ รอื ลดลง ใกลช้ ดิ เนอื่ งจากเปน็ ปจั จยั หลกั ทก่ี ระทบตอ่ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ซง่ึ เปน็ รายไดห้ ลกั
จากปที ่ผี ่านมา อยา่ งไรกต็ าม ยังคงตอ้ งติดตามการด�ำเนนิ นโยบายกระต้นุ ของกรุงเทพมหานครท่ีส่วนราชการอ่ืนเป็นผู้จัดเก็บให้กรุงเทพมหานคร
เศรษฐกิจเพื่อเพ่ิมอุปสงค์การบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ และ เพื่อให้กรุงเทพมหานครมีรายได้ที่เพียงพอในการบริหารจัดการตาม
มาตรการดา้ นภาษใี นการชว่ ยเหลอื คา่ ครองชพี ของประชาชน ซง่ึ จะทำ� ใหก้ าร งบประมาณที่ตัง้ ไว้
ไดร้ บั จดั สรรภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ภาษสี รรพสามติ ภาษแี ละคา่ ธรรมเนยี มรถยนต์
และล้อเล่อื น ลดลงและไมเ่ ปน็ ไปตามงวดแต่ละเดอื นได้บ้าง นางจตุ ิมา รามญั ศรี นกั วิชาการคลงั ช�ำนาญการ
กลุ่มงานนโยบายรายได้และรายจ่าย
สำ� นักงานเศรษฐกจิ การคลัง
11ECONOMY
สาระภาษี
ภาษสี รรพสามติ รถยนต์ใหม่
รักษ์โลกเลือกซอ้ื รถ
งดปลอ่ ยกา๊ ซ
ทีมงานวารสารบางกอก Economy เล็งเห็นความส�ำคัญของความรู้ด้านภาษี ของผู้มีหน้าที่เสียภาษีใน
เขตกรุงเทพมหานครนอกจากภาษีโรงเรือนและทด่ี ิน และภาษปี า้ ยแล้ว ในส่วนของกรุงเทพมหานครในฐานะ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ นอกจากจะไดร้ บั จดั สรรภาษสี รรพสามติ ทมี่ สี ว่ นของภาษรี ถยนตต์ ามสดั สว่ น
จำ� นวนประชากร เพอื่ นำ� รายไดภ้ าษมี าบำ� บดั ทกุ ขบ์ ำ� รงุ สขุ ชาวกรงุ เทพมหานครแลว้ การทม่ี รี ถยนตท์ ปี่ ลอ่ ย
ก๊าซเสียจ�ำนวนน้อยลง ยังส่งผลต่อต้นทุนการบ�ำรุงรักษาส่ิงแวดล้อมท่ีลดลงด้วย เน่ืองจากในปัจจุบัน
กรงุ เทพมหานครใชง้ บประมาณไปกบั การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มเปน็ จำ� นวนมาก เรมิ่ ศกั ราชใหมข่ องปี 2559 สง่ิ หนง่ึ
ทจ่ี ะเกดิ การเปลยี่ นแปลงกบั ผใู้ ชร้ ถใชถ้ นนทว่ั ประเทศไทย และคนกรงุ เทพมหานคร นน่ั คอื ภาษสี รรพสามติ
รถยนต์ใหม่ ซ่ึงจะมีผลกระทบถึงสภาวะเศรษฐกิจครัวเรือนในการตัดสินใจเลือกซ้ือรถยนต์ โดยจะ
บังคับใช้ตามท่ีกรมสรรพสามิตได้มีการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ โดยคิดตามอัตราการปล่อย
“กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด”์ ซง่ึ จะเปน็ การคดิ ภาษรี ถยนตใ์ หมแ่ บง่ ตามประเภทรถยนต์ 7 ประเภท ประกอบดว้ ย
1. รถยนตน์ งั่ และรถยนตโ์ ดยสารทีม่ ที ่ีนงั่ ไม่เกิน 10 คน ทีม่ คี วามจุ
กระบอกสูบไมเ่ กนิ 3,000 ซีซี ปล่อยก๊าซไม่เกนิ 150 กรมั /กิโลเมตร จัดเกบ็
ภาษี 30 % ปล่อยก๊าซ 150-200 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บภาษี 35 % และ
ปล่อยก๊าซเกิน 200 กรมั /กิโลเมตร จดั เกบ็ ภาษี 40 %
2. รถยนต์นั่งประเภทอี 85 และรถท่ีใช้ก๊าซธรรมชาติท่ีมีความจุ
กระบอกสูบไมเ่ กนิ 3,000 ซีซี ปลอ่ ยก๊าซไมเ่ กิน 150 กรัม/กโิ ลเมตร จดั เกบ็
ภาษี 25 % ปล่อยก๊าซ 150-200 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บภาษี 30 % และ
ปลอ่ ยก๊าซเกนิ 200 กรัม/กโิ ลเมตร จัดเกบ็ ภาษี 35 %
3. รถยนต์แบบผสมท่ีใช้พลังงานเช้ือเพลิงและไฟฟ้าที่มีความจุ
กระบอกสูบไมเ่ กิน 3,000 ซีซี ปล่อยกา๊ ซไม่เกนิ 100 กรัม/กโิ ลเมตร จดั เก็บ
ภาษี 10 % กรณปี ลอ่ ยก๊าซเกิน100-150 กรมั /กโิ ลเมตร จัดเกบ็ ภาษี 20 %
และปล่อยก๊าซเกิน 150-200 กรัม/กิโลเมตร จดั เกบ็ ภาษี 25 % และปล่อย
กา๊ ซเกิน 200 กรัม/กิโลเมตร จดั เก็บภาษี 30 %
4. รถยนต์กระบะท่ีไม่มีพื้นใส่สัมภาระด้านหลังคนขับ มีความจุ
กระบอกสบู ไม่เกนิ 3,250 ซซี ี ปล่อยกา๊ ซไมเ่ กนิ 200 กรัม/กิโลเมตร จดั เก็บ
ภาษี 3 % และปลอ่ ยกา๊ ซเกนิ 200 กรมั /กิโลเมตร จัดเก็บภาษี 5 %
5. รถยนตก์ ระบะทม่ี พี น้ื ใสส่ มั ภาระดา้ นหลงั คนขบั มคี วามจกุ ระบอกสบู
ไม่เกิน 3,250 ซีซี ปล่อยก๊าซไม่เกิน 200 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บภาษี 5 %
และปล่อยกา๊ ซเกนิ 200 กรัม/กโิ ลเมตร จดั เก็บภาษี 7 %
12 ECONOMY
6. รถยนตน์ งั่ ทม่ี กี ระบะ (ดบั เบลิ้ แคบ็ ) มคี วามจกุ ระบอกสบู ไมเ่ กนิ สรา้ งมาตรฐานใหมด่ งั กลา่ วใหแ้ กว่ งการยานยนตไ์ ทยจะเปน็ การกระตนุ้ ให้
3,250 ซีซี ปล่อยก๊าซไม่เกิน 200 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บภาษี 12 % และ ผผู้ ลติ พฒั นาและสรา้ งสรรคร์ ถยนตท์ ปี่ ระหยดั พลงั งานและปลอ่ ยไอเสยี ตำ�่
ปลอ่ ยก๊าซเกนิ 200 กรมั ตอ่ กิโลเมตร จดั เก็บภาษี 15 % เพ่ือให้อยู่ในพิกัดภาษีท่ีเหมาะสม แต่ค�ำถามที่ส�ำคัญของผู้บริโภคก็คือ
ตวั เองจะไดร้ ับประโยชน์อย่างไร
7. รถยนต์น่ังก่ึงบรรทุกท่ีมีความจุกระบอกสูบไม่เกิน 3,250 ซีซี
ปลอ่ ยกา๊ ซไมเ่ กนิ 200 กรมั /กโิ ลเมตร จดั เกบ็ ภาษี 25 % และปลอ่ ยกา๊ ซเกนิ ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดก็คือ คนท่ีกำ� ลังจะควักกระเป๋าซื้อรถประเภท
