The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร Bangkok Economy Vol.43

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสาร Bangkok Economy, 2020-06-18 23:24:05

วารสาร Bangkok Economy Vol.43

วารสาร Bangkok Economy Vol.43

เชญิ ชวนตอบแบบสำ� รวจ รา งผังเมอื งรวมกรุงเทพมหานคร

(ปรับปรงุ ครง้ั ที่ 4)

CONTENTS
ปท ่ี 15 ฉบบั ที่ 1/2563 (ตลุ าคม 2562 - มกราคม 2563) Vol.43
Bangkok trend 3
บรรณาธกิ ารแถลง กรุงเทพมหานครเมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดบั โลก

สวัสดีท่านผู้อ่านวารสาร Economy ทุกท่าน คลังบางกอก 5
เร่ิมต้นปีงบประมาณ 2563 ทีมงานก็ยังคงเลือกสรร
เน้ือหาสาระ และบทความดีๆ ที่น่าสนใจ และเป็นประโยชน์แก่ทา่ นผอู้ า่ นในเมอื งหลวง งบประมาณป พ.ศ. 2563
ของเรา ปีนี้พวกเราอาจจะเร่ิมต้นปีกันด้วยภาวะอากาศที่ไม่ค่อยดีนักกับสถานการณ์ พฒั นากรุงเทพมหานครเมืองนา่ อยู่
PM 2.5 ที่ทุกฝายก�าลังร่วมมือกันแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ในระหว่างนี้ก็อยากให้ทุกคน
รักษาสุขภาพ และดูแลตัวเองตามค�าแนะน�าที่ออกมาจากภาครัฐ เช่ือว่าสถานการณ์นี้ เศรษฐกจิ บางกอก 8
จะผา่ นพน้ ไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สว่ นเนอ้ื หาของวารสารฯ ฉบบั นเี้ รามาเรมิ่ กนั ดว้ ยคอลมั นใ์ หม ่ รา่ งผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี 4)
Bangkok Trend ท่ีน�าเน้ือหาฮอตฮิตน่าสนใจมาให้ได้ติดตามกัน เช่นในฉบับนี้จะมา
บอกเล่าถึงเร่ืองน่ายินดีของกรุงเทพมหานครจากการส�ารวจของมาสเตอร์การ์ดที่ได้ให้ สาระภาษี 11
เมืองของเราเป็นเมืองอันดับหนึ่งท่ีมีนักท่องเที่ยวท่ัวโลกเดินทางมาพักแรมเพื่อ
ท่องเทีย่ วเป็นปที ี่ 4 ตดิ ต่อกันกับ “กรุงเทพมหานครเมอื งแหง่ นักทอ่ งเทยี่ วระดบั โลก” บทบาท กทม. กับการจัดเกบ็
แลว้ ไปต่อกันที ่ “งบประมาณป  2563 พฒั นากรงุ เทพมหานครเมอื งนา่ อย”ู่ ทจี่ ะมาบอก “ภาษีทีด่ ินและส่ิงปลูกสราง”
กล่าวถึงงบประมาณที่ได้มีการจัดสรรให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ชาวกรุงเทพมหานคร
ในคอลัมน์คลังบางกอก และอีกหน่ึงเร่ืองใหม่ท่ีน่าสนใจในการเปิดศักราชใหม่ Creative Bangkok 14
คือเราชาวกรงุ เทพมหานครจะมผี งั เมอื งฉบบั ใหมไ่ ดใ้ ชก้ นั หลงั จากทใี่ ชฉ้ บบั เกา่ กนั มานาน Product Franchise
โดยผังเมืองฉบับน้ีมีความสอดคล้องกับสภาวการณ์และส่ิงแวดล้อมของเมือง
ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเมืองและสามารถแข่งขันกับมหานครอ่ืนๆ ทวั่ กรงุ สรางรายไดส ูง ลงทุนเร่มิ ตนทีห่ ลกั พนั
ของโลกได้ และต่อกันด้วยเร่ืองราวน่าสนใจเก่ียวกับการจัดเก็บภาษีท่ีดินและ
ส่ิงปลูกสร้างที่จะมีการจัดเก็บภาษีใหม่แบบใหม่ที่จะเริ่มใช้กันในปีน้ี กับบทบาท กทม. On Trade 16
กับการจัดเก็บ “ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง” และอีกหน่ึงคอลัมน์ใหม่แกะกล่องที่จะ ขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ New Growth Engine
น�าเรื่องราวน่าสนใจเก่ียวกับการสร้างรายได้ ในฉบับนี้เอาใจคนท่ีอยากเป็นเจ้าของ
ธุรกิจแต่ไม่มีเงินลงทุนมากนัก ไม่ใช่เร่ืองยากอีกต่อไปติดตามอ่านกันได้ใน “Product Smart Money 18
Franchise ท่ัวกรุง สรา้ งรายไดส้ ูง ลงทนุ เริม่ ต้นทีห่ ลกั พัน” และติดตามอีกหนงึ่ เรื่อง
น่าสนใจ “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ New Growth Engine” ในคอลัมน์ On Trade แนวโนมเศรษฐกจิ โลก 2563
มาดูกันว่ากลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคต จะท�าให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้าม
ผ่านการเป็นประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางได้หรือไม่ และปิดท้ายกันด้วย “แนวโน้ม รอบรัว้ บางกอก 22
เศรษฐกจิ โลก 2563” จะเปน็ อยา่ งไรกนั บา้ งตดิ ตามกนั ไดใ้ นคอลมั นใ์ หม ่ Smart Money บทบาท ภารกจิ และนโยบายการขบั เคลือ่ นองคก ร
สุดท้ายน้ีหวังว่าวารสารเล่มน้ีท�าให้ท่านผู้อ่านได้รับสาระประโยชน์ที่คณะผู้จัดท�า
น�าเสนอ โดยท่านสามารถให้ค�าแนะน�า และเสนอความเห็นเพ่ือน�ามาปรับปรุงวารสาร ของคณะผบู ริหาร กทม.
ด้วยการตอบแบบส�ารวจโดยสแกน QR Cord ได้ท่ีหน้าปกวารสารของเรา...
นางขวญั ชนก ธญั ญศรสี งั ข ์ จดั ทาํ โดย :
บรรณาธกิ าร สํานกั งานเศรษฐกิจการคลัง
สาํ นกั การคลงั กรุงเทพมหานคร
คณะผูจ้ ัดทาํ วารสารบางกอก ECONOMY โทร. 0 2224 1916 โทรสาร 0 2225 1945
ดำวนโหลดวำรสำรยอ้ นหลัง :
ประธำนทีป่ รึกษำ นำงศิลปสวย ระวแี สงสรู ย ปลัดกรงุ เทพมหำนคร
เว็บไซตศ ูนยข้อมูลเศรษฐกจิ กำรคลังและกำรลงทนุ ของกรงุ เทพมหำนคร
รองประธำนทีป่ รกึ ษำ นำงวัลยำ วัฒนรัตน รองปลัดกรุงเทพมหำนคร
www.bangkok.go.th/fiic
ที่ปรกึ ษำ นำยธรรมรัตน มุกมคี ำ่ ผอู้ �ำนวยกำรสำ� นกั กำรคลงั จดั ทาํ ตน้ ฉบบั ถายภาพ ออกแบบ และพิมพ :
บรษิ ัท ดอกเบ้ยี จํากัด
โทร. 0 2272 1169 - 72 โทรสาร 0 2272 1173
Email : [email protected], [email protected]

นำยชนะพนธ์ิ ศรรี ัตนพฒั น รองผู้อ�ำนวยกำรสำ� นกั กำรคลงั

นำยปย ะ พดู คลอ่ ง รองผูอ้ �ำนวยกำรสำ� นกั กำรคลงั

บรรณำธกิ ำร นำงขวัญชนก ธัญญศรสี ังข รกั ษำกำรในตำ� แหนง่ ผู้อ�ำนวยกำรสำ� นกั งำนเศรษฐกจิ กำรคลัง

กองบรรณำธกิ ำร นำยภำณุพงศ จันทะประเทศ , น.ส.รชั ฎำวัลย สขุ อุดม , น.ส.ปภัสสร จ�ำเนียร,

น.ส.จนั ทมิ ำ ผวิ จนั ทรส ด , นำงสนุ พี ร เรอื นจนั ทร , นำยกำรนั ต อยสู่ ำ� ลี , นำยกำ� พล ฟก แสง

กรุงเทพมหานคร
เมืองแหงนักทองเทีย่ วระดับโลก

กรุงเทพมหานครอาจไม่ใช่จังหวัดท่ีได้รับความนิยมเพื่อการท่องเท่ียว
ของคนไทยมากนกั แตส่ า� หรบั ชาวตา่ งชาติแลว้ กรงุ เทพมหานครยังคงครองอันดบั 1
ของจา� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วทวั่ โลกทเ่ี ดนิ ทางมาพกั แรมเพอ่ื ทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ปที ี่ 4 ตดิ ตอ่ กนั
จากการส�ารวจของมาสเตอร์การ์ด (GDCI) ซ่ึงประกอบด้วยการส�ารวจข้อมูลเฉพาะ
ของภูมิภาคคือ ผลส�ารวจจุดหมายปลายทางในเอเชียแปซิฟิก หรือ APDI ซ่ึงเป็น
การจัดอันดับเมืองที่มีจ�านวนนักเดินทางจากทั่วโลกเข้ามาพักแรม และมีการ
จับจ่ายใช้สอยในระหว่างการเดินทาง อีกท้ังกรุงเทพฯ ยังครองอันดับหน่ึงติดต่อกัน
เปน็ ปีที่ 9 ในผลสา� รวจของเอเชียแปซิฟิกอีกด้วย
โดยจ�านวนนักท่องเที่ยวพักแรมในปี 2018 ในกรุงเทพฯ เพิ่มข้ึนจาก
ปี 2017 ซ่ึงอยู่ท่ี 21.1 ล้านคน ท�าให้น�าสิงคโปร์ซึ่งอยู่ในอันดับสองด้วยจ�านวน
นักท่องเที่ยว 14.7 ล้านคนในปี 2018 รวมถึงจุดหมายปลายทางอีก 2 แห่ง
ในประเทศไทย คอื จงั หวัดภเู กต็ และพทั ยา จงั หวัดชลบรุ ี ก็อยใู่ น 10 อันดบั เมือง
ยอดนิยมในเอเชียแปซิฟิกที่มีนักท่องเที่ยวมาค้างแรม โดยภูเก็ตอยู่ในอันดับ 7
(มีจ�านวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่ค้างแรม 9.9 ล้านคน) และพัทยาอันดับ 8

