20 เหตผุ ล ที่ไม่ควรกลวั GDP ติดลบ
เมือ่ วันจนั ทรท์ ่ี 15 พฤศจิกายน 2564 สำนักงานสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ "สภาพฒั น"์
ประกาศอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ ( GDP Growth)
ไตรมาสที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน) 2564 หดตัวรอ้ ยละ
0.3 ต่อปี
หลายคนตกใจเพราะจำได้ว่าเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 2
(เมษายน - มิถุนายน) 2564 ขยายตัวตั้งร้อยละ 7.6 ต่อปี จากพุ่งอยู่ดี ๆ กลับมาร่วงติดลบ !!!
แตผ่ มมองวา่ หากเราไดอ้ ่านรายงานฉบับนท้ี ุกหนา้ เราจะพบวา่ การท่ี จีดีพีติดลบ รอบน้ี ไม่ไดน้ ่ากลัว
อย่างท่คี ดิ ด้วยเหตผุ ล 20 ประการ ไดแ้ ก่
1) ตัวเลขที่ออกมาไมไ่ ดเ้ หนอื ความคาดหมายอะไร ทกุ หนว่ ยงานทมี่ แี บบจำลองในการประมาณ
การเศรษฐกจิ ก็คาดการณว์ ่าจะหดตัวเหมือน ๆ กนั หมด เพราะเปน็ ไตรมาสทีเ่ ราโดนโจมตจี ากโควิด-19
ระลอกใหม่ สายพนั ธุ์ใหมพ่ อดี อาจจะต่างตรงทีห่ ดตวั ร้อยละเทา่ ไร ซง่ึ การหดตวั รอ้ ยละ 0.3 ยังหดตัว
น้อยกวา่ ทค่ี าดการณ์ด้วยซำ้ ไป
2) ตวั เลขทีอ่ อกมาอย่าเอาไปเทยี บกบั ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน – มิถนุ ายน) ทขี่ ยายตวั ไดส้ ูงถึง
ร้อยละ 7.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพราะไตรมาสที่ 2 ปีก่อน ที่ใช้เป็นฐาน
ในการคำนวณตำ่ ผดิ ปกตคิ ือหดตวั ถงึ ร้อยละ 12.1 ต่อปี เพราะเปน็ ไตรมาสท่โี ดนโจมตีของวกิ ฤตโิ ควดิ -19
3) มาตรการที่ใสล่ งไป มันไดผ้ ล เพราะถ้าไม่ได้ผล ตัวเลขทีอ่ อกมานา่ จะหดตัวมากกวา่ นี้
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ มาตรการท่ีเขา้ มาชว่ ยพยงุ กำลงั ซอื้ บรรเทาภาระคา่ ครองชพี ของประชาชนกลมุ่ ตา่ ง ๆ
4) ผลผลิตภาคการเกษตรยังขยายตวั ได้ดีถึงร้อยละ 4.3 ต่อปี สะท้อนว่าพี่นอ้ งเกษตรกร
ยังมรี ายไดเ้ พิม่ อยู่ แมร้ าคาพชื ผลบางรายการกลบั มาหดตัว ผลผลิตที่ขยายตัวได้ดี ได้แก่ ขา้ วเปลือก
ยางพารา ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์ สับปะรด มันสำปะหลงั ปาล์มน้ำมนั รวมทั้งปศสุ ัตวแ์ ละประมง
5) สาขาขายสง่ ขายปลีกขยายตวั ตอ่ เนือ่ งที่ร้อยละ 3.3 ต่อปี สะท้อนถึงการทำมาค้าขาย
ยงั ดำเนนิ การได้ โดยมีปัจจยั สนบั สนนุ จากการผลติ สนิ คา้ เกษตรและการนำเขา้ สินค้าทขี่ ยายตัวตอ่ เนอื่ ง
6) สาขาข้อมูลข่าวสารและการสอื่ สารขยายตัวเพม่ิ ขึ้นเป็นร้อยละ 6.8 ต่อปี สะท้อนถึงโอกาส
ของธุรกิจในยุค Digital Transformation และ Internet of Things โดยการขยายตัวเป็นผลมาจาก