200 กรมั /กโิ ลเมตร จดั เกบ็ ภาษี 30 % “อีโคคาร์” ดูเหมือนจะได้รับอานิสงส์จากภาษีใหม่ไปเต็มๆ เพราะเป็น
รถประเภททปี่ ลอ่ ยไอเสยี ในอตั ราทไ่ี มส่ งู มากทำ� ใหอ้ ตั ราการเกบ็ ภาษลี ดลงไป
หากจะสรุปง่ายๆ ก็คือ การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ใหม่ โดยปรยิ าย ซง่ึ จะตรงกนั ขา้ มกบั รถยนตป์ ระเภทอนื่ ๆ ทปี่ ลอ่ ยไอเสยี ในอตั รา
ในครั้งนี้ คาดว่าจะท�ำให้รถยนต์ส่วนใหญ่ที่ขายอยู่ในตลาดมีราคาสูงขึ้น ที่สูงซ่ึงต้องเตรียมก้มหน้ายอมรับรายจ่ายที่เพิ่มมากข้ึนตามปริมาณ
เพราะต้นทุนคา่ ภาษจี ะเพ่ิมขึ้นเฉล่ยี 3-10 % ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ทป่ี ล่อยออกมา
กลุ่มที่ราคาแพงขึ้นแน่นอน อาทิ รถท่ีใช้พลังงาน E85 จะแพงข้ึน อย่างไรก็ตามหากมองในมุมของประชาชนท่ัวไปท่ีอาศัยอยู่ใน
3-13 % โดยคดิ ท่ฐี านไม่เกิน 2,000 ซซี ี ท่ี 22 % กลุม่ รถกระบะแค็บ (Cab) กรุงเทพฯ การปรับภาษีสรรพสามิตดังกล่าวถือว่าเป็นประโยชน์ต่อการ
แพงขนึ้ 2-4 % โดยฐานเดิม 3 % เทา่ กบั กระบะมาตรฐาน รถ PPV แพงขึ้น ดำ� เนนิ ชวี ติ และปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพรวมถงึ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งแทจ้ รงิ จากสถติ ิ
5-10 % ซงึ่ ฐานเดิมคอื 20 % รถ CNG แพงข้ึน 5-15 % คดิ ทฐ่ี านโดยรวม ของกรมการขนส่งทางบก พบว่าในปี 57 พ้ืนที่กรุงเทพฯ มีปริมาณรถยนต์
ไมเ่ กนิ 3,000 ซซี ี ที่ 20 % และรถ Hybrid ทปี่ ลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซดเ์ กนิ สะสมถงึ จำ� นวน 8,638,204 คนั โดยผลการตรวจวดั สารมลพิษทางอากาศ
100 กรมั /กโิ ลเมตร แพงขน้ึ 10-20 % โดยฐานเดมิ อยทู่ ี่ 10 % ไมเ่ กนิ 3,000 ซซี ี จาก “กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง” ส�ำนักสิ่งแวดล้อมระบุว่า
กรุงเทพฯ ก�ำลงั ประสบปัญหาเรอื่ งมลภาวะเปน็ พษิ เกนิ มาตรฐาน
สว่ นกลมุ่ รถยนตท์ ร่ี าคาลดลง เชน่ อโี คคารจ์ ะไดป้ ระโยชนท์ สี่ ดุ เพราะ
ภาษไี ดล้ ดลง หากใช้ E85 และคารบ์ อนไดออกไซดต์ ำ่� กวา่ 100 กรมั /กโิ ลเมตร จากการตรวจวัดพบว่ามีสารมลพิษในแต่ละชนิดอยู่ในอัตราสูง
เสยี 12 % ถดั จากนนั้ จะเปน็ รถดเี ซลทไี่ มเ่ กนิ 2,000 ซซี ี แตไ่ มถ่ งึ 3,000 ซซี ี เกินกว่าควรจะเป็น ได้แก่ ประเภทฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน
หรอื รถเกง๋ ทเ่ี ตมิ E85 ไดแ้ ตไ่ มเ่ กนิ 3,000 ซซี ี หากปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซด์ มีค่าเฉล่ียท่ัวกรุงเทพฯ อยู่ที่ 28-212 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./
นอ้ ยกวา่ 150 กจ็ ะเสยี ภาษลี ดลง 5-10 % และ 2-7 % ตามลำ� ดบั รถแรงมา้ ลบ.ม.) เกนิ จากคา่ มาตรฐาน 120 ไมโครกรมั ทก่ี ำ� หนดไว,้ ประเภทฝนุ่ ละออง
มากกวา่ 200 แรงมา้ แตต่ ำ�่ กวา่ 3,000 ซซี ี โดยรวมจะเสยี ภาษตี ำ่� ลง 10-25 % ขนาดเลก็ กวา่ 2.5 ไมโครกรมั อยทู่ ่ี 13-86 มคก./ลบ.ม. เกนิ จากคา่ มาตรฐาน
ตามเชอ้ื เพลงิ คารบ์ อนไดออกไซด์ 3 กลมุ่ ทแ่ี พงเหมอื นเดมิ คอื รถทเี่ กนิ 3,000 ซซี ี 50 ไมโครกรมั ทก่ี ำ� หนดไว้ รวมถงึ ปรมิ าณกา๊ ซโอโซนทเี่ กนิ กวา่ คา่ มาตรฐาน
ในเกง๋ และ 3,250 ซีซี ในกระบะ และ PPV จ่ายเทา่ เดิม 50 % โดยเฉพาะสถานีส�ำนักงานเขตราชเทวีและราษฎร์บูรณะเสี่ยงต่อปัญหา
สขุ ภาพทางเดนิ หายใจ
ส�ำหรับกลุ่มรถยนต์ท่ีราคาเท่าเดิมหากท�ำตามเง่ือนไขคือ ปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ลดลง เช่น รถ Hybrid ต้องปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ผ่านมาประเทศไทยเน้นแก้ปัญหาเร่ืองมลภาวะเป็นพิษไปที่
ตำ่� กวา่ 100 กรมั /กโิ ลเมตร จงึ จะไดส้ ทิ ธทิ์ ่ี10 % เทา่ เดมิ หรอื รถกระบะธรรมดา และ ตัวรถยนต์ค่อนข้างมาก หรือจะกล่าวก็คือรถใหม่ที่ออกมาจะจ�ำกัดเร่ือง
4 ประตู หากตอ้ งการใชส้ ทิ ธฐิ์ านภาษเี ดมิ คอื 3 % และ 12 % จะตอ้ งปลอ่ ย ไอเสยี ไมต่ า่ งไปจากในยโุ รป มมี าตรฐานควบคมุ สงู เรอื่ งคณุ ภาพนำ�้ มนั ของเรา
คารบ์ อนไดออกไซดต์ ำ�่ กวา่ 200 กรมั /กโิ ลเมตร หากไมส่ ามารถทำ� ไดจ้ ะตอ้ ง ก็ค่อนข้างดี ทำ� ให้การปล่อยมลพิษจากรถถือว่าน้อย เพียงแต่ประเทศไทย
จ่ายเพ่มิ เปน็ 5 % และ 15 % ซงึ่ จะแพงขน้ึ จากเดิม 2-3 % มรี ถเยอะท�ำใหก้ ารจราจรติดขดั และการที่รถว่ิงด้วยความเรว็ ชา้ ๆ ใครเลย
จะรู้ว่าเป็นการท�ำให้ปล่อยมลพิษออกมามากกว่ารถท่ีว่ิงด้วยความเร็วสูง
อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์แนวใหม่น้ี เสียอกี
ถอื เปน็ วธิ กี ารจดั เกบ็ ภาษที มี่ คี วามเปน็ สากล และในปจั จบุ นั มกี ารบงั คบั ใช้
ในหลายประเทศ ด้วยเหตุผลด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม แน่นอนว่าการ ตวั อยา่ งทที่ ำ� ใหเ้ หน็ ภาพทช่ี ดั เจนขนึ้ เชน่ หากเปน็ ชว่ งเวลาทกี่ ารจราจร