บางกอก ECONOMY 3

ทั้งโรงแรมที่พัก สายการบิน สนามบิน
ร ว ม ถึ ง จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง ท่ี ไ ด ้ รั บ
ค ว า ม นิ ย ม ป ร ะ จ� า ป ี 2 0 1 9 โ ด ย
กรุงเทพมหานครได้รับคัดเลือกให้
อยู่ในอันดับท่ี 1 ในสาขา Favourite
Leisure City in the World รางวัล
เมืองท่องเท่ียวที่ได้รับความนิยมท่ีสุด
ในโลก ประจา� ป ี 2019
นอกจากน้ ี ผู้ว่า กทม. ไดก้ ล่าว
ถึงรางวัลท่ีได้รับว่า “กรุงเทพมหานคร
จะยังคงเดินหน้าส่งเสริมการท่องเที่ยว
ท้องถ่ิน สถานท่ีท่องเที่ยวสวยงามและ
ทรงคุณค่า ของดี 50 เขต รวมถึง
(9.4 ล้านคน) ทา� ใหป้ ระเทศไทยเป็นประเทศเดียวในเอเชียแปซิฟิกท่ีมเี มืองยอดนยิ ม พัฒนากรุงเทพฯ ในภาพรวมทั้งด้าน
ของนักท่องเท่ียวถึง 3 เมืองด้วยกัน และจากผลการส�ารวจของ APDI ระบุว่า ความปลอดภัย คุณภาพอาหาร ความ
จดุ หมายปลายทางยอดนยิ ม 5 แหง่ ในเอเชยี แปซฟิ กิ ของนกั เดนิ ทางทวั่ โลกในป ี 2018 สะอาด ภมู ิทัศนแ์ ละความสวยงามของ
คือ กรุงเทพฯ สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ โตเกียว และโซล โดยท้ัง 5 เมืองได้ต้อนรับ กรุงเทพฯ เพื่อสร้างความประทับใจ
นักเดินทางถึง 1 ใน 5 หรือร้อยละ 22 ของนักเดินทางประเภทค้างแรมท่ีเดินทาง และคมุ้ คา่ ตอ่ การเลอื กมาทอ่ งเทยี่ ว ทง้ั ยงั
มายัง 161 เมืองและศูนย์กลางของภูมิภาคน้ี นอกจากนี้ ทั้ง 5 เมืองยังท�าให้เกิด กระตุ้นเศรษฐกิจ และช่วยสร้างรายได้
การจับจ่ายใช้สอยของนักเดินทางจากทั่วโลกกว่า 1 ใน 4 หรือร้อยละ 25.2 ให้แก่พ่ีน้องประชาชนในกรุงเทพฯ
ทเ่ี ดินทางมายังภมู ภิ าคนี้ ซ่ึงพวกเราทุกคนก็ต้องร่วมมือกัน
นอกจากการจัดอันดับให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองสุดยอดจุดหมายปลายทาง ดูแลรอบๆ บ้าน ของเราให้สะอาด
ในเอเชียแปซิฟิกแล้ว ในปี 2019 APDI ยังมีข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมเก่ียวกับ รว่ มกันเป็นเจ้าบ้านทด่ี ี และมอบสิง่ ดีๆ
การเติบโตด้านการท่องเท่ียวของไทย รวมท้ังข้อมูลเร่ืองการเดินทางท่องเท่ียวของ ให้กับนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเยือน
คนไทย จากการส�ารวจระบุว่า ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมของ กรุงเทพฯ ด้วยรอยยิ้มและความ
นักเดินทางจากจีนแผ่นดินใหญ่ โดยร้อยละ 21.1 เลือกประเทศไทยเป็นเป้าหมาย ประทบั ใจ”
การเดินทางอันดับ 1 ตามมาด้วยญ่ีปุนและเกาหลีใต้ ประเทศไทยยังเป็นจุดหมาย
ปลายทางอันดับ 1 ของนักเดินทางประเภทพักค้างคืนจากมาเลเซียและอินเดีย
อีกด้วย ผลการส�ารวจยังชี้ให้เห็นว่านักท่องเท่ียวไทย
เดนิ ทางทอ่ งเที่ยวในภมู ิภาคมากขึ้น
ล่าสุดกรุงเทพมหานครได้คว้ารางวัลเมือง
ท่องเท่ียวที่ได้รับความนิยมมากท่ีสุดในโลก จากงาน
ประกาศรางวัล The 2019 Business Traveller China
Awards Ceremony ซึ่งจัดโดยนิตยสารช่ือดังของจีน
Business Traveller China เป็นรางวัลที่มอบให้กับ
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว การบริการ

4 บางกอก ECONOMY

งบประมาณ ป พ.ศ. 2563
พัฒนำกรุงเทพมหำนครเมืองน่ำอยู่

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรุงเทพมหานครยังคงเดินหน้าพัฒนา
กรุงเทพมหานครเพื่อเป็นเมืองน่าอยู่และก้าวสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชีย
อย่างตอ่ เนอื่ ง โดยได้มีการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจ�าป ี เปน็ จา� นวน 83,398
ล้านบาท ซ่ึงเพ่ิมขึ้นจากงบประมาณรายจ่ายประจ�าปี พ.ศ. 2562 ประมาณ 3,000
ลา้ นบาท หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.67 เพือ่ สนับสนนุ การด�าเนินการตามแผนยทุ ธศาสตร์
พฒั นากรุงเทพมหานคร 7 ดา้ น ประกอบดว้ ย

1. ดำ้ นมหำนครปลอดภยั
เสรมิ สรา้ งความปลอดภยั ใหก้ บั ประชาชน ไมว่ า่ จะจากปญั หาดา้ นมลพษิ
จากส่งิ แวดล้อม ปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติด ปัญหาจากอบุ ตั ิเหตหุ รืออุบตั ิภยั
รวมไปถึงโรคภยั ไขเ้ จบ็ ตา่ ง ๆ

2. ด้ำนมหำนครสีเขยี ว สะดวกสบำย
พัฒนาและดูแลคุณภาพชีวิตคนเมืองด้วยการปรับปรุงภูมิทัศน์
เพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียว พัฒนาระบบขนส่งมวลชน ตลอดจนพัฒนาการใช้พลังงานและ
พลังงานทางเลือก

บางกอก ECONOMY 5

3. ด้ำนมหำนครสำ� หรับทกุ คน
สร้างโอกาสการเข้าถึงส่ิงอ�านวยความสะดวก สวัสดิการ
และการสงเคราะห ์ และการดูแลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ คนพิการ และ
ผู้ด้อยโอกาส สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจโดยการสร้างโอกาสทางอาชีพ
และรายไดท้ มี่ นั่ คง รวมถงึ เขา้ ถงึ สวสั ดกิ ารและแหลง่ เงนิ ทนุ ไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี ม
สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา ตลอดจนการเสรมิ สรา้ งสังคมพหวุ ฒั นธรรม

4. ดำ้ นมหำนครกระชับ
พัฒนาเมืองให้เติบโตอย่างมีระเบียบ มีการใช้ที่ดินอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีศูนย์ชุมชนย่อย เป็นระบบ ตามล�าดับความส�าคัญและ
ศักยภาพพนื้ ที่

5. ด้ำนมหำนครประชำธิปไตย
เสริมสร้างการบูรณาการและเปิดโอกาสให้ประชาชนได้
เข้ามามีส่วนร่วมก�าหนดทิศทาง หรือนโยบายในการพัฒนาเมือง รวมถึง
รว่ มตดิ ตาม และตรวจสอบการดา� เนินงาน

6. ด้ำนมหำนครแหง่ เศรษฐกิจและกำรเรียนรู้
ส่งเสริมโอกาสทางธุรกิจและการลงทุน การท่องเท่ียว
รวมถึงยกระดับการเป็นเมืองแห่งการจัดประชุม นิทรรศการและ
การจัดงานนานาชาติ

7. ดำ้ นกำรบริหำรจดั กำรเมอื งมหำนคร
พัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย แผนและการประเมินผล
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การคลังและงบประมาณ และการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ

อีกทั้งยังไดน้ �านโยบาย NOW : Moving forward ท�าจริงเหน็ ผลจรงิ ของผูว้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร (พลตา� รวจเอก
อัศวนิ ขวัญเมอื ง) มาประกอบในการพิจารณาด�าเนินการโครงการต่าง ๆ
ซึ่งงบประมาณท่ีจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ก็ยังคงเน้นหนักไปในเรื่องของการบรรเทาปัญหาความเดือดร้อน
ของประชาชนควบคู่ไปกันกับการพัฒนาเมือง จึงได้มีการจัดสรรงบประมาณกระจายไปยังส�านักงานเขตทั้ง 50 เขต เน่ืองจาก
เป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าท่ีในการดูแลความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชนในแต่ละพ้ืนท่ีเขตของกรุงเทพมหานคร ซ่ึงจะท�าให้
การบริหารจัดการงบประมาณในส่วนนเ้ี ป็นไปอยา่ งสะดวกรวดเรว็ และรองรับตอ่ การใหบ้ รกิ ารและชว่ ยเหลือประชาชนไดอ้ ยา่ ง
มีประสิทธิภาพ ทันท่วงที รวมถึงยังได้มีการจัดสรรเพ่ิมงบประมาณในด้านการดูแลและท�านุบ�ารุงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ
อาทิ การซ่อมแซมถนน ไฟฟ้า ตลอดจนสิ่งสาธารณะประโยชน์ต่าง ๆ เพ่ือความสะดวกและปลอดภัยในการด�าเนินชีวิตของ
ประชาชน นอกจากน้ี อีกหนึ่งงบประมาณที่ส�าคัญ คือ งบประมาณสนับสนุนงานด้านการบริหารการศึกษาท่ีได้มีการจัดสรร
งบประมาณกระจายใหแ้ กโ่ รงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร เพอื่ นา� ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาภายในโรงเรยี น ซง่ึ จะทา� ใหแ้ ตล่ ะ
โรงเรยี นสามารถใชง้ บประมาณในสว่ นนเี้ พอื่ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นาการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งถกู จดุ เหมาะสม และรวดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ
การจัดท�างบประมาณประจ�าปี 2563 ของกรุงเทพมหานครนั้นยังคงเป็นการจัดท�างบประมาณแบบสมดุล ซ่ึงจาก
วงงบประมาณทีจ่ ดั สรร จา� นวนกวา่ 83,398 ลา้ นบาท แบง่ เป็น งบประมาณรายจ่ายกรุงเทพมหานคร จา� นวน 83,000 ลา้ นบาท

6 บางกอก ECONOMY

ลา้ นบาท 27,737
30000

กกาา5รร.พ5ศ8ัฒึก%ษนาาแล7.ะ6บ5ร%กิ ารสงั คม 25000 24,094 25,877 25,474
ดานการบริหารท่ัวไป
14,743 15,934
กา8ร.ส1า1ธ%ารณสุข การบริหารงานท่วั ไป 20000 17,711 11,649 13,029 ดา นการรักษาความสะอาด
30.69% 15000 และความเปน ระเบียบเรียบรอย
10000 13,089 7,459 6,559 6,281
การระบายน้า� และบ�าบดั น�า้ เสยี ควากม1าเป6ร.ร็น3กัร7ษะ%เาบคยี วบาเมรสียะบอราอ้ ดยและ 5000 6,827 5,936 6,086 15,774 16,362
11.88% 12,415 12,978 ดานการโยธาและระบบจราจร
การโยธาและระบบจราจร 9,135 6,141 5,077
19.72% 7,109 4,142 6,490 13,586
5,339 2561 6,207 ดา นการระบายนาํ้ และบําบดั น้าํ เสยี
5,339 2560 4,529
9,863
0 2559 2562 46,,6663,47453ดดด3า าานนนพกกฒัาารรนศสาึกาแธษลาาะรบณรสิกุขารสังคม

ปง บประมาณ
2563 พ.ศ.