กิจกรรมโทรคมนาคม การจัดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการบริการสารสนเทศ ท่ีขยายตัวตอ่ เนื่อง
7) การบรโิ ภคภาคเอกชนไม่หดตวั ลงไปมากนกั เพราะไดอ้ านสิ งคจ์ ากมาตรการตา่ ง ๆ ชว่ ยพยงุ
เอาไว้ เชน่ โครงการคนละครึ่ง โครงการเพิม่ กำลงั ซื้อแกผ่ ้มู ีบตั รสวัสดกิ ารแห่งรัฐ โครงการเยียวยา
ผปู้ ระกันตน มาตรา 33 39 และ 40 ตลอดจนมาตรการบรรเทาภาระค่าไฟฟ้าและน้ำประปา เป็นต้น
8) การบริโภคหมวดอาหารขยายตวั รอ้ ยละ 2.7 ต่อปี สะท้อนถึงประโยชน์จากโครงการ
คนละครึ่งและโครงการเราชนะ โดยเฉพาะการบริโภคอาหารและเครอื่ งดม่ื ทีไ่ มม่ แี อลกอฮอลย์ งั ขยายตวั
ไดท้ ัง้ 2 หมวดยอ่ ยทีร่ อ้ ยละ 2.8 และ 1.8 ต่อปี ตามลำดับ
9) การบริโภคหมวดที่อยู่อาศัยขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อปี สะท้อนถึงผลบวกของมาตรการ
Work from Home และลดการเดนิ ทางออกจากบ้าน ดูจากการขยายตัวของคา่ ใชจ้ ่ายในการใช้ไฟฟ้า
กา๊ ซ และเชื้อเพลงิ อ่นื ๆ
10) การบริโภคหมวดการสื่อสารขย ายตัวร้อยละ 2.2 ต่อปี สะท้อนถึงการเติบโต
ของการคา้ ขายออนไลน์ในชว่ งวกิ ฤตโิ ควดิ -19 เปน็ ผลจากการขยายตัวของการใชจ้ ่ายดา้ นบริการสอื่ สาร
และบรกิ ารไปรษณยี ์
11) การใช้จา่ ยของรัฐบาลในการบริโภคขยายตัวรอ้ ยละ 2.5 ต่อปี สะทอ้ นถึงการทำหน้าที่
ของรัฐบาลในการออกมาตรการช่วยเหลือทางสังคม (Social Assistance) เนื่องจากการโอนเงนิ
สวสั ดิการสงั คมท่ีไมเ่ ปน็ ตวั เงนิ ส่วนหน่งึ มาจากการเพ่มิ ข้ึนของคา่ ใช้จา่ ยชว่ งวิกฤติโควดิ -19 ของกองทนุ
หลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติและกองทนุ ประกนั สงั คม
12) การลงทุนภาคเอกชนในดา้ นเครื่องจักรเครื่องมือยังคงขยายตัวได้รอ้ ยละ 3.7 ต่อปี
สะท้อนถงึ ความเชอ่ื ม่นั ในการลงทนุ ทมี่ ีทิศทางทด่ี ขี ึ้น สอดคลอ้ งกับการนำเข้าสนิ คา้ ทนุ และการผลิต
สินค้าบางชนิด และเป็นการพยุงให้การลงทุนภาคเอกชนยังขยายตัวได้ตอ่ เนื่อง แม้การลงทนุ
ดา้ นการกอ่ สร้างของภาคเอกชนจะหดตัว
13) การเพม่ิ ข้ึนของสนิ ค้าคงเหลือ ซ่งึ มีมูลคา่ ประมาณ 211,000 ล้านบาท ซงึ่ สะท้อนการ
ผลิตสนิ คา้ สะสมไวร้ อขายในประเทศและส่งออก โดยเฉพาะอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์และ
อปุ กรณ์ เครือ่ งประดบั อัญมณี ผลิตภัณฑป์ โิ ตรเลยี มและนำ้ มนั ดบิ สอดคลอ้ งกับทศิ ทางการฟน้ื ตัวของ
เศรษฐกิจและคำสง่ั ซือ้ จากตา่ งประเทศ
14) การสง่ ออกสนิ คา้ ขยายตวั ตอ่ เนอ่ื งท่ีรอ้ ยละ 12.3 ตอ่ ปี สะท้อนว่าเครือ่ งยนตก์ ารส่งออก
ยังช่วยประคบั ประคองเศรษฐกิจที่โดนพิษโควิด-19 โดยสินค้าเกษตรขยายตวั ได้ดีตามอุปสงค์