ไมต่ ดิ ขดั ผคู้ นใชเ้ วลาในการเดนิ ทางจากบา้ นไปทที่ ำ� งานแคค่ รงึ่ ชวั่ โมง ปรมิ าณ
การปลอ่ ยมลพษิ จะนอ้ ยกวา่ ชว่ งเวลาทร่ี ถตดิ และทำ� ใหต้ อ้ งใชเ้ วลาเดนิ ทาง
ชวั่ โมงครงึ่ อกี ทงั้ ชว่ งนเ้ี ปน็ ชว่ งทร่ี าคานำ้� มนั เปน็ ขาลง ยงิ่ ทำ� ใหม้ ปี รมิ าณรถ
บนท้องถนนมากย่ิงข้ึน เพราะฉะนั้นการควบคุมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ดว้ ยการจดั เกบ็ ภาษสี รรพสามติ รปู แบบใหมด่ งั กลา่ ว จงึ เปน็ การเออื้ ประโยชน์
ตอ่ ประชาชนทกุ คนในประเทศไทย หรือแม้แตบ่ นโลกใบน้กี ว็ ่าได้
แน่นอนว่าไม่มีมาตรการใดที่ออกมาแล้วจะมีแต่ผู้ที่ได้รับ
หรือเสียผลประโยชน์แต่เพียงฝ่ายเดียว เพียงแค่เรายอมรับ และ
ท�ำความเขา้ ใจกฎกตกิ าตา่ งๆ ใหไ้ ดอ้ ย่างถ่องแท้ เชอื่ วา่ คงไม่ใชเ่ ร่อื ง
ที่ยากเกินไปท่ีจะน�ำมาปฏิบัติ ขอเพียงแค่เลือกรถยนต์ท่ีถูกต้องและ
เหมาะสมต่อการใช้งานของตนเองเท่าน้ัน เมื่อรักตัวเองแล้ว ก็ต้อง
รักษส์ ่ิงแวดล้อมดว้ ย
13ECONOMY
บางกอกบอกใหร้ ู้
จในบั ปกระรชะาแคสมเเมศือรษงฐหกลิจวองาเซียน
การจะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ยั่งยืนนั้น ต้องพัฒนาศักยภาพจากภายในและเฝ้ามองความ
เคลื่อนไหวจากภายนอกควบคู่กัน บางกอกบอกให้รู้จึงขอโอกาสพาไปจับกระแสเมืองหลวงในประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน เพ่ือจะได้รู้และเข้าใจถึงการเปล่ียนแปลงและด้านใดบ้างท่ีก�ำลังส่งผลต่อเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยมากท่สี ดุ
สิงคโปร์เดนิ หน้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สิงคโปรน์ ับเปน็ ประเทศผู้น�ำในอาเซียนดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็น
ศนู ยก์ ลางดา้ นไอทแี ละมแี นวคดิ ทจ่ี ะใชเ้ ทคโนโลยมี าหลอ่ หลอมรวมกบั คณุ ภาพ
ชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น ซ่ึงก็จะส่งผลในเร่ืองโอกาสทางธุรกิจของประเทศ
โดยในปี 2558 ทผ่ี า่ นมา รฐั บาลยงั ไดเ้ ปดิ การประมลู โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นไอที
ในระบบดจิ ติ อล ซง่ึ มมี ูลคา่ สูงถงึ 2.2 พนั ล้านเหรียญสิงคโปร์ สง่ ผลให้เกิดการ
กระตนุ้ ธรุ กจิ ทใี่ ชร้ ะบบ Cloud ซงึ่ คาดวา่ จะขยายตวั ถงึ 1 พนั ลา้ นเหรยี ญสงิ คโปร์
ในปี 2560
กรุงเทพมหานครก็ได้มีการวางแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรงุ เทพมหานคร เขา้ สรู่ ะยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) โดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหส้ ว่ นงาน
ตา่ งๆ ของกรงุ เทพมหานครสามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ อทเี พอ่ื การบรกิ ารประชาชนและ
การบริหารจัดการองค์กร ทั้งในเร่ืองของการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ ชาวโฮจิมินหซ์ ติ ้ี นกั ชอ้ ประดับไฮเอนด์
ในแต่ละระบบบริการให้มีความหลากหลาย การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ
การปฏิบัติงานเพื่อมุ่งสู่การเป็นหน่วยราชการอิเล็กทรอนิกส์ และการปรับปรุง เวียดนามนับเป็นหนึ่งตลาดส�ำคัญในอาเซียนในเรื่อง
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ของสินค้าและบริการที่มีสภาพเศรษฐกิจดีข้ึนอย่างต่อเน่ือง
เพ่ิมข้ึน เช่น การใช้ระบบสารสนเทศผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ฯลฯ ไม่ว่า สง่ ผลใหป้ ระชาชนในเขตพน้ื ทเ่ี มอื งหลวงอยา่ งโฮจมิ นิ หซ์ ติ ี้ สงั เกต
ชาวกรงุ เทพมหานครจะเดนิ ทางไปยงั หนว่ ยงานใดในกรงุ เทพมหานครกส็ ามารถ ได้จากการขยายตัวของห้างสรรพสินค้าที่เป็นช่องทางหลักของ
ต่ออินเทอรเ์ นต็ ผ่านระบบไรส้ ายใชง้ านได้อย่างปกติ การจ�ำหน่ายสินค้าและบริการระดับไฮเอนด์ และตลาดที่ก�ำลัง
มีศักยภาพอยู่ในขณะน้ี เรียกว่าในแต่ละเดือนน้ันคนโฮจิมินห์
ซิตี้ช้อปกันกระจาย และคาดว่าเม่ือถึงปี 2020 โฮจิมินห์ซิตี้
จะมหี า้ งสรรพสนิ คา้ เพมิ่ ขน้ึ อกี ประมาณ 100 แหง่ นบั เปน็ ปจั จยั
สง่ เสรมิ ให้ธุรกจิ สนิ คา้ และบรกิ ารเหลา่ นี้เตบิ โตเพมิ่ ขน้ึ อกี ถงึ 40
เปอร์เซ็นต์จากสินค้าทั้งหมดท่ีจ�ำหน่ายอยู่ในตลาด เพ่ือรองรับ
ความตอ้ งการของประชาชน
ด้านกรุงเทพมหานครน้ัน ภาพตลาดสินค้าและบริการ
ระดับไฮเอนด์ในปี 2558 ถือว่าสดใสไม่แพ้กัน มีการเปิดตัว
ห้างสรรพสนิ คา้ หรๆู ใหค้ นกรงุ เทพมหานครได้เดินช้อปกนั อย่าง
ตอ่ เน่อื ง ลา่ สดุ ก็ Central Embassy ส่วนกล่มุ ห้างระดับหรูอ่นื ๆ
ก็มี Emporium และ Gaysorn Plaza ที่รวมร้านค้าแบรนด์เนม
ระดบั ไฮโซ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ความเปน็ อยขู่ องคนกรงุ เทพมหานครนนั้
น่าอิจฉาจริงๆ
14 ECONOMY
กมั พูชาหวัน่ แรงงานต่างชาติในกรงุ พนมเปญ
การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้ก�ำหนดให้ 7 อาชีพ ได้แก่
แพทย์ ทนั ตแพทย์ พยาบาล วศิ วกร นกั สถาปนกิ นกั การสำ� รวจ และนกั บญั ชี