กราฟแสดงสดั สว่ นการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ย กทม. ประจา� ป  2563 กราฟแสดงงบประมาณรายจา่ ย กทม. ประจา� ป  2559-2563

และงบประมาณรายจา่ ยของการพาณชิ ยข์ องกรงุ เทพมหานคร โดยหน่วยงานท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ
จ�านวน 398 ล้านบาท โดยในส่วนของงบประมาณรายจ่าย มากท่ีสุด ไดแ้ ก ่ ส�านกั การโยธา จ�านวน 9,230 ลา้ นบาท หรือ
ของกรงุ เทพมหานครนนั้ แบง่ ออกเปน็ ดา้ นบรหิ ารจดั การในดา้ น คิดเป็นร้อยละ 11.12 ส�านักการระบายน�้า จ�านวน 8,213
การบรหิ ารงานทั่วไป จา� นวน 25,475 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 9.90 ส�านักสิ่งแวดล้อม จ�านวน
30.69 ลดลงจากปีงบประมาณก่อน จ�านวน 2,263 ล้านบาท 7,542 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09 และสา� นกั การจราจร
หรือคิดเป็นร้อยละ 8.16 ด้านการรักษาความสะอาดและ และขนส่ง จ�านวน 4,327 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.21
ความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย จา� นวน 13,587 ลา้ นบาท คดิ เปน็ ตามล�าดับ ซ่ึงในส่วนของส�านักงานเขตท่ีได้รับการจัดสรร
ร้อยละ 16.37 เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณก่อน จ�านวน 608 งบประมาณมากที่สุด ได้แก่ ส�านักงานเขตหนองจอก จ�านวน
ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.68 ด้านการโยธาและระบบ 589 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.71
จราจร จา� นวน 16,362 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19. 72 เพม่ิ ขน้ึ นอกจากน ้ี กรุงเทพมหานครยังไดจ้ ัดสรรงบประมาณ
จากปีงบประมาณก่อน จ�านวน 558 ล้านบาท หรือคิดเป็น กลางไว้อีกจ�านวนหนึ่ง เพ่ือใช้ส�าหรับการแก้ไขปัญหาความ
รอ้ ยละ 3.73 ดา้ นการระบายนา�้ และบา� บดั นา้� เสยี จา� นวน 9,863 เดือดร้อนเร่งด่วนให้กับพี่น้องประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 11.88 เพ่มิ ข้ึนจากปีงบประมาณกอ่ น อาท ิ ปญั หาน�้าท่วม ถนนชา� รุด หรือเรอื่ งเดอื ดร้อนอืน่ ๆ ท่ีไม่
จ�านวน 3,581 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 57.00 ด้าน สามารถร้ังรอเพื่อของบประมาณในปถี ดั ไปได้
การพฒั นาและบริการสงั คม จา� นวน 6,346 ล้านบาท คดิ เปน็ ดงั น้นั พนี่ ้องประชาชนชาวกรงุ เทพมหานครสามารถ
ร้อยละ 7.65 เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณก่อน จ�านวน 139 มนั่ ใจไดว้ า่ กรงุ เทพมหานครพรอ้ มรบั ใชใ้ หบ้ รกิ าร และชว่ ยเหลอื
ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.24 ด้านการสาธารณสุข หรือบรรเทาแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
จ�านวน 6,733 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.11 เพ่ิมขึ้นจาก อย่างสุดก�าลังความสามารถ เพ่ือให้การด�าเนินชีวิตของพ่ีน้อง
ปงี บประมาณกอ่ น จา� นวน 243 ลา้ นบาท หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.74 ประชาชนชาวกรุงเทพมหานครทุกคนเป็นไปอย่างมีความสุข
และดา้ นการศกึ ษา จา� นวน 4,634 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.58 สะดวก ปลอดภัย ตลอดจนได้รับคุณภาพชีวิตท่ีดียิ่งขึ้น
เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณก่อน จ�านวน 104 ล้านบาท หรือ อย่างย่งั ยืน
คิดเปน็ ร้อยละ 2.30

บางกอก ECONOMY 7

เศรษฐกจิ บางกอก

รา งผังเมืองรวมกรงุ เทพมหานคร

(ปรับปรงุ ครง้ั ที่ 4)

ขอบคุณภาพ : ส�านักการวางผงั และพฒั นาเมอื ง

8 บางกอก ECONOMY

ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมีการขยายตัวของพื้นที่เมืองท�าให้โครงสร้างของเมืองมีการ
เปล่ียนแปลงเพิ่มมากข้ึน ส่งผลท�าให้เกิดความหนาแน่นของประชากร โดยในหลายพื้นท่ีเร่ิม
เกนิ มาตรฐานทผี่ งั เมอื งรวมกา� หนด ทา� ใหโ้ ครงการพฒั นาของภาครฐั โดยเฉพาะโครงการรถไฟฟา้
ขนส่งมวลชนได้ก่อสร้างข้ึนหลายสาย ตลอดจนมีโครงการขนาดใหญ่ของภาคเอกชนเกิดข้ึน
ในหลายบรเิ วณ ปัจจัยตา่ งๆ ดงั กลา่ ว ไดส้ ง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งเมอื ง ประกอบกบั
ในการวางและจัดท�าผังเมืองรวมมีข้ันตอนท่ีต้องด�าเนินการเพื่อให้ได้มาซ่ึงผังเมืองรวมท่ีจัดท�า
ถูกต้องตามข้ันตอนที่กฎหมายก�าหนดและได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนของสังคม ในการ
ด�าเนินการวางและจัดท�าผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงคร้ังท่ี 4) เพื่อให้มีผังเมืองรวม
ที่สอดคล้องกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมของเมืองที่เปล่ียนแปลงไปและสามารถใช้เป็น
กรอบการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
กรงุ เทพมหานครกบั มหานครอ่นื ๆ ของโลก
กรุงเทพมหานครมีผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 และมี
การปรับปรุงผังเมืองมาอย่างต่อเน่ือง วัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาเมืองในขณะนั้นและเป็น
การป้องกันปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตโดยการจัดระบบการใช้ประโยชน์จากทด่ี ินให้สามารถ
รองรบั การขยายตวั ของเมอื งไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซ่ึงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556
ที่ประกาศใช้บังคับในปัจจุบัน เป็นผังปรับปรุงครั้งที่ 3 ประกาศใช้บังคับมาต้ังแต่วันท่ี 16
พฤษภาคม 2556

กรุงเทพมหานครอยู่ระหว่างด�าเนินการจัดท�าร่างผังเมืองรวม
กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงคร้ังท่ี 4) โดยร่างผังเมืองฉบับใหม่นี้ ได้มีแนวคิด
ในการพัฒนาเมืองกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองกระชับ (Compact City) คือ
ก�าหนดจุดศูนย์กลางเมืองให้อยู่ในเขตเมืองช้ันใน แล้วกระจายความเจริญไป
รอบนอก ตามแนวเส้นทางรถไฟฟา้ อีกท้ังยังมีการพจิ ารณาการพฒั นาเมอื งไม่ให้
รวมกันอยู่เฉพาะตามแนวถนน แต่ควรมีการพัฒนาอย่างครอบคลุมทุกพื้นท่ี
ซงึ่ รา่ งผงั เมอื งฉบบั ใหมน่ ้ี มกี ารปรบั สาระสา� คญั ในหลายประเดน็ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
สภาวะปัจจุบัน โดยมีการปรับระดับการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ เพอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นา
เมอื งใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น ซึ่งพื้นที่ที่มีการปรับเปล่ียนมากท่ีสุด คือ พื้นที่
อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย หรือพ้ืนที่สีเหลือง จะมีการปรับการใชป้ ระโยชนเ์ พม่ิ ขนึ้
เปน็ พนื้ ทอ่ี ยอู่ าศยั หนาแนน่ ปานกลาง (สสี ม้ ) หรือพ้ืนที่หนาแน่นมาก (สีน้�าตาล)
พื้นที่ท่ีจะมีการปรับเปลี่ยนอย่างเห็นได้ชัด และเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นมาก เช่น
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นทางฝั่งตะวันออกถูกปรับเปลี่ยนเป็นพ้ืนท่ีอยู่อาศัยหนาแน่น
ปานกลาง (สีส้ม) เพื่อรองรับเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน สายสีเหลือง
สายสีนา�้ ตาล สายสชี มพู บริเวณฝั่งเหนอื ของ กทม. บรเิ วณเขตลาดพรา้ ว บงึ ก่มุ