จากประเทศจนี รวมถึงการส่งออกรถยนตน์ ่งั รถกระบะ และชิ้นสว่ นยานยนต์ ทขี่ ยายตัวไดด้ ีตามตลาด
อาเซียน ส่วนสนิ คา้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า เครอ่ื งจกั ร และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลยี มกย็ ังขยายตัวได้
ในระดบั สูงเชน่ กัน
15) การนำเขา้ สินคา้ ขยายตวั ถงึ รอ้ ยละ 26.8 ต่อปี ชว้ี ่าภาคเอกชนยังมกี ารลงทุนและผลิต
สนิ คา้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยการนำเข้าขยายตวั ท้ังสินค้าอุปโภคบรโิ ภค เชน่ อาหาร เครือ่ งด่ืม เปน็ ต้น สนิ ค้า
ทุนก็ขยายตวั ตามการขยายตวั ของการลงทนุ ในเครื่องจักรเครื่องมือของภาคเอกชน รวมถึงสินคา้ ทน่ี ำเขา้
ผลติ เพ่อื สง่ ออกดว้ ย
16) รายรับจากภาคบริการเข้าประเทศขยายตัวรอ้ ยละ 11.8 ตอ่ ปี สะท้อนว่าไทยยงั มีรายรับ
จากบรกิ ารขนสง่ สินค้า มาจากค่าบริการขนสง่ สนิ ค้าท่ขี ยายตวั สูงตามปรมิ าณการค้าระหว่างประเทศ
ทฟี่ ้ืนตัวไดด้ ีขน้ึ แมว้ ่าบรกิ ารรับจากการโดยสารเขา้ มาทอ่ งเที่ยวยงั คงหดตวั
17) การเปิดประเทศทำใหแ้ นวโนม้ นักทอ่ งเท่ยี วต่างประเทศเข้ามามากข้ึนเปน็ 45,000 คน
ผลจากโครงการภเู ก็ตแซนด์บอ็ กซท์ ำให้นกั ทอ่ งเท่ยี วตา่ งประเทศเข้ามามากขึ้น และชว่ ยเพ่มิ ความคึกคกั
ใหแ้ ก่นักทอ่ งเทย่ี วชาวไทยดว้ ย
18) เศรษฐกิจไตรมาส4 (ตุลาคม – ธันวาคม) 2564 จะขยายตัวดีขึ้น เพราะเป็นไตรมาส
ที่จำนวนผู้ตดิ เชื้อและผู้เสียชีวิตลดลงชัดเจน มีการเร่งฉีดวัคซีนเพ่ิมขึ้นชัดเจน จังหวัดสีแดงเขม้
ลดลงเหลือ 6 จงั หวดั จากเดิม 29 จังหวัด กจิ กรรมทางเศรษฐกิจทำไดม้ ากขน้ึ และมกี ารเปิดประเทศ
ใหน้ ักท่องเท่ียวตา่ งประเทศเขา้ มาหลงั จากอ้นั มานาน
19) เสถยี รภาพเศรษฐกิจยงั อยูใ่ นระดบั มนั่ คงทกุ ด้าน เงินเฟอ้ ต่ำ ว่างงานต่ำ หน้ีสาธารณะ
อยู่ใต้เพดานทตี่ ั้งไว้ ทุนสำรองระหวา่ งประเทศอยูใ่ นระดบั สูง และสงู กวา่ หนี้ตา่ งประเทศระยะส้ันมาก
จำนวนคนจนปี 2563 เพม่ิ ไมม่ ากนัก ซึ่งเป็นสัญญาณทดี่ ตี อ่ มายงั ปี 2564 และ 2565
20) ปี 2565 เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวได้ใกล้ระดับศักยภาพที่ควรจะเป็น โดยท้ัง
กระทรวงการคลังและ สศช. ประมาณการตรงกันว่าในปี 2565 เศรษฐกิจจะขยายตวั ในอตั ราเร่ง
ทร่ี อ้ ยละ 4.0 ต่อปี และสงู กว่าปี 2562 กอ่ นเกดิ วกิ ฤติโควดิ -19
จะเหน็ ว่าเครื่องยนตฟ์ นั เฟอื งของเศรษฐกิจมหภาคยังทำงานได้ ดังน้นั ภายใต้สถานการณ์
ที่ GDP หดตวั คร้งั นี้ เรายงั เห็นสมรรถนะของเศรษฐกจิ ทจี่ ะฟ้ืนตัวและเตบิ โตไดอ้ ยา่ งแข็งแรงมากขึ้น
ในอนาคต ... GDP ที่ตดิ ลบ จึงไม่ไดน้ า่ กลัวอยา่ งที่คิดครบั .
ทีม่ า : หนงั สอื พิมพ์กรุงเทพธรุ กจิ