สามารถเคลื่อนย้ายไปท�ำงานใน 10 ประเทศสมาชิกได้อย่างอิสระเสรี
แตท่ งั้ นจ้ี ะเหน็ วา่ ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วอาจใชไ้ ดอ้ ยา่ งไมเ่ ตม็ ที่ เพราะตดิ ในเรอื่ ง
ของกฎหมายเดิมของในแต่ละประเทศซึ่งยังไม่ได้มีการแก้ไขให้สอดคล้อง
กับข้อตกลงข้างต้น
ยกตัวอย่างกรณีของกัมพูชาท่ีรัฐบาลยังเกรงว่าจะเกิดปัญหาการ
หลั่งไหลเข้ามาท�ำงานของแรงงานประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ไทย สปป.ลาว
มาเลเซยี และเวยี ดนาม โดยเฉพาะในกรงุ พนมเปญ ซง่ึ แตเ่ ดมิ กม็ ปี ระชากร
อยู่ร่วม 2 ล้านคนแล้ว กระทรวงแรงงานกัมพูชาจึงออกมาประกาศก�ำชับ
เจา้ หนา้ ทท่ี เี่ กย่ี วขอ้ งคมุ เขม้ โควตาแรงงานตา่ งชาตใิ หเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ฎหมาย
แรงงานกำ� หนดอย่างเข้มงวด
ข้อมูลแรงงานต่างด้าวปี 2557 ท่ีส�ำนักงานปกครองและ
ทะเบียน กทม. ได้จัดท�ำไว้น้ัน ระบุว่าการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวใน
กรงุ เทพมหานคร มจี ำ� นวนทงั้ สนิ้ 318,912 คน แยกสญั ชาตไิ ดด้ งั นี้ เมยี นมา
จำ� นวน 101,134 คน ผตู้ ดิ ตามจำ� นวน 1,290 คน สปป.ลาว จำ� นวน 67,920 คน
ผตู้ ดิ ตามจำ� นวน 677 คน และกมั พชู าจำ� นวน 142,125 คน ผตู้ ดิ ตามจำ� นวน
5,766 คน
ฟลิ ปิ ปนิ ส์...วา่ ทมี่ หัศจรรยแ์ หง่ เอเชีย
หากนบั รวมตวั เลขเศรษฐกจิ ภาครวมในฟลิ ปิ ปนิ สป์ ี 2553-
2558 ฟิลิปปินส์ท่ีมีการขยายตัวนับว่าอยู่ในระดับท่ีดีทีเดียว
จึงมีการคาดการณ์ว่าฟิลิปปินส์ในอนาคตข้างหน้าจะกลายเป็น
“มหัศจรรย์แห่งเอเชีย” และส่งผลให้กรุงมะนิลากลับมาได้รับ
ความสนใจอีกครัง้ จากนกั ลงทนุ ตา่ งชาติ
โดยจุดเด่นของเศรษฐกิจในฟิลิปปินส์จะอยู่ที่รัฐบาล
มีการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันอย่างจริงจัง ซ่ึงในอดีต
ปญั หาดงั กล่าวทำ� ใหเ้ ศรษฐกิจของประเทศเดนิ ไปขา้ งหนา้ ไม่ได้
อยา่ งทคี่ วรจะเปน็ อนั ดบั ดชั นชี ว้ี ดั เรอ่ื งภาพลกั ษณก์ ารคอรร์ ปั ชน่ั
โดยองคก์ รเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ ฟลิ ิปปนิ ส์จึงไต่ขึน้ มาอยู่
ในอันดับที่ 85 จากอันดับที่ 141 จากที่เคยช้ีวัดในปี 2551
สว่ นประเทศไทยนน้ั กจ็ ะเหน็ วา่ ในชว่ งปี 2558 ภาครฐั และเอกชน
กไ็ ดม้ กี ารออกมารณรงคต์ อ่ ตา้ นคอรร์ ปั ชน่ั กนั อยตู่ ลอดตามพน้ื ท่ี
สำ� คญั ในกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ บรรดาเจา้ หนา้ ทใี่ นหนว่ ยงานตา่ งๆ
ของกรงุ เทพมหานครตา่ งกเ็ ขา้ รว่ มและใหค้ วามรว่ มมอื กบั องคก์ ร
ตอ่ ตา้ นคอรร์ ปั ชน่ั (ประเทศไทย) เปน็ อยา่ งดี อนั เปน็ การปลกู ฝงั ให้
เดก็ ไทยรนุ่ ใหมต่ อ่ ตา้ นการทจุ รติ และเปน็ กำ� ลงั ของชาตใิ นอนาคต
15ECONOMY
เศรษฐกจิ บางกอก
ธุรกิจสุขภาพ
ฉบบั Bangkok
ทา่ มกลางวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนไทยในกระแสสงั คมเมอื งใหญอ่ ยา่ ง “กรงุ เทพมหานคร” ทกี่ า้ วเขา้ สู่
สังคมผู้สูงอายุ สังคมคนโสด ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และระบบสาธารณสุขท่ีดีข้ึน ฯลฯ
ท�ำใหเ้ ทรนด์ “สุขภาพ” มีการเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แต่ภาระการดูแลใหบ้ ริการด้านสาธารณสุขของ
กรงุ เทพมหานคร ไมส่ ามารถจดั การดูแลไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ โดยเฉพาะในอนาคตค่าใชจ้ ่ายนจ้ี ะเพ่ิมขน้ึ ตามอตั รา
การเพิ่มข้ึนของประชากร ดังนั้นสังคมคนหนุ่มสาวยุคใหม่จะมีแนวโน้มดูแลสุขภาพตนเอง จึงท�ำให้ธุรกิจ
สขุ ภาพมกี ารเตบิ โตอยา่ งมีนยั สำ� คญั
แม้โลกจะมีวิทยาการการรักษาที่ก้าวล�้ำ การมีอายุยืนยาว ฟติ เนส ขยายตวั รับเทรนดห์ น่มุ สาวสตรอง
แตใ่ นขณะเดยี วกนั สขุ ภาพกลบั ยำ่� แย่ คงไมใ่ ชส่ ง่ิ ทใ่ี ครๆ ตอ้ งการ ดว้ ยเหตนุ ี้
ในช่วงที่ผ่านมาการมองหาสุขภาพดีจาก “ภายในสู่ภายนอก” ในปัจจบุ นั การออกก�ำลังกายใน “ฟติ เนส” กำ� ลงั เป็นท่นี ยิ มมากข้นึ
จึงแรงต่อเนื่อง สร้างโอกาสให้กับธุรกิจหน้าใหม่ได้แจ้งเกิดอย่างเป็นล่�ำ จากเทรนดก์ ารเล่นฟติ เนสแนวใหม่ หรือ Functional Training ท่ตี อบโจทย์
เปน็ สนั ทง้ั ธรุ กจิ ฟติ เนส สนิ คา้ ออกกำ� ลงั กาย อาหารเพอ่ื สขุ ภาพ อาหารเสรมิ การเขา้ สสู่ งั คมความเปน็ เมอื งทม่ี คี วามเรง่ รบี มากขน้ึ อกี ทง้ั ยงั เปน็ โมเดลฟติ เนส
ส�ำหรับการดูแลรักษารูปร่าง รวมถึงทัวร์เพื่อสุขภาพกายและสุขภาพใจ ท่ีใช้พ้ืนท่ีและเงินลงทุนน้อย ซ่ึงในปัจจุบันกำ� ลังเป็นท่ีนิยมเป็นอย่างมาก
ในหลากหลายรปู แบบ ในสหรฐั อเมรกิ า ดว้ ยลกั ษณะการออกกำ� ลงั กายทเ่ี นน้ การฝกึ ดว้ ยทา่ ทางในชวี ติ
ประจ�ำวัน เช่น การผสมผสานการออกก�ำลังกายแบบแอโรบิค (Aerobic)
อาหารสขุ ภาพ ธรุ กิจนม้ี ีแตข่ าขึ้น และแอนาโรบคิ (Anaerobic) ทำ� ใหส้ ามารถยน่ ระยะเวลาการออกกำ� ลงั กาย