บางกอก ECONOMY 9

นอกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ใหส้ อดคลอ้ งกบั โครงการตามแนวรถไฟฟา้ แลว้ ยงั ไดม้ กี ารพฒั นา
และส่งเสริมให้พ้ืนที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะ
จุดเปล่ียนถ่ายท่ีส�าคัญ เช่น สยาม บางหว้า ตล่ิงชัน ท่าพระ
บางกะปิ รัชดา-ลาดพร้าว ปากทางลาดพร้าว เตาปูน
โดยการเพิ่มระยะส่งเสริมการพัฒนารอบสถานีรถไฟฟ้าจาก
500 เมตร เป็น 800 เมตร นอกจากนี้ ยังมีการก�าหนด
ศูนย์กลางคมนาคมบางซื่อ การส่งเสริมย่านพระราม 9
การส่งเสริมพ้ืนท่ีพาณิชยกรรมพิเศษด้านนวัตกรรมสร้างสรรค ์
จตุจักร วังทองหลาง จากพื้นท่ี บรเิ วณเจรญิ นครและปทมุ วนั การสง่ เสรมิ ศนู ยช์ มุ ชนชานเมอื ง
อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย เป็นที่อยู่อาศัย 8 แห่ง ด้วยอีกท้ังยังมีหลักการและแนวคิดเบื้องต้นของ (ร่าง)
หนาแน่นปานกลางและที่อยู่อาศัย ผังคมนาคมขนส่ง คือ การพัฒนาโครงข่ายถนนสายรอง
หนาแน่นมากในบางบริเวณ นอกจากน ้ี พ้ืนที่ย่าน (ถนนสาย ก และถนนสาย ข ในพ้ืนท่ีปิดล้อมขนาดใหญ ่
ฝั่งธนบุรี ท่ีปรับจากพ้ืนท่ีเกษตร พ้ืนท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นน้อย Super Block) และเช่ือมโยงผู้คนเข้าสู่ระบบขนส่งมวลชน
เป็นพื้นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง และท่ีอยู่อาศัย ทางราง เช่น โครงการแกไ้ ขปัญหาการเขา้ ถงึ ของพืน้ ท่ปี ิดลอ้ ม
หนาแน่นมาก เช่น บริเวณตล่ิงชัน ที่ผังเมืองปัจจุบันก�าหนด ขนาดใหญ่ บนถนนรามอินทรา-ประดิษฐ์มนูธรรม-ลาดพร้าว-
เป็นพื้นท่ีอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม หรือพื้นท่ีเขียวลาย พหลโยธนิ และส่งเสริมจุดจอดแลว้ จร (Park & Ride)
จะเปล่ียนเป็นพ้ืนทีอ่ ยอู่ าศยั หนาแนน่ นอ้ ย-ปานกลาง ตอ่ เชอ่ื ม การจัดท�าผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม ่
กับจังหวัดนนทบุรี และพื้นที่พาณิชยกรรม หรือพ้ืนที่สีแดง (ปรับปรุงครั้งท่ี 4) นี้ ถือเป็นการปรับปรุงคร้ังใหญ่ท่ีจะเป็น
เพ่ือส่งเสริมให้เป็นศูนย์ชุมชนชานเมืองฝั่งตะวันตก รวมถึง การพัฒนากรุงเทพฯ คร้ังส�าคัญ ซ่ึงนอกจะเป็นการพัฒนา
มีการเพ่ิมอัตราส่วนพ้ืนที่อาคารรวมต่อพ้ืนท่ีดิน (Floor Area เมืองอย่างยั่งยืนแล้ว จากการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์
Ratio : FAR) ของการใช้ประโยชน์ท่ีดินในแต่ละพื้นท่ีด้วย ท่ีดินเพ่ือให้สอดรับกับแนวเส้นทางรถไฟฟ้าท่ีเพิ่มมากขึ้น
โดยการเพิม่ ประโยชนใ์ นการใชท้ ดี่ นิ ใหม้ ากขึน้ เพ่ือทา� ให้ราคา เพ่ือพัฒนาการกระจายความหนาแน่น ลดการกระจุกตัว
ที่อยู่อาศัยถูกลง จากการท่ีสามารถพัฒนาการใช้ประโยชน์ ตามแนวถนนสายหลัก หรือแนวเส้นทางรถไฟฟา้ ผงั เมอื งรวม
ในทดี่ นิ ทมี่ ากขน้ึ ยงั เปน็ การเพมิ่ โอกาสใหก้ บั คนชน้ั กลางสามารถ ฉบับใหม่นี้จะแก้ปัญหาโครงข่ายคมนาคมขนส่งและระบบการ
มีที่อยู่อาศัยท่ีอยู่ใกล้เมืองได้เพิ่มขึ้นอีกด้วย นอกจากน้ัน เดนิ ทางทไี่ ม่เชื่อมโยงกันไดม้ ากน้อยแคไ่ หน เมอ่ื มกี ารประกาศ
ยังเพิ่ม FAR Bonus โดยก�าหนดเง่ือนไขใหม่ๆ เพื่อจะได้สิทธิ ใชอ้ ย่างเปน็ ทางการคงมคี า� ตอบมาให้ได้ติดตามกัน...
ในการพฒั นาเพ่มิ มากข้นึ โดยการคาดการณ์ว่าเม่ือการจัดท�าผังเมืองรวม
นอกจากนใ้ี นรา่ งผงั เมอื งฉบบั ใหม ่ ยงั มกี ารเปลยี่ นแปลง ฉบับน้ีได้ใช้จริง ส่ิงหน่ึงที่จะเปล่ียนแปลงอย่างเห็นได้ชัดเจน
ในหลายพ้ืนที่ส�าคัญเพื่อให้สอดรับกับโครงการรถไฟฟ้าท่ีมี มากท่ีสุดน่าจะเป็นในเร่ืองของการเดินทางที่สะดวกสบาย
การเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ีด่ นิ ด้วย เชน่ จากการขนส่งทางราง และนั่นหมายความถึงอิทธิพล
- เพ่ือรองรับการพัฒนารถไฟฟ้าสายสีเหลือง ของรถไฟฟ้าท่ีท�าให้ท่ีดินในบริเวณโดยรอบของสถานีรถไฟฟ้า
บริเวณฝั่งตะวันออกของ กทม. ได้แก่ บริเวณพื้นที่เขต มีมูลค่าสูงเพ่ิมขึ้น รวมถึงการใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มรายได้
สวนหลวงที่เปล่ียนจากพื้นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นน้อย เป็นที่อยู่ ของผู้ประกอบการที่ใช้ประโยชน์จากที่ดินในบริเวณดังกล่าว
อาศัยหนาแนน่ มากและเปลย่ี นแปลงการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน ไม่ว่าจะเป็นด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมถึงการค้า
- เพ่ือรองรบั การพัฒนารถไฟฟา้ สายสแี ดงเขม้ และ และบริการ และคาดว่าเม่ือมีการใช้ผังเมืองรวมฉบับปรับปรุง
สีม่วงบริเวณฝั่งตะวันตกของ กทม. บริเวณเขตราษฎร์บูรณะ คร้ังที่ 4 เราจะได้เห็นผลส�าเร็จของการเจริญเติบโต
เขตจอมทอง และเขตบางขุนเทียน จากพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ทางเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครที่จะท�าให้ความเป็นอยู่
เป็นพื้นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นน้อย และพ้ืนท่ีอยู่อาศัยหนาแน่น ของคนในเมอื งหลวงมคี ุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม
ปานกลาง

10 บางกอก ECONOMY

บทบาท กทม. กบั การจดั เก็บ

“ภำษที ดี่ ินและสงิ่ ปลกู สร้ำง”

พระราชบญั ญตั ภิ าษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 มีผลใชบ้ ังคับ
ตั้งแต่วันท่ี 13 มีนาคม 2562 เป็นกฎหมายส�าคัญตามนโยบายของรัฐบาล
ที่มุ่งปฏิรูปโครงสร้างระบบภาษีทรัพย์สินของประเทศไทยให้มีความทันสมัย
และเป็นสากลเช่นเดียวกับนานาประเทศ และแก้ไขปัญหาโครงสร้างภาษี
แบบเดิมที่บังคับใช้มาเป็นเวลานาน ซึ่งจะต้องใช้ข้อมูลรูปแปลงที่ดินและ
ข้อมูลเอกสารสิทธิที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจากกรมที่ดิน ใช้บัญชีราคาประเมิน
ทุนทรัพย์ท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างจากกรมธนารักษ์ เพื่อให้องค์การปกครอง
สว่ นท้องถ่ินใช้ในการจัดเกบ็ ภาษีท่ีดนิ และสง่ิ ปลูกสร้าง

บทบาทหน้าทีข่ องกรงุ เทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รปู แบบพเิ ศษ มหี นา้ ที่
โดยตรงในการจัดเก็บและด�าเนินการ
ตามขน้ั ตอน กระบวนการจดั เกบ็ ภาษที ดี่ นิ
และสิ่งปลูกสร้างตามกฏหมายฉบับน้ี
ปัจจุบันกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ
ให้ขยายก�าหนดเวลาด�าเนินการตาม
พระราชบัญญัติท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง
พ.ศ. 2562 เป็นการท่ัวไป เฉพาะการ
จัดเก็บภาษีในปี พ.ศ. 2563 เป็น
การขยายเวลาการด�าเนินการออกไปใน
7 ข้ันตอน ดังนี้

บางกอก ECONOMY 11

ขน้ั ตอนจดั เก็บภาษีท่ีดนิ แบบใหม 2563
ระยะเวลำตำมกฎหมำย
ข้นั ตอน เก่ำ ใหม่ ผูป้ ฏิบตั ิ

การจดั ทาํ และประกาศบญั ชีรายการทด่ี ิน ภายใน พ.ย. 2562 ภายใน มี.ค. 2563 อปท.

และสิ่งปลกู สราง พรอ มทง้ั จัดส่งขอ มูล อปท.
อปท.
ใหผเู สยี ภาษี แต่ละรายทราบ ผมู หี นา ท่เี สียภาษี
ผูมหี นาท่ีเสยี ภาษี
การประกาศราคาประเมินทนุ ทรพั ย ก่อน 1 ก.พ. 2563 ก่อน 1 ม.ิ ย. 2563
ของทดี่ นิ และส่ิงปลูกสรางอัตราภาษีท่ีจดั เก็บ และ อปท.
อปท.
รายละเอียดอืน่ ที่จําเปน ในการจัดเกบ็ ภาษี

การแจงประเมินภาษี ภายใน ก.พ. 2563 ภายใน มิ.ย. 2563

การชาํ ระภาษี ภายใน เม.ย. 2563 ภายใน ส.ค. 2563

การผอ่ นชาํ ระ งวดท่ี 1 ภำยใน เม.ย. 2563 งวดท่ี 1 ภำยใน ส.ค. 2563
งวดที่ 2 ภำยใน พ.ค. 2563 งวดที่ 2 ภำยใน ก.ย. 2563
งวดที่ 3 ภำยใน ม.ิ ย. 2563 งวดท่ี 3 ภำยใน ต.ค. 2563

การมหี นังสือแจงเตือน ภายใน พ.ค. 2563 ภายใน ก.ย. 2563
ผเู สียภาษที ่มี ภี าษีคา งชาํ ระ

การแจง รายการภาษคี า งชาํ ระใหสาํ นกั งานท่ีดิน ภายใน ม.ิ ย. 2563 ภายใน ต.ค. 2563
หรือสํานักงานทด่ี ินสาขา

การเตรยี มความพรอ้ ม
ก่อนพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและส่ิงปลูกสร้าง
พ.ศ. 2562 มผี ลใชบ้ งั คบั กรงุ เทพมหานครไดส้ งั่ การใหฝ้ า ยรายได้
ทุกส�านักงานเขตเตรียมการส�ารวจที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
ล่วงหน้าก่อนภาษีดังกล่าวใช้บังคับต้ังแต่ต้นปี 2561
และแต่งต้ังคณะท�างานเตรียมความพร้อมเพ่ือการด�าเนินการ
ตามพระราชบัญญัติภาษีท่ีดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
โดยคณะท�างานฯ มีอ�านาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์
ให้ความเห็น ยกร่างข้อบัญญัติ ระเบียบ ค�าส่ัง หนังสือส่ังการ
และพิจารณาจัดท�าแบบค�าร้อง รวมท้ังคู่มือที่เกี่ยวข้องกับด้าน
กฎหมายและด้านการจัดเก็บภาษีตามกฏหมายว่าด้วยภาษีที่ดิน
และส่ิงปลกู สร้าง เพื่อใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน พรอ้ มท้ัง
ไ ด ้ จั ด ใ ห ้ มี ก า ร สั ม ม น า เ พื่ อ ใ ห ้ ค ว า ม รู ้ เ ก่ี ย ว กั บ ภ า ษี ที่ ดิ น
และส่ิงปลูกสร้างกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและจัดการประชุม
ภาษีสัญจร 6 กลุ่มเขต เพื่อให้ค�าแนะน�ารวมถึงรับฟังปัญหา
และอุปสรรค

12 บางกอก ECONOMY

ความคืบหนา้ เดือนพฤศจิกายน 2562 และแจ้งการประเมินภาษีภายใน
ขณะน้ีกรุงเทพมหานครอยู่ระหว่างด�ำเนินการ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2563 อกี ทงั้ วธิ คี ำ� นวณคา่ ภาษกี ม็ คี วามซบั ซอ้ น
ส�ำรวจท่ีดิน ส่ิงปลูกสร้าง และห้องชุด โดยได้จัดส่งแบบแจ้ง และยุ่งยากกว่าเดิม มีท้ังการหักค่าเสื่อมราคาสิ่งปลูกสร้าง
รายการห้องชุด (ภ.ด.ส.4) ไปยังเจ้าของห้องชุดในพ้ืนท่ี และการค�ำนวณตามสัดส่วนของการใช้ประโยชน์กรณีที่ดิน
กรุงเทพมหานครแล้ว เพื่อให้ผู้เสียภาษีท่ีได้รับเอกสาร หรอื สงิ่ ปลกู สรา้ งมกี ารใชป้ ระโยชนห์ ลายประเภท ซงึ่ อตั รากำ� ลงั
แจ้งข้อมูลรายการห้องชุด (คอนโดมิเนียม) ตรวจสอบข้อมูล เจา้ หนา้ ทขี่ องกรงุ เทพมหานครทม่ี อี ยกู่ ำ� หนดไวเ้ พอ่ื รบั แบบพมิ พ์
เช่น ช่ือ-นามสกุล ที่อยู่ ชื่ออาคารชุด เลขท่ีห้อง พื้นที่ แจ้งรายการทรัพย์สินจากผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีและแจ้ง
และลักษณะการท�ำประโยชน์ อาทิ จากการใช้อยู่อาศัยเป็น การประเมินภาษีตามกฏหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน
เชิงพาณิชย์ ฯลฯ หากพบว่าข้อมูลไม่ถูกต้อง ขอให้ผู้เสียภาษี และภาษบี �ำรงุ ท้องท่ีเทา่ น้ัน จงึ จำ� เป็นตอ้ งเรง่ รดั ขอความรว่ ม
ไปย่ืนแก้ไขแบบรายการให้ถูกต้องได้ท่ีส�ำนักงานเขตพ้ืนที่ มือให้ผู้เสียภาษียื่นค�ำร้องขอแก้ไขรายการที่ดินและส่ิงปลูก
ตั้งแต่บัดนี้ถึงสิ้นเดอื นมนี าคม 2563 สร้างที่ไม่ถูกต้อง ณ ส�ำนักงานเขตภายใน 15 วัน นับแต่วันที่
ไดร้ ับแบบแจง้ ข้อมลู ซึ่งกำ� หนดเวลาใหผ้ เู้ สียภาษียน่ื ค�ำร้องขอ
ปัญหาและอปุ สรรค แก้ไขนัน้ กระทรวงการครางแนะน�ำใหก้ �ำหนดตามกฏหมายว่า
เน่อื งจากปี 2563 เปน็ ปแี รกทีม่ กี ารจดั เกบ็ ภาษีที่ดนิ ดว้ ยวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง
และสง่ิ ปลกู สรา้ ง โดยกฎหมายกำ� หนดใหก้ รงุ เทพมหานครมหี นา้ ที่
เพิ่มข้ึนจากเดิมหลายอย่าง เช่น ต้องเข้าไปส�ำรวจที่ดิน บทสรุป
และสง่ิ ปลกู สรา้ ง จดั ทำ� บญั ชรี ายการทดี่ นิ ทกุ แปลงและรายการ อย่างไรก็ตาม แม้จะเกินก�ำหนดเวลา 15 วัน นับแต่
ส่ิงปลูกสร้างท่ีต้องเสียภาษีทุกอาคาร ปิดประกาศและจัดส่ง วันที่ได้รับแบบแจ้งข้อมูล ผู้เสียภาษีก็สามารถย่ืนค�ำร้อง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีแต่ละรายทราบภายใน ขอแกไ้ ขรายการทดี่ นิ และสง่ิ ปลกู สรา้ งทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งได้ แตเ่ พอ่ื ให้
เจ้าหน้าท่ีได้มีเวลาตรวจสอบและค�ำนวณค่าภาษีที่ถูกต้องจึง
ขอความร่วมมือให้ผู้เสียภาษีรีบยื่นคำ� ร้องขอแก้ไข หากมีการ
แจ้งประเมินภาษีแล้ว ผู้เสียภาษีต้องเปลี่ยนจากการย่ืนค�ำร้อง
ขอแก้ไข เป็นการย่ืนค�ำร้องคัดค้านการประเมินภาษีหรือ
การเรียกเก็บภาษี โดยใช้แบบตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
กำ� หนดคือ แบบ ภ.ด.ส.10
ดังน้ัน ผู้เสียภาษีท่ีได้รับแบบแจ้งข้อมูลแล้ว ไม่ว่า
ก่อนหรือหลังกระทรวงมหาดไทยประกาศขยายก�ำหนดเวลา
ขอให้รีบด�ำเนินการย่ืนค�ำร้องขอแก้ไข ณ ส�ำนักงานเขต
ท่จี ดั ส่งข้อมูลไปใหโ้ ดยเรว็

บางกอก ECONOMY 13

สาระภาษี

Product Franchise

ท่วั กรุง สรา งรายไดสูง ลงทนุ เร่มิ ตน ทห่ี ลกั พนั

ปจจุบันความฝนในการท่ีจะมีธุรกิจเปนของตัวเองนั้นดูไม่ใช่เร่ืองยากอย่างเช่น
ในอดีตทีผ่ า่ นมา ดว ยโอกาสที่เปดกวางในการเปนเจา ของกิจการทง่ี า่ ยขึน้ โดยธรุ กิจท่ีเขา มามี
บทบาทในการลงทุนอย่างมากคงหนีไม่พนการลงทุนในรูปแบบ Product Franchise หรือท่ี
เรียกกันวา่ แฟรนไชสสรา้ งอาชีพ

ธรุ กจิ Product Franchise คอื อะไร

Product Franchise เป็นธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส์ของผลิตภัณฑ์หรือ
เคร่ืองหมายการค้าที่ผู้ผลิตสินค้าให้สิทธิบุคคลอื่นในการขายสินค้าที่ผลิตข้ึน พร้อมท้ัง
ได้ก�าหนดมาตรฐานและคุณภาพของผลิตภัณฑ์เพื่อให้ผู้ลงทุนซ้ือแฟรนไชส์ต้องปฏิบัติตาม
อย่างเคร่งครัด โดยผู้ซ้ือแฟรนไชส์ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมแรกเข้ากับเจ้าของผลิตภัณฑ์เพ่ือรับ
สิทธใิ นเครื่องหมายผลติ ภณั ฑ์นัน้

ผลิตภัณฑทีเ่ ปนท่นี ยิ มสําหรับผู้ตอ้ งการลงทนุ

ธุรกิจ Product Franchise ท่ีพบเห็นกันจนชินตาก็น่าจะเป็นจ�าพวกอาหาร
และเคร่ืองดื่มที่ราคาไม่สูงเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย อย่างเช่น ร้านชานมไข่มุก เร่ิม 19 บาท
ลูกชิน้ ปลาระเบิด กลว้ ยทอด เป็นต้น

ทาํ ไมธุรกิจ Product Franchise จงึ เขา้ ถึงไดง้ าย

1. ลงทุนน้อย สามารถใช้เงินลงทุนเร่ิมต้นท่ีหลักพันบาท ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์
ทต่ี อ้ งการลงทนุ แฟรนไชสป์ ระเภทนจี้ ะเปน็ รา้ นคา้ แบบคอี อสหรอื รถเขน็ ทส่ี ามารถเคลอื่ นยา้ ย
ได้ง่าย ผู้ซ้ือแฟรนไชส์จ่ายค่าธรรมเนียมแรกเข้าแล้วจะได้รับสิทธิในตัวสินค้าหรือวัตถุดิบ
พร้อมอปุ กรณท์ ่พี ร้อมทา� การเปดิ ร้านไดใ้ นทันที

2. การบริหารจัดการง่าย ไม่ต้องเรียนจบด้านบริหารมาก็สามารถเปิดแฟรนไชส์
รูปแบบนี้ได้ เพราะใช้พ้ืนที่น้อย เพียงแค่มีพื้นที่หน้าบ้าน หรือข้างถนนก็สามารถเปิดร้านได้
อีกทั้งใช้คนเพียงแค่ 1-2 คน ก็สามาถด�าเนินธุรกิจไปได้ เนื่องจากขั้นตอนในการท�างาน
บริหารงานไมม่ อี ะไรทีย่ งุ่ ยากเกินไป