จากราว 1-2 ช่วั โมงตอ่ วนั เหลือเพยี ง 45 นาที ถึง 1 ชวั่ โมง
“อาหารคลนี เดลเิ วอร”่ี โมเดลธรุ กิจแนวคิดใหม่ในการรับประทาน
อาหารเพ่ือสุขภาพถือกำ� เนิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค บรษิ ทั ฟติ เนส เฟริ สท์ (ประเทศไทย) จำ� กดั ระบวุ า่ ตลาดรวมฟติ เนสปี 57
ทอ่ี ยากมสี ขุ ภาพดี แตต่ อ้ งการความสะดวก ความอรอ่ ย ในชว่ งเวลาเรง่ ดว่ น มมี ลู คา่ 10,000 ลา้ นบาท มผี ปู้ ระกอบการทงั้ รายเลก็ รายใหญ่ จำ� นวนกวา่
เจาะกลมุ่ ทำ� งานออฟฟศิ กลมุ่ ลกู คา้ ทต่ี อ้ งการอาหารสขุ ภาพ และกลมุ่ ผปู้ ว่ ย 480 แห่ง ส่วนใหญ่กระจุกตวั อยู่ในกรุงเทพฯ โดยให้บรกิ ารลูกคา้ ประมาณ
เฉพาะโรค ในรปู แบบของบรกิ ารสง่ อาหาร โดยดงึ จดุ เดน่ ดว้ ยการปรงุ อาหาร กว่า 200,000 คนท่ัวประเทศ และมีการเติบโตด้านยอดสมาชิกประมาณ
ด้วยวัตถุดิบออร์แกนิคพรีเมี่ยม และเครื่องปรุงระดับ Super Food หรือมี
คณุ คา่ ทางโภชนาการสงู แตแ่ คลอรต่ี ำ�่ มสี ารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ และไมผ่ า่ นการ
ปรุงแต่ง ส่งตรงถึงประตูบ้านและส�ำนักงานในเขตกรุงเทพฯ ราคาอาหาร
มีต้ังแต่หลักสิบไปจนถึงหลักพัน ตามโปรแกรมจะแตกต่างกันออกไป
ท้ังอาหารสุขภาพ อาหารลดน้�ำหนัก อาหารเพ่ือดีท็อกซ์ หรืออาหารเพื่อ
ชะลอวยั สว่ นค่าจดั ส่งราว 50-200 บาท ขนึ้ อยู่กบั ระยะทาง
ส�ำหรับแนวโน้มของอาหารเพื่อสุขภาพ “ฟู้ด เนวิเกเตอร์-ยูเอสเอ”
ระบวุ า่ มลู คา่ ตลาดอาหาร Specialty Food ของสหรฐั ฯ ปี 2557 ชาวอเมรกิ นั
60% รวมมูลคา่ ตลาดสูงถึง 88,300 ล้านบาท แสดงใหเ้ ห็นวา่ ธุรกิจสุขภาพ
ในปัจจุบันลูกค้าเต็มใจท่ีจะจ่าย ราคาไม่ใช่เงื่อนไขของการซื้อ ผู้บริโภค
สามารถกำ� หนดความเหมาะสมได้ ถา้ สนิ คา้ และบรกิ ารนน้ั มคี วามแตกตา่ ง
จากทอ้ งตลาด และแฝงดว้ ยคณุ ประโยชน์ ดว้ ยเงอื่ นไขนเ้ี องทท่ี ำ� ใหต้ ลาดอาหาร
สขุ ภาพเติบโตขึน้ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
16 ECONOMY
10-20% ต่อปี กระแสความนิยมของการออกก�ำลังกายยังได้สร้างโอกาส “บัญชาเมฆยิม” ค่ายมวยของนักชกก�ำปั้นเงินล้าน “บัวขาว
ใหก้ ับธรุ กิจต่อเนือ่ งอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง เชน่ ธุรกจิ เครื่องแตง่ กายและอปุ กรณ์ บัญชาเมฆ“ ท่ีลงทุนคนเดียว 10 ล้านบาท สร้างค่ายต้ังอยู่ในซอย
กฬี าทยี่ อดขายขยายตวั เฉลยี่ ตอ่ ปกี วา่ 9% ในปี 2010-2014 ขยายตวั เรว็ กวา่ โยธินพัฒนา 3 เลียบทางด่วนรามอินทรา คนท่ีมาเรียน 70% เรียนเพื่อ
คา่ เฉลย่ี ในอดตี ทข่ี ยายตวั เพยี ง 5% และยงั มธี รุ กจิ อนื่ ๆ เชน่ ธรุ กจิ อาหารเสรมิ ไปแข่งขัน ส่วนใหญ่จะเป็นชาวต่างชาติ ทั้งจากยุโรปและเอเชีย คิดราคา
ที่ขยายตัวเฉล่ียต่อปีเท่ากับ 20% ในปี 2010-2014 ธุรกิจสอนการ ค่าคอรส์ 50 เหรยี ญสหรัฐต่อวนั และ 1,300 เหรยี ญสหรัฐต่อเดอื น
ออกก�ำลังกายแบบวิดีโอ เช่น T25 ท่ีพิสูจน์ความส�ำเร็จมาแล้วในปี 2014
และธรุ กจิ แอปพลิเคช่นั ฟิตเนสบนสมารท์ โฟนที่กำ� ลังไดร้ บั ความนิยม อีกแห่งที่ดังไม่แพ้กันอยู่บนถนนสุคนธสวัสด์ิ ลาดพร้าว ค่ายมวย
"คงสิทธา" ของ "แมทธิว ดีน ฉันทวานิช” เน้นการฝึกมวยไทยเพื่อการ
ธุรกิจฟิตเนสในประเทศไทยยังมีอัตราการเติบโตได้อีกมาก ออกกำ� ลงั กาย ลกู คา้ กวา่ 70% เปน็ ผหู้ ญงิ วยั ทำ� งานทตี่ อ้ งการออกกำ� ลงั กาย
จากจำ� นวนผอู้ อกกำ� ลงั กายทย่ี งั มจี ำ� นวนตำ�่ กวา่ 1% ของประชากรทงั้ ประเทศ และฝกึ ศลิ ปะมวยไทย คา่ บรกิ ารคดิ เปน็ คอรส์ คอรส์ ละ 90 นาที คดิ คา่ บรกิ าร
ขณะที่หลายประเทศมีจ�ำนวนผู้ออกก�ำลังกายสูงกว่าหลายเท่าตัว อาทิ 300 บาทสำ� หรบั ผหู้ ญิง และ 400 บาทสำ� หรับผู้ชาย
สงิ คโปรม์ จี ำ� นวนผอู้ อกกำ� ลงั กาย 8% ออสเตรเลยี มี 13% และสหรฐั ฯ มี 25%
เปน็ ตน้ โดยในกรงุ เทพมหานครมที ำ� เลสำ� คญั คอื คอนโดมเิ นยี มตามแนว ทัวร์ป่นั จกั รยาน รอบกรงุ เทพฯ
รถไฟฟา้ ไดแ้ ก่ จุดเช่ือมต่อรถไฟฟ้าสายที่เปิดใช้อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ชั้นใน
อย่างถนนสีลม สาทร สุขุมวิท พหลโยธิน รวมถึงรถไฟฟ้าใต้ดิน ท�ำเล เทรนดม์ าแรงสำ� หรบั “เฮลต้ี ไลฟส์ ไตล”์ นเี้ หน็ ไดจ้ ากกระแสการวง่ิ
ถนนพระรามที่ 4 รัชดาภิเษก และลาดพร้าว กับโครงการเมกะโปรเจกต์ การปั่นจักรยาน ในปีท่ีผ่านมามีการจัดอีเวนต์ปั่นจักรยานอย่างต่อเน่ือง
รถไฟฟ้าก่อสร้างใหม่ในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล ได้แก่ สายสีม่วง เป็นท่ีฮิตในหมู่คนท�ำงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้สูงอายุที่ต้องการสร้าง
(บางซ่ือ-บางใหญ่) สายสีน�้ำเงิน (บางซ่ือ-ท่าพระ) สายสีเขียว ความสมดุลให้ชีวิตและเพ่ือหลีกเล่ียงการเจ็บป่วย รวมไปถึงเทรนด์การ
(หมอชิต–สะพานใหม)่ และสายสแี ดง (บางซื่อ-ตลิง่ ชนั ) “ทอ่ งเทยี่ วแนวสขุ ภาพ” เชน่ การปน่ั จกั รยานเทยี่ วขนึ้ ดอยชมธรรมชาติ ทรปิ วง่ิ
มาราธอน ไตรกฬี าต่างๆ