14 บางกอก ECONOMY

3. ไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน จ่ายเงินซื้อแฟรนไชส์แรกเข้าเพียงครั้งเดียว ผู้ซ้ือแฟรนไชส์
เพยี งแค่ซื้อวัตถดุ ิบมาจำ� หน่ายหรือผลติ เพ่ือขายตอ่ ไปเท่านนั้
4. ใชเ้ วลาเปดิ ร้านไม่นาน เพยี งแค่อบรม 1-2 วัน ก็สามารถเปิดรา้ นได้ทันที
โดยกรุงเทพมหานครเป็นเมืองท่ีมีประชากรอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมากและมีพ้ืนท่ี
ค่อนข้างจ�ำกัด ท�ำให้ราคาพ้ืนท่ีในการท�ำธุรกิจนั้นค่อนข้างสูง การท�ำธุรกิจแฟรนไชส์จึงเป็น
อีกหนึ่งทางเลือกท่ีสามารถสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับประชาชนที่ก�ำลังมองหาอาชีพ
ท่ีลงทุนไม่สูง และมองเห็นถึงรายได้ที่จะเกิดขึ้น รวมถึงเงินลงทุนในการเริ่มธุรกิจท่ีสามารถ
จับต้องได้ ท�ำให้เราเห็นธุรกิจประเภทน้ีอยู่ทั่วทุกมุมเมืองในกรุงเทพมหานคร ซึ่งนั่นหมายถึง
การกระตุน้ การซ้ือขายสินคา้ ทีซ่ อื้ งา่ ยขายคล่อง สร้างรายไดใ้ ห้กบั ผ้ลู งทุนไดเ้ ปน็ กอบเป็นกำ�
แต่ทุกการลงทุนท�ำธุรกิจแฟรนไชส์น้ันจะประสบความส�ำเร็จมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ
หลายองค์ประกอบ ไม่ได้เกิดจากแบรนด์ของสินค้าท่ีจะท�ำการลงทุนเพียงอย่างเดียว ถึงแม้
ช่ือเสียงของแบรนด์สินค้านั้นจะเคยประสบความสำ� เร็จมามากแค่ไหน แต่หากการเลือกท�ำเลที่ต้ัง
ไม่เหมาะสม รูปแบบของธุรกิจแฟรนไชส์ไม่เหมาะกับกลุ่มลูกค้า หรือแม้แต่ขนาดหรือเงินลงทุน
ต่างก็มีผลกับการท�ำธุรกิจแฟรนไชส์ท้ังสิ้น ดังนั้นการลงทุนท�ำธุรกิจแฟรนไชส์แม้ว่าจะสามารถ
จับต้องได้ง่ายส�ำหรับผู้ท่ีมีความฝันอยากจะมีธุรกิจเป็นของตัวเอง แต่จ�ำเป็นต้องศึกษาการลงทุน

อย่างละเอียด เพ่ือผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับการลงทุนในธุรกิจ
แฟรนไชสน์ ัน้ ๆ

บางกอก ECONOMY 15

ขับเคลอื่ นเศรษฐกิจ
New Growth Engine

กลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth)
ถือเปนอีกหน่ึงในการปฏิรูปประเทศไทยเพื่อใหหลุดพนจากกับดักประเทศที่มีรายได
ปานกลาง ซึ่งโดยหลัก ๆ แลว จะแบงเปน 2 รูปแบบ คือ First s-curve และ
New S-curve โดยเชื่อกันวาการลงทุนท้ัง 2 สวนนี้สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งยังชวยตอยอดอุตสาหกรรมแบบเดิม ที่จะชวยเพ่ิมรายได
ของประชากรไดมากขนึ้ อกี ดวย

First s-curve : จะเป็นการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเดิมที่มีอยู่แล้วในประเทศ

ซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยในการเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิต โดยการลงทุนชนิดน้ี จะอยู่ใน
ชว่ งการเติบโตทางเศษฐกจิ ในระยะส้ัน และระยะกลางเพียงเทา่ นน้ั
โดยไดก้ า� หนดอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ดังน้ี

- อตุ สาหกรรมยานยนตส มัยใหม (Next – Generation Automotive)

การพัฒนาการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อเป็นฐานในการขยายธุรกิจของอุตสาหกรรมยานยนต์
โดยเฉพาะการออกแบบและจัดท�าต้นแบบ เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่มี
ประสิทธภิ าพและมีความแมน่ ย�าสงู

- อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ (Smart Electronics) การผลิต

ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในยานยนต์ อุปกรณ์โทรคมนาคม การออกแบบท่ีอยู่อาศัยอัจฉริยะ
ที่สามารถเช่อื มต่อกับเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ และอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พ่ือการสวมใส่

- อุตสาหกรรมการทองเท่ียวกลุมรายไดดีและการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ
(Affluent, Medical and Wellness Tourism) การสง่ เสริมกิจกรรมหลากหลาย

ตามสถานที่ท่องเท่ียวส�าคัญ รวมถึงสนับสนุนธุรกิจทางการแพทย์และศูนย์ฟนฟูสุขภาพ
ส่งเสรมิ ศูนยก์ ารแสดงสนิ คา้ และนทิ รรศการระดบั นานาชาติ

16 บางกอก ECONOMY

- การเกษตรและเทคโนโลยชี ีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) การน�าเทคโนโลยีการเกษตร

ข้ันสูงท่ีมีการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติ การวิจัยและการลงทุนทางเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อปรับปรุงพันธุ์พืช
และสัตว์

- อตุ สาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future) การเพม่ิ มาตรฐานการตรวจสอบยอ้ นกลบั ด้าน

ความปลอดภัยอาหาร การวิจัยและผลิตโภชนาเพ่ือสุขภาพ รวมถึงการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่ใช้โปรตีนทางเลือก
เช่น โปรตีนเกษตร
จากอุตสาหกรรมที่กล่าวมาเป็นหลักของเศรษฐกิจไทยที่ในปัจจุบันเติบโตอย่างชนิดที่เรียกกันได้ว่าก้าวกระโดด
กนั เลยกว็ า่ ได ้ ทา� ใหก้ ลมุ่ อตุ สาหกรรม First s-curve ยงั ไมเ่ พยี งพอทจี่ ะชว่ ยใหเ้ ศรษฐกจิ เตบิ โตอยา่ งทต่ี อ้ งการได ้ จา� เปน็ ตอ้ งมี
ในส่วนของ New S-curve ควบคู่ไปดว้ ย

New S-curve : เป็นรูปแบบการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ เพ่ือพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบสินค้าและเทคโนโลย ี

ท่จี ะเป็นหัวใจหลกั ของกลไกการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ (New Growth Engines) ซงึ่ เป็นการต่อยอดอุตสาหกรรม
เดิมโดยได้กา� หนดอตุ สาหกรรมอนาคต (New S-curve) ดังน้ี

- อุตสาหกรรมหุนยนต (Robotics) เป็นอุตสาหกรรมท่ีโลกมีความต้องการสูง เช่ือกันว่าอาจจะเป็น

อตุ สาหกรรมท่ใี หญก่ ว่าอตุ สาหกรรมรถยนตใ์ นอนาคต

- อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส (Aviation and Logistics) เพื่อการรองรับการขนส่งทางอากาศ

ที่มากข้ึน ศนู ย์รวมโลจิสตกิ สท์ นั สมัยจงึ จา� เป็นทจี่ ะตอ้ งเรง่ พฒั นาเพื่อเพมิ่ ความสะดวกในการขนส่งสนิ ค้าและบริการ

- อุตสาหกรรมเชอ้ื เพลงิ ชวี ภาพและเคมีชวี ภาพ (Biofuels and Biochemicals) จากการท่เี ราเป็นฐาน

การเกษตรใหญ่ที่สุดในอาเซียน จึงควรพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีชีวภาพครบวงจร หรือแม้แต่การก�าหนดมาตรฐานชีวภาพให้
เข้ากบั การค้าท่ที ่วั โลกกา� ลงั ต้องการเพือ่ ก้าวเข้าสู่ Bioeconomy

- อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital) เป็นอีกหนึ่งอุตสาหกรรมที่ท่ัวโลกมีความต้องการสูง และยังเป็นมาตรฐาน

ใหม่ในการดา� รงชีพ อาทเิ ชน่ E-commerce / Digital Content /Data Center / Cloud Computing

- อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub) นอกจากการมีหมอและพยาบาลที่เก่งแล้ว ยังต้องมี

ระบบภายในโรงพยาบาลที่ทันสมัย และอย่างยิ่งในอนาคตการเพิ่มการลงทุนในการผลิตยา อุปกรณ์การแพทย์ รวมถึง
การรกั ษาโรคผ่านอนิ เทอร์เนต็ หรอื สมาร์ทโฟนก็ไม่ใช่เร่อื งยากเกนิ ไปนกั
จากการแบง่ กลมุ่ อตุ สาหกรรมดงั กลา่ ว สง่ ผลใหอ้ ตุ สาหกรรมแบบเดมิ First S-curve จะตอ้ งทา� การพฒั นาและตอ่ ยอด
ใหม้ ากขนึ้ เนอื่ งจากรายไดใ้ นกลมุ่ อตุ สาหกรรมของประชากรใน 5 สาขานป้ี ระมาณ 70 % อกี ทง้ั การผลกั ดนั อตุ สาหกรรมใหม่
ทง้ั 5 สาขา New S-curve ใหป้ ระสบผลสา� เร็จเพอื่ สรา้ งรายไดใ้ หป้ ระชากรอีกประมาณ 30 % ให้ไดใ้ นอนาคต

หัวใจหลักของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจนั้น
ล้วนเกิดจากการต่อยอด ปรับปรุง เปล่ียนแปลง
และพัฒนาจากอุตสาหกรรมเดิมแทบทั้งส้ิน ซึ่งขึ้น
อยู่กับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และโอกาส
ในการทา� ธรุ กิจนั้น ๆ เพอื่ ลดตน้ ทุน และเพ่ิมมลู คา่
ในธุรกิจให้มากขึ้น ด้วยการคาดการณ์ของอนาคต
แหง่ โลกความเปลย่ี นแปลงยคุ ใหม่

บางกอก ECONOMY 17

SMART

MONEY

แนวโน้มเศรษฐกจิ โลก 2563

ไอเอ็มเอฟ มีมุมมองท่ีดีต่อ
เศรษฐกิจโลกในป 2563 ท่ีคำดว่ำ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก น ่ ำ จ ะ ค ลี่ ค ล ำ ย ล ง
จำกกรณีสงครำมกำรค้ำระหว่ำง
สหรฐั กบั จีนทีน่ ำ่ จะตกลงกนั ไดม้ ำกข้ึน

นัยสําคัญหลัก ภำวะเศรษฐกิจโลกก�ำลังอยู่ในภำวะวิกฤต กองทุนกำรเงินระหว่ำงประเทศ

หรือ ไอเอ็มเอฟ ประกำศปรับลดตัวเลขคำดกำรณกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจโลกป 2563 เม่ือวันที่ 20
มกรำคม 2563 ก่อนท่ปี ระเทศจนี จะปด เมืองอู่ฮ่นั ด้วยโรคอุบตั ใิ หมเ่ พียงไม่กว่ี ัน จำกเดมิ 3.4% ลดลงเหลอื
3.3% ท้ังนี้กำรคำดกำรณดังกล่ำวอยู่ในกรอบกำรประเมินเรื่องสงครำมกำรค้ำท่ีเคยกังวลกันตลอดป
2562 จะคล่ีคลำยลง แต่สถำนกำรณใ หมท่ ่เี กดิ ข้ึน อกี ท้งั เปน ปจจัยท่สี ่งผลกระทบไปทวั่ โลก คอื กำรระบำด
ไวรสั โควิด-19 ซึง่ อำจทำ� ให้ต้องมกี ำรประเมนิ สถำนกำรณใ หม่

ไมเ่ พยี งไอเอ็มเอฟท่มี ีมมุ มองทดี่ ีต่อเศรษฐกิจโลกในป 2563 โดยคำดว่ำเศรษฐกิจโลกมแี นวโน้มที่จะ
คล่ีคลำยลง จำกกรณีสงครำมกำรค้ำระหว่ำงสหรัฐกับจีนท่ีน่ำจะตกลงกันได้มำกขึ้น โดยต้นป 2563
รำยงำนขององคกำรสหประชำชำติหรือ UN ยังระบุว่ำเศรษฐกิจโลกซ่ึงได้รับผลกระทบจำกควำมขัดแย้ง
ด้ำนกำรคำ้ ทย่ี ดื เยือ้ นัน้ ท�ำให้มีกำรขยำยตวั ทำงเศรษฐกิจป 2562 ตำ�่ ที่สุดในรอบ 10 ป โดยชะลอลงสู่ระดบั
2.3% ขยับขึ้นเล็กน้อยในป 2563 เปน 2.5% เปนอยำ่ งนอ้ ย

18 บางกอก ECONOMY

หำกแต่หลังจำกท่ีเกิดภำวะโรคระบำดโควิด-19
อย่ำงหนักไปท่ัวทั้งโลก ท�ำให้ไอเอ็มเอฟ
ได้ปรับกำรคำดกำรณเศรษฐกิจโลกใหม่ล่ำสุด
วำ่ เศรษฐกจิ โลกจะตดิ ลบ 1.5% เชน่ เดยี วกบั
บรรดำนักเศรษฐศำสตรที่พำกันมองว่ำ
เศรษฐกจิ โลกป 2563 นจ้ี ะเข้ำสภู่ ำวะถดถอย

“กำรแพร่ระบำดท่ีเพิ่มข้ึนของไวรัสโควิด-19, สงครำมรำคำน้�ำมัน และภำวะ
สินเช่ือท่ีตึงตัวมำกข้ึนในประเทศที่พัฒนำแล้ว และประเทศตลำดเกิดใหม่นั้น ยังคง
ส่งผลกระทบต่อปจจัยพืน้ ฐำนทำงด้ำนเศรษฐกจิ ” รายงานไอเอ็มเอฟ ระบุ
ส�าหรับการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกท่ีติดลบ 1.5% น้ี คาดว่าการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจของตลาดที่พัฒนาแล้วจะหดตัวลง 3.3% ขณะท่ีตลาดเกิดใหม่จะมีการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจเพียง 1.1% มีความไม่แน่นอนอย่างมากเก่ียวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากโควิด-19
ขณะนีย้ ังไมม่ คี วามชัดเจนวา่ การชัตดาวนใ์ นหลายๆ ประเทศจะด�าเนินไปนานเพียงใดเพ่ือควบคมุ
ไวรัส และเม่ือพิจารณาจากความรุนแรง ก็ยังไม่มีความชัดเจนว่า กิจกรรมของผู้บริโภคและการ
ลงทุนดดี ตัวขน้ึ ไดเ้ รว็ เพยี งใด เมอื่ มกี ารยกเลกิ มาตรการกกั กนั โรค
รายงานจากไอเอ็มเอฟระบุด้วยว่า ท้ังสหรัฐและยูโรโซนเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยแล้ว
ขณะที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจติดลบในไตรมาสแรก และจะหดตัวลงอย่างมากในไตรมาส 2
ไอเอ็มเอฟ คาดว่า การขยายตัวทางเศรษฐกิจทั้งปีของสหรัฐและยูโรโซน จะหดตัวลง 2.8%
และ 4.7% ตามล�าดับมีการประมาณการไปในทางเดียวกันว่า ความตกต�่าของเศรษฐกิจโลก
ในปี 2563 นจ้ี ะหนกั หนาสาหัสมากกวา่ ครงั้ “วิกฤตแฮมเบอรเ์ กอร”์ เมอื่ ปี 2551 อกี ดว้ ย

บางกอก ECONOMY 19

ทั้งนี้จะต้องติดตำมดูเปนระยะๆ นับจำกน้ีว่ำจะมีกำรประเมินและ
ปรับลดเศรษฐกิจโลกลงมำกข้ึน อีกหรือไม่ เนื่องจำกสถำนกำรณควำมรุนแรง
ของโรคระบำดที่หนักข้ึนจะย่ิงกระทบธุรกรรมทำงเศรษฐกิจระดับประเทศ
และระดับโลกมำกขึ้น ดังจะเห็นได้จำกรำคำหุ้นในตลำดท่ัวโลกปรับลดลงอย่ำงมำก
และสินทรัพยเสี่ยงอ่ืนๆ ถูกเทขำยออกมำเปนล�ำดับ ขณะที่ทองค�ำปรับเพ่ิมขึ้น
อย่ำงมำกดว้ ยเชน่ กนั

รายงานจากธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่า การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ท�าให้เกิด
เศรษฐกิจไทยปี 2563 ยังคงเป็นอีกปีท่ีจะมีการเติบโต ภาวะปิดประเทศ ปิดเมือง ท�าให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ตา�่ กว่าระดับศกั ยภาพ ทงั้ ปัจจัยช่ัวคราว ไม่ว่าจะเปน็ การ หดตัวท่ัวโลก สร้างความรุนแรงและกดดันเศรษฐกิจไทย
ระบาดของไวรัสโควิด-19 ปัญหาภัยแล้ง และ พ.ร.บ. ท้ังปี 2563 โดยส�านักเศรษฐกิจหลายแห่งของไทย
งบประมาณ นอกจากน้ียังมีปัญหาเชิงโครงสร้างท่ีเป็น ได้ออกมาประเมินการเติบโตเศรษฐกิจของไทยลดลง
ปญั หาเรื้อรงั มานาน เชน่ ความสามารถในการแข่งขันของ มาเรือ่ ยๆ ตามการระบาดของไวรัสโควดิ -19 ท่ีเพม่ิ มากข้ึน
ภาคการส่งออก ปัญหาความเหลื่อมล�้าและการกระจาย จากท่ีว่าจะหดตัวเหลือไม่ถึง 3% เป็นไม่ถึง 2% และ
รายได้ของภาคครัวเรือน ปัญหาหน้ีครัวเรือนท่ีผูกโยงกัน กลายเป็นติดลบ บ้างกว็ า่ จะติดลบถงึ 1% บ้างกว็ ่า ล่าสดุ
การแก้ปัญหาไม่สามารถพึ่งพาการกระตุ้นผ่านมาตรการ คอื นิด้า ระบวุ ่าเศรษฐกจิ ไทยจะติดลบหนกั สุดถงึ 2-3%
การคลังระยะส้ันได้แต่ต้องผ่าตัดเศรษฐกิจไทย โดยความ
ร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อยกระดับความสามารถในการ
แข่งขนั ได้

20 บางกอก ECONOMY

มีการประเมินดว้ ยว่า ความถดถอยเศรษฐกจิ นจี้ ะ ได้แก่ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์และยางพารา

สร้างความเสียหายให้กับภาคธุรกิจ 5.13 ล้านล้านบาท ส�าหรับการส่งออกไปตลาดส่งออกหลักอ่ืนๆ ทั้งสหรัฐฯ

โดยเฉพาะ กระทบธรุ กิจ SMEs รายย่อยกว่า 2.6 ล้านแห่ง ยุโรป ญ่ีปุน และอาเซียน ก็มีแนวโน้มหดตัวเช่นกัน

รายไดห้ ดหายไป 20% เ น่ื อ ง จ า ก ไ ด ้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ซั พ พ ล า ย เ ช น แ ล ะ

ภำคกำรท่องเที่ยวของไทยได้รับผลกระทบ เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ท�าให้ภาพรวมการส่งออกของ

รุนแรงเป็นประวัติการณ์ จากจ�านวนยอดผู้ติดเชื้อที่ยังคง ไทยหดตัวในสามไตรมาส และจะกลับมาฟนตัวได้

เพิ่มข้ึนทั่วโลก ท�าให้มาตรการชัตดาวน์ถูกน�ามาใช้ใน ในช่วงท้ายป ี

หลายประเทศท่ีเป็นกลุ่มคู่ค้าและตลาดนักท่องเท่ียวของ นอกจากนี้ยังมีปัญหาเฉพาะหน้าคือ ภัยแล้ง

ไทย แมก้ ารท่องเท่ยี วจะฟนตวั ในไตรมาสสดุ ท้าย แต่ยังไม่ ครั้งใหญ่ในรอบ 40 ปี จะส่งผลให้รายได้ภาคเกษตร

ท�าให้จ�านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติกลับมาขยายตัวเป็น ลดลง กดดันการบริโภคภาคเอกชน ซ้�าเติมจากความ

บวกได้ คาดการณจ์ า� นวนนกั ทอ่ งเท่ยี วต่างชาติทงั้ ป ี 2563 กังวลของการแพร่ระบาดของไวรัสและปัจจัยเส่ียง

ลดลงเหลือ 18 ลา้ นคน หรือลดลง 54.9% เศรษฐกิจท่เี พ่มิ ข้ึน ขณะท่ีงบประมาณภาครัฐกว่าจะเขา้

ภำคกำรส่งออกส่งสัญญาณทรุดตัวคู่ขนาน สู่ระบบในไตรมาสสอง รวมท้ังมาตรการเยียวยาจาก

ไปกับภาคการท่องเที่ยว โดยเฉพาะส่งออกไปจีนใน ภาครัฐซง่ึ นา่ จะชว่ ยประคองเศรษฐกจิ ให้ฟน ตัวขน้ึ มาได้

ครึ่งแรกของปี 2563 คาดว่าจะหดตัวถึง 16.8% สินค้า

ที่ได้รับผลกระทบมาจากการชัตดาวน์ของประเทศจีน

บางกอก ECONOMY 21

บทบาท ภารกจิ และนโยบายการขบั เคลื่อนองค์กร
รอบรัว้ บางกอก ของคณะผู้บริหาร กทม.