มวยไทย สุขภาพดีแถมวิชาป้องกนั ตัว
ส�ำหรับในกรุงเทพฯ ก็มี “ทัวร์ปั่นจักรยาน” รอบเมืองมากกว่า 100
ความนยิ มของการแขง่ ขนั ชกมวยรายการ “THAI FIGHT” สรา้ งกระแส กิจกรรม รองรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ยกตัวอย่างเช่น
ของ “มวยไทย” กำ� ลงั ไดร้ บั ความนยิ มเพมิ่ มากขนึ้ ในกลมุ่ ของคนออกกำ� ลงั กาย Co Van Kessel เรมิ่ ตน้ ธรุ กจิ จากจดุ เลก็ ๆ แตม่ เี ปา้ หมาย และคอนเซป็ ตใ์ นการ
เพื่อสุขภาพ และเป็นที่มาของค่ายมวยไทยหลายๆ แห่งท่ีเปิดให้บริการ ทำ� ธรุ กจิ ทชี่ ดั เจน จากความชำ� นาญในการศกึ ษาเสน้ ทางจกั รยานมาเปน็ อยา่ งดี
ในขณะนี้ ซึ่งนอกจากจะเป็นท่ีฝึกศิลปะและอนุรักษ์มวยไทยแล้ว ยังพ่วง ผสมผสานกันระหว่างการปั่นจักรยานกับการน่ังเรือหางยาวชมวิถีชีวิตของ
เร่ืองของการออกกำ� ลงั กาย ส�ำหรบั หน่มุ สาวท่ีตอ้ งการฟติ หนุ่ คนกรุงเทพฯ ไดอ้ ย่างลงตัวภายในระยะเวลา 5 ชั่วโมง ราคา 1,500 บาท
เริ่มตน้ ด้วยการปนั่ จกั รยานผ่านตรอกซอกซอย เจอกบั ความคกึ คัก
ของผู้คนในตลาดส�ำเพ็ง ตามด้วยให้ลูกทัวร์น�ำจักรยานลงเรือหางยาวไป
ฝง่ั ธนบรุ ี ดวู ถิ ชี วี ติ ของคนรมิ ฝง่ั คลอง ทง้ั ในสว่ นของสถาปตั ยกรรมบา้ นเรอื น
รูปแบบต่างๆ ริมฝั่งคลอง กิจวัตรประจ�ำวัน ไปชมพ้ืนที่เกษตรกรรม
ความงดงามของเขตชนบทในกรงุ เทพฯ
Co Van Kessel ดึงจุดเด่นและเอกลักษณ์ของวิถีชิวิตแบบไทยๆ
มาน�ำเสนอผ่านธุรกิจทัวร์จักรยาน ที่สามารถสร้างความประทับใจให้แก่
ลกู คา้ ชาวตา่ งชาตไิ ดอ้ ยา่ งลงตวั ตน้ ทนุ ทใ่ี ชห้ ลกั ๆ แคจ่ กั รยานประมาณ 300 คนั
มีท้ังจักรยานแม่บ้าน เมาเท่นไบค์ และจักรยานคลาสสิค ลูกค้าหลักนิยม
ทัวร์จักรยานของ Co Van Kessel ส่วนใหญ่อยู่แถบประเทศยุโรป อาทิ
เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี เบลเยียม ทง้ั กลุ่มนกั ท่องเทีย่ วและกลมุ่ คนที่ท�ำงาน
ประจ�ำอยู่ในกรงุ เทพมหานคร
น่ีคือบางส่วนของธุรกิจที่มาจากกระแสสุขภาพ เศรษฐกิจ
กรุงเทพมหานครท่ีใครก็มองข้ามไม่ได้อีกต่อไปเพราะเม่ือประชากร
มีสุขภาพที่ดี การท�ำงานก็จะมีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจท่ีก้าวไปข้างหน้าของกรุงเทพมหานครและสามารถ
ขับเคล่ือนนโยบายของกรุงเทพมหานครและภาครัฐให้มีผลสัมฤทธ์ิ
ไดต้ ามเป้าหมาย
17ECONOMY
บางกอกทนั การณ์
ผแกลทู้ปะมว่ผ.ยสู้สตรงู า้อิดงาเแตยกใุนียกนงล�ำบ้ดาู้แลน
18 ECONOMY
นอกจากการก่อสร้างอาคารศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุและโรงพยาบาลบางขุนเทียนแล้ว
กรุงเทพมหานครยังเล็งเห็นความส�ำคัญของการเสริมสร้างสวัสดิการของผู้ป่วยและผู้สูงอายุให้ได้รับการ
ดแู ลสวสั ดิการอย่างเท่าเทียมและทวั่ ถึง
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการ ทด่ี ขี องผปู้ ว่ ยและผสู้ งู อายใุ นพนื้ ทกี่ รงุ เทพมหานคร ปญั หาดงั กลา่ วเมอื่ ไดร้ บั การดำ� เนนิ การ
กรุงเทพมหานคร เปิดเผยว่า “กรุงเทพมหานคร ทงั้ ยงั สอดคลอ้ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั นโยบาย อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จะมผี ลดกี บั ตลาดสนิ คา้
มีความมงุ่ ม่ันในการสร้างกรงุ เทพมหานครสกู่ าร รัฐบาลและแผนบริหารราชการแผ่นดินในการ ผู้สูงอายุโดยตรง อาทิ สินค้าอาหารและ
เป็นมหานครท่ีน่าอยู่อย่างย่ังยืน โดยเฉพาะการ พัฒนาคุณภาพชีวติ และความมน่ั คงดา้ นสงั คม เคร่ืองดื่ม สินค้าเสื้อผ้าเคร่ืองแต่งกาย และ
ดูแลรักษาสุขภาพ และบริการด้านการแพทย์ ธุรกิจบริการผู้สูงอายุ ซ่ึงในอนาคต
พยาบาล ซงึ่ ทผี่ า่ นมากรงุ เทพมหานครไดส้ ง่ เสรมิ ประเทศไทยก�ำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หรือ
สนบั สนนุ ใหภ้ าครฐั และภาคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ประชาชนท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มมากข้ึน
ในการดูแลช่วยเหลือชุมชนและสังคมในด้าน อัตราค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนย่อมต้องมากขึ้น
การแพทยแ์ ละพยาบาลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะ ตามไปดว้ ยเช่นเดียวกนั
อย่างย่ิงการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่บ้านน้ัน
มคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ สำ� หรบั แกนนำ� ผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย
และผสู้ งู อายทุ บ่ี า้ นถอื เปน็ บคุ คลทมี่ สี ว่ นสำ� คญั ใน
การขบั เคลอ่ื นงานบรกิ ารดา้ นการแพทย์ พยาบาล
และสาธารณสุขของกรุงเทพมหานครให้มี
ความกา้ วหนา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและยง่ั ยนื ตอ่ ไป”
โดยสำ� นกั อนามยั และคณะพยาบาลศาสตร์
เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
จัดการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วย
และผู้สูงอายุท่ีต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องท่ี