กทม. นำ� รอ่ งจุดทำ� กำรค้ำบนทำงเท้ำ 5 แหง่

เตรียมประกำศหลักเกณฑทำ� กำรค้ำในทีส่ ำธำรณะ 20 มกรำคม 2563

พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปิดเผยภายหลัง
เปน็ ประธานการประชมุ คณะกรรมการรกั ษาความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของกรงุ เทพมหานคร
เพอ่ื พจิ ารณาหลักเกณฑ ์ วิธีการ และเง่ือนไขการก�าหนดพืน้ ท่ที า� การค้าและการขายหรอื
จ�าหน่ายสินค้าในท่ีสาธารณะ โดยในวันน้ีท่ีประชุมได้มีการสรุปเรื่องการจัดการพ้ืนท่ี
ทจี่ ะเปดิ ใหป้ ระชาชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยไดท้ า� การคา้ ขายบนทางเทา้ ในพน้ื ท ี่ 4 เขต รวมจา� นวน
5 จดุ ไดแ้ ก ่ 1.ซอยบางขนุ เทยี น 69 ถนนพระราม 2 เขตบางขนุ เทยี น รองรบั ผคู้ า้ ไดจ้ า� นวน
45 แผง 2.ถนนสาลีรัฐวิภาค เขตพญาไท จ�านวน 36 แผง 3.ฝั่งตรงข้ามห้างพาต้า
เขตบางพลัด จ�านวน 66 แผง 4.บริเวณห้างเซ็นทรัลปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนน ี
เขตบางกอกน้อย จ�านวน 20 แผง และ 5.หน้าห้างโลตัสปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนน ี
เขตบางกอกน้อย จ�านวน 24 แผง โดยจะร่างหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขต่างๆ
เพื่อออกประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการก�าหนดพ้ืนที่ท�าการค้า และการขายหรือจ�าหน่ายสินค้า
ในที่สาธารณะคาดว่าภายในเดือนกุมภาพันธ์จะประกาศให้ผู้ค้าไปลงทะเบียนท่ีส�านักงานเขต จากนั้นจับสลากตามจ�านวนแผง และ
ตรวจสอบคุณสมบตั ผิ ูค้ ้า ซ่ึงจะต้องเปน็ ผมู้ ีสญั ชาติไทย มีรายไดน้ ้อยหรือมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ โดยจะเรมิ่ ให้
ท�าการค้าขายไดใ้ นวันท ่ี 5 มี.ค.63 โดยจะมกี ารประชุมสรปุ รายละเอยี ดรปู แบบแผงคา้ อกี ครง้ั ซง่ึ เบือ้ งต้นกา� หนดให้ท้ัง 5 จุดจะต้องเป็น
รปู แบบและสเี ดยี วกัน

สถำปนำกรงุ เทพมหำนครครบ 47 ป

พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธีท�าบุญ
ตักบาตรพระสงฆ์ เนื่องในวันสถาปนากรุงเทพมหานครครบ 47 ปี โดยมีคณะผู้บริหาร
ข้าราชการ บุคลากรในสังกัด ร่วมท�าบุญตักบาตรพระสงฆ์ 148 รูป ณ บริเวณ
ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เขตพระนคร โดยผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธีสักการะพระพุทธนวราชบพิตร และพิธีถวาย
เทวบรรณาการ (พิธีบวงสรวงศาลพระภูมิ “หลวงปูมงคลประสาท” และศาลจีน
“เจ้าพ่อเพง่ นม้ั กมิ ไซ”) ณ ศาลาวา่ การกรงุ เทพมหานคร และเปน็ ประธานในพธิ บี วงสรวง
พระอนิ ทรท์ รงช้างเอราวัณ ณ ลานพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ อาคารกรุงเทพมหานคร
เขตดนิ แดง โดยมคี ณะผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร สมาชกิ สภากรงุ เทพมหานคร ขา้ ราชการ
และบุคลากรในสงั กดั ร่วมพธิ ี โดยมพี ราหมณ์ทวีศกั ด์ิ ทพิ ยโอสถ เป็นผดู้ า� เนนิ พธิ ี
ในการนีไ้ ดม้ กี ารจัดกจิ กรรม ณ ศูนยเ์ ยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย – ญ่ปี นุ ) เขตดินแดง เร่มิ ด้วยการแข่งขนั ฟุตบอลคูพ่ ิเศษ
ระหวา่ งคณะผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร การเดินขบวนพาเหรดและการประกวดขบวนพาเหรด พิธกี ล่าวค�าปฏญิ าณตนเป็นข้าราชการ
ท่ีดี พิธีมอบรางวัลกีฬาข้าราชการและรางวัลขบวนพาเหรด และการแสดงดนตรี นอกจากน้ีกรุงเทพมหานครได้มอบหมายให้
หนว่ ยงานในสังกดั จดั กจิ กรรมบา� เพญ็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้ยากไร้ ผดู้ อ้ ยโอกาส ผพู้ ิการ ผูส้ งู อาย ุ หรอื จัดกจิ กรรมบา� เพญ็ กุศลต่างๆ เพือ่ อทุ ศิ
ส่วนกุศลใหก้ บั ข้าราชการกรงุ เทพมหานครท่ีล่วงลบั ไปแล้ว และเพื่อความเปน็ สิริมงคลให้กบั ผู้ปฏิบัติงานทุกคน

22 บางกอก ECONOMY

ท่องเทีย่ ววถิ ีชุมชนด้วยระบบล้อ ราง เรอื

พัฒนาการท่องเทยี่ ววิถีชมุ ชน“คลองบางหลวง”

จากการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนท่ีกรุงเทพมหานครได้ให้ความส�ำคัญ
มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ความสะดวกสบายของประชาชนในการเดนิ ทางทเี่ พม่ิ มากขน้ึ ทำ� ใหเ้ กดิ
แหล่งท่องเที่ยวในเมืองท่ีสามารถเดินทางด้วยการขนส่งสาธารณะอย่างรวดเร็ว อย่างเช่น
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ววถิ ชี มุ ชนในเขตภาษเี จรญิ ทก่ี ำ� ลงั เปน็ ทสี่ นใจ “คลองบางหลวง” แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
ชุมชนท่ีสามารถน่ังรถไฟฟ้าบีทีเอสไปยังสถานีบางหว้า จากน้ันสามารถลงเรือต่อไปยัง
คลองบางหลวงได้เลย ซึ่งถือว่าเป็นการเดินทางสะดวกสบายมากเพื่อถึงยังแหล่งท่องเท่ียว
ท่ียังคงไว้ด้วยการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไว้อย่างมากมาย อาทิ วัดก�ำแพงบางจาก ซ่ึงเป็น
วัดโบราณทสี่ รา้ งมาต้ังแตส่ มยั กรุงศรอี ยธุ ยาตอนกลาง มสี ถาปตั ยกรรม ภาพจติ รกรรม และ
พระวิหารเก่าแก่ท่ีงดงาม อีกทั้งยังมีสวนสมุนไพรและท่าเรือชุมชน HIDE AND SEED
บ้านศิลปิน ซึ่งเป็นบ้านไม้โบราณ บ้านของเล่น ซ่ึงรวบรวมของเล่นในอดีต และการแสดง
หนุ่ ละครเลก็ เปน็ ตน้ อกี ทงั้ กรงุ เทพมหานครยงั ไดป้ ระสานหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง อนั ไดแ้ ก่ กรมศลิ ปากร กรมการทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทยี่ ว
แห่งประเทศไทย สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ส�ำนกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ กรมเจา้ ทา่ องคก์ าร
ขนส่งมวลชนกรุงเทพ เพื่อร่วมกันพัฒนาต่อยอดชุมชนคลองบางหลวงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ฝั่งธนบุรี โดยกรมศิลปากรอยู่ระหว่างด�ำเนินการบูรณะวัดก�ำแพงบางจาก ซึ่งก่อสร้างมาต้ังแต่สมัยอยุธยาให้กลับมาสวยงามดังเดิม
และท่ีผ่านมาส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ให้ทุนนักวิชาการจัดการท่องเที่ยวน�ำร่องเพื่อ
ใหก้ ลมุ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การและสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วไดท้ ดลองทอ่ งเทย่ี วในคลองบางหลวง และประชาสมั พนั ธ์ สง่ เสรมิ การจดั การ
ท่องเท่ียวในคลองบางหลวงให้แพร่หลายมากยิ่งข้ึน ส่งผลให้ศักยภาพการท่องเที่ยวในคลองบางหลวงและพื้นที่เก่ียวข้อง
มคี วามเจริญก้าวหน้าในทกุ ด้าน สง่ ผลใหม้ ีจ�ำนวนนักท่องเทยี่ วและรายได้จากการทอ่ งเทย่ี วเพ่ิมมากข้นึ

กทม. นำ� รอ่ งชัตเติลบัส 3 สาย ป้อนเขา้ ระบบขนส่งสาธารณะหลกั เริ่มว่ิงฟรีมนี าคม 2563

เพื่อความสะดวกของประชาชนในการเดินทางด้วยระบบการขนส่งสาธารณะ
กรุงเทพมหานครจึงได้จัดท�ำระบบขนส่งรองป้อนเข้าระบบการขนส่งสาธารณะหลัก
ในรูปแบบของรถชตั เตลิ บสั เพ่ือรบั -สง่ ประชาชนจากจดุ ต่างๆ เขา้ สู่ระบบขนส่งมวลชน
ไดส้ ะดวกและรวดเร็วในการเดินทางเพ่มิ มากขึ้น โดยจะน�ำรอ่ ง 3 เสน้ ทาง ไดแ้ ก่ 1.สถานี
ขนส่งสายใต้ใหม่-สถานีรถไฟฟ้าบางหว้า 2.ดินแดง-สถานีรถไฟฟ้าสนามเป้า 3.เคหะ
ร่มเกล้า-แอร์พอร์ตเรลล้ิงค์ ลาดกระบัง เป็นความร่วมมือภาคเอกชนอุตสาหกรรม
การทอ่ งเทย่ี ว ซงึ่ ไมใ่ ชง้ บประมาณของกรงุ เทพมหานคร โดยใชร้ ถมนิ บิ สั วง่ิ ใหบ้ รกิ ารในเวลา
05.00-21.00 น. คาดวา่ จะเร่มิ ให้บรกิ ารได้ประมาณต้นเดือนมีนาคม 2563 โดยในชว่ งการทดลองวง่ิ 3-6 เดอื นทใี่ ห้บรกิ ารจะไมเ่ ก็บ
ค่าโดยสาร อีกท้ังได้มีการศึกษาเส้นทางการให้บริการเพิ่มอีก 7 เส้นทาง โดยจะต้องเป็นพ้ืนที่ท่ีประชาชนมีความต้องการ และมี
ภาคเอกชนร่วมให้การสนับสนุน รวมถึงต้องเป็นเส้นทางท่ีมีผลในระยะยาวในการให้บริการด้วย เบ้ืองต้นก�ำหนด 7 จุดในเส้นทางคือ
1.พระรามหก-สถานีรถไฟฟ้าอารีย์ 2. เอกมัย-ทองหล่อ 3.ท่าเรือกรุงเทพอ่อนนุช 4. ซอยเสนานิคม-สถานีรถไฟฟ้าเสนานิคม
5.สยามสแควรส์ วนหลวง 6. ถนนสามเสน (ดสุ ิต)-ถนนมิตรไมตรี (ดนิ แดง) และ 7.สายไหม- สถานรี ถไฟฟ้าสายไหม อยา่ งไรก็ดี จะตอ้ ง
ไม่สง่ ผลกระทบกบั ขสมก. ที่ให้บริการรถโดยสารประจำ� ทางอยู่แลว้ เพอ่ื ให้ไมเ่ ปน็ การทบั ซ้อนเส้นทางซง่ึ กันและกนั

บางกอก ECONOMY 23

24 บางกอก ECONOMY www.bangkok.go.th/fiic
โทร. 0 2224 1916 โทรสาร 0 2225 1945


Click to View FlipBook Version