บ้าน หลักสูตร 70 ชั่วโมง เพื่อให้เกิดการสร้าง
แกนน�ำและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยและ
ผสู้ งู อายทุ บ่ี า้ นใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในการดแู ล
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเน่ือง
รวมถึงเพื่อให้เกิดระบบบริการสุขภาพผู้ป่วย
และผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่มี
ประสทิ ธิภาพและเป็นรูปธรรม
โดยพบว่าปัญหาผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
และคำ� ว่า “เตียงเตม็ ” ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถรบั ผู้ปว่ ย
เข้ารบั การรกั ษาดูแลในโรงพยาบาลได้ ทัง้ ยงั พบ
อกี วา่ ในพนื้ ทกี่ รงุ เทพมหานครนนั้ ปจั จบุ นั มผี ปู้ ว่ ย
ระยะทา้ ยทไี่ มส่ ามารถดแู ลตวั เองไดแ้ ละผสู้ งู อายุ
ตง้ั แต่ 65 ปขี นึ้ ไป จำ� นวน 4–5 แสนคน ซง่ึ หลายคน
ตอ้ งอยบู่ า้ นเพยี งลำ� พงั กรงุ เทพมหานครซง่ึ ตระหนกั
อยู่เสมอว่าปัญหาดังกล่าวต้องได้รับการแก้ไข
จึงได้ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
หาแนวทางและความร่วมมอื สร้างแกนนำ� ผูด้ แู ล
ผ้ปู ่วยและผสู้ งู อายุทบ่ี ้านในสดั ส่วนผู้ดูแล 1 คน
ต่อผู้ป่วย และเฝ้าระวังภาวะเส่ียงสุขภาพให้
ผู้สูงอายุท่ีบ้าน 10 คน นับเป็นก้าวใหม่ในระบบ
บรกิ ารสขุ ภาพเพอื่ สรา้ งความสขุ และคณุ ภาพชวี ติ
19ECONOMY
REPORT
รายจ่ายกรงุ เทพมหานคร
ประจำ� ปีงบประมาณ 2558
กรงุ เทพมหานคร ไดต้ งั้ งบประมาณแบบสมดลุ ประกอบดว้ ยงบประมาณรายจา่ ยประจำ� 65,000 ลา้ นบาท
เบกิ จ่ายแลว้ ณ ส้นิ ปงี บประมาณ54,939.40 ลา้ นบาท คดิ เปน็ 84.52% และได้กนั เงนิ ไวเ้ บิกเหลือ่ มปอี กี
จำ� นวน 9,569.51 ล้านบาท คดิ เปน็ 14.72
ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2558
กรุงเทพมหานคร ได้รับเงินอุดหนุนจาก หน่วย : ล้านบาท เงนิ อดุ หนุนรัฐบาล
รัฐบาล 15,068.00 ล้านบาท เบิกจ่ายแล้ว ณ 90,000 เงนิ งบฯ ประจำ�
ส้ินปีงบประมาณ 14,787.84 ล้านบาทคิดเป็น
98.14 % และได้กันเงินไว้เบิกเหล่ือมปี 280.15 80,000 80,068.00 69,727.24 (87.08%)
ลา้ นบาท คดิ เปน็ 1.85 %
70,000 15,068.00
กรุงเทพมหานคร ได้ก�ำหนดวงเงินงบ
ประมาณรายจ่ายประจ�ำ ปีงบประมาณ 2558 60,000 14,787.84
จ�ำนวน 65,000 ล้านบาท เท่ากับปีงบประมาณ
2557 โดยปีงบประมาณ 2558 จ�ำแนกเป็นงบ 50,000
ลงทุน 14,970.50 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน
ร้อยละ 9.07 งบด�ำเนนิ การ 50,029.50 ลา้ นบาท 40,000 54,939.40 9,849.66 (12.30%)
ลดลงจากปกี อ่ นรอ้ ยละ 2.43 ซงึ่ ยอดดงั กลา่ วเปน็ รายจ่าย 280.15
งบประมาณหลงั ปรบั โอน ณ วนั สน้ิ ปงี บประมาณ 30,000 65,000.00 9,569.51
20,000 เงนิ กันไว้เบกิ เหลือมปี
10,000
0
งบประมาณ
งบประมาณรายจา่ ยประจ�ำของกรงุ เทพมหานครปีงบประมาณ 2558 รายจา่ ยประจ�ำของกรงุ เทพมหานครปีงบประมาณ 2558
งบลงทุน 13,725.15 ปี 2557 งบลงทุน 7,787.95 (56.74%) ปี 2557
14,970.50 ปี 2558 8,657.87 (57.83%) ปี 2558
งบ �ดำเนินการ 51,274.85 งบด�ำเ ินนการ 45,347.91 (88.44%)
50,029.50 46,281.53 (92.50%)
0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000
หน่วย : ลา้ นบาท หน่วย : ล้านบาท
20 ECONOMY
รายจ่ายเงินอุดหนุนรฐั บาลปงี บประมาณ 2558
รายการ ปีงบประมาณ 2557 ปงี บประมาณ 2558
งบประมาณ ผลการเบกิ จ่าย งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ย
โครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบ 1,238.23 1,238.23 1,266.73 1,266.73
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
โครงการส่งเสริมอาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) เชิงรกุ 108.00 108.00 108.00 108.00
โครงการสร้างหลักประกนั ด้านรายไดแ้ ก่ผูส้ งู อายุ 4,363.84 4,352.93 4,363.84 4,363.84
สิง่ แวดล้อมเมอื งทม่ี คี ุณภาพ 11.79 11.79 11.79 11.79
ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชนทไี่ ด้มาตรฐาน 477.44 477.44 476.58 476.58
โครงสรา้ งพืน้ ฐานเพื่อการคมนาคม 255.47 12.47 409.47 129.31
บริการด้านคุณภาพชีวิตทดี่ ีของประชาชน 408.73 408.73 388.74 388.74
นักเรยี นในพื้นที่ที่ได้รบั การศกึ ษา 6,822.33 6,822.33 7,570.40 7,570.40
ผู้สำ� เรจ็ การศกึ ษาด้านสาธารณสุข 166.95 166.95 188.01 188.01
โครงการจดั การเรยี นการสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอร์พกพา 287.79 -- -
โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพในการบ�ำบัดยาและสารเสพติด 199.63 82.18 10.00 10.00
โครงการสนบั สนนุ การเสรมิ สรา้ งสวสั ดกิ ารทางสงั คมใหแ้ กผ่ พู้ กิ ารและทบุ พลภาพ 274.44 272.20 274.44 274.44
รวม 14,614.64 13,953.75 15,068.00 14,787.84
นอกจากนี้ กรุงเทพมหานคร มีงบประมาณรายจ่ายปีก่อน (2557) เพื่อเบิกจ่ายในปี 2558 จ�ำนวน 11,343.92 ล้านบาทเบิกจ่ายแล้ว (ณ วันท่ี
30 กนั ยายน 2558) 9,997.37 ล้านบาท คดิ เปน็ 88.13 % สำ� หรับเงินอดุ หนุนรฐั บาล มงี บประมาณรายจ่ายปีก่อน (2548– 2557) เพื่อเบิกจ่ายในปี 2558
จำ� นวน 1,368.67 ลา้ นบาท เบกิ จา่ ยแล้ว (ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2558) 813.12 ล้านบาท คิดเป็น 59.40 %
ร้อยละการเบิกจา่ ยเงนิ กันไวเ้ บิกเหลอื่ มปี ปงี บประมาณ 2558
เ ิงนอุดหนุน ัรฐบาล 813.12 (59.40%) จ่ายจรงิ
1,368.67 เงนิ กนั ไว้เบิกเหล่อื มปี
งบฯ กทม. 9,997.37 (88.13%)
11,343.92
หนว่ ย : ล้านบาท
0 4,000 8,000 12,000
ทีม่ า : กองบญั ชี ส�ำนักการคลงั กรุงเทพมหานคร
21ECONOMY
รอบร้วั บางกอก
ม.ร.ว.สขุ มุ พนั ธ์ุ บรพิ ตั ร
จดั ตลาดกลางกรงุ
กระตนุ้ เศรษฐกจิ กรุงเทพมหานคร
เมอ่ื วนั ที่ 15 มกราคม 2559 นายอรรถพร
สุวัธนเดชา รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็น
ประธานการประชมุ เตรยี มการจดั ตลาดกลางกรงุ
ตามนโยบายของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่า
ราชการกรุงเทพมหานคร ณ ห้องสุทัศน์ ศาลา
วา่ การกรงุ เทพมหานคร เพอื่ กระตนุ้ เศรษฐกจิ และ
สรา้ งรายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชน ภายใตช้ อ่ื Bangkok
Brand เพ่ือส่งเสริมตลาดและผลิตภัณฑ์ของดีมี
คุณภาพของแต่ละพ้ืนที่เขตในกรุงเทพมหานคร
ให้เป็นทร่ี ูจ้ ัก
22 ECONOMY
รองปลัดกรุงเทพมหานคร กล่าวในที่
ประชุมว่า กรุงเทพมหานคร มีนโยบายท่ีจะส่ง
เสรมิ รายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชนและกระตนุ้ เศรษฐกจิ
ในกรุงเทพมหานคร โดยการจัดตลาดกลางกรุง
ในพ้ืนท่ีที่มีชุมชนหนาแน่น ซ่ึงในปี 2558 ที่ผ่าน
มากรงุ เทพมหานคร ไดท้ ดลองนำ� รอ่ งจดั ถนนคน
เดนิ บริเวณถนนสลี ม จนเป็นท่ีรูจ้ ักและไดร้ ับการ
ตอบรบั อยา่ งดี ดงั นนั้ ในปี 2559 กรงุ เทพมหานคร
จึงได้ด�ำเนินการต่อเนื่องโดยในเดือนมกราคม
2559 บรเิ วณ ถนนดนิ สอ และถนนมหรรณพ เขต
พระนคร และคร้ังที่ 2 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559
ในวนั พธุ -วนั อาทติ ย์ ตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลา 5 วนั ชว่ ง
เวลาตัง้ แต่ 13.00 – 21.00 น. จะจดั บรเิ วณเกาะ
พญาไท หนา้ ภัตตาคารพงษห์ ลี เขตราชเทวี
นอกจากน้ี กรุงเทพมหานคร จะสานต่อ
การจัดตลาดชานกรุง เพื่อกระจายรายได้และ
กระตนุ้ เศรษฐกจิ ตามนโยบายของรฐั บาล โดยปที ี่
ผา่ นมาไดด้ ำ� เนนิ การจดั ไปจำ� นวน 4 ครง้ั ณ ถนน
อทุ ยาน เขตทววี ฒั นา ศนู ยก์ ารคา้ ไอทสี แควร์ เขต
หลักสี่ ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ เขตทุ่งครุ และ
บรเิ วณกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เขตบางนา ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ
รายได้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจรวมถึงเป็นท่ี
พงึ พอใจของประชาชนเปน็ อยา่ งมากเชน่ เดยี วกนั
ท้ังน้ี กรุงเทพมหานคร จะเชิญประชุม
คณะกรรมการจัดงานตลาดชานกรุง 6 กลุ่มเขต
และคณะกรรมการจดั ตลาดกลางกรงุ เพอ่ื หารอื ถงึ
การจดั กจิ กรรมใหเ้ กดิ ความตอ่ เนอ่ื ง และกระจาย
ไปยงั พนื้ ที่ต่างๆ อยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป
ขอบคุณภาพประกอบคอลมั นจ์ าก กองประชาสมั พันธ์ กรงุ เทพมหานคร 23ECONOMY
ปฏิทนิ บางกอก
ปฏทิ ินการย่ืนแบบและชำ� ระภาษี
ประเภทภาษี ระยะเวลาการยน่ื แบบ ระยะเวลาการช�ำระเงนิ
1. ภาษโี รงเรือนและทีด่ นิ • ยนื่ แบบ ภ.ร.ด.2 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ • ชำ� ระเงนิ ค่าภาษีภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ถดั จากวันทีไ่ ดร้ ับ
ใบแจ้งการประเมิน (ภ.ร.ด.8)
2. ภาษปี ้าย •ยืน่ แบบ ภ.ป.1 ภายในเดือนมีนาคม • ชำ� ระเงนิ คา่ ภาษภี ายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั ใบแจง้ การ
•ปา้ ยทต่ี ดิ ตงั้ ใหมห่ รอื มกี ารเปลยี่ นแปลงหลงั จากเดอื นมนี าคม ประเมนิ (ภ.ป.3)
ใหย้ ืน่ แบบภายใน 15 วัน
3. ภาษบี �ำรงุ ทอ้ งท่ี •ยน่ื แบบ ภ.บ.ท.5 ภายในเดอื นมกราคม และใหไ้ ดเ้ ปน็ เวลา •ช�ำระเงนิ คา่ ภาษภี ายใน เดอื นเมษายน ยกเวน้ ในปีทีม่ ีการ
สปี่ ี ตีราคาปานกลางที่ดินใหม่ ช�ำระเงินค่าภาษีภายใน 30 วัน
•ถ้าท่ีดินมีการเปล่ียนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเจ้าของ ให้ยื่น นบั แต่วันท่ไี ด้รับใบแจง้ การประเมนิ (ภ.บ.ท.9)
แบบฯ ภายใน 30 วัน นับต้ังแต่วันที่มีเหตุแห่งการเปล่ียน
แปลงน้ันๆ
สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เตมิ ที่ฝา่ ยรายได้ ทกุ สำ� นกั งานเขต หรอื กองรายได้ ส�ำนักการคลัง กรุงเทพมหานคร
โทร. 0 2224 8266, 0 2221 3811 www.bangkok.go.th/
รับชมไดท้ างชอ่ ง PSI 221 www.bangkok.go.th/fiic