ข่าวสารเศรษฐกิจ
เปดิ แนวคิด BEE ตัวชว้ี ัดใหมข่ องธนาคารโลก
สถาบันอนาคตไทยศึกษา
ในปี 2563 ไทยถูกจัดอยู่ในอันดับท่ี 21 จาก 190 ประเทศ ในดชั นคี วามยากง่ายในการประกอบธุรกจิ
(Ease Doing Business) หรือ EDB หลงั จากนั้น ธนาคารโลกได้ยตุ ิการจัดทำตวั ช้ีวดั นีไ้ ปหลังจากทำมาต่อเนื่อง
นับสบิ ปี ลา่ สุดธนาคารโลกไดเ้ ริม่ ตน้ พัฒนาแนวคิดใหม่เพ่อื ต้องการประเมินสภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ ของประเทศตา่ งๆ
ท่ัวโลกอกี ครั้ง ซ่ึงถือเป็นการต่อยอดจากดัชนี EDB โดยคาดว่าธนาคารโลกจะเผยแพร่ตวั ช้ีวัดและรายงานดังกล่าว
ออกมาในปี 2566
แนวคดิ ใหม่น้ใี ช้ชือ่ ว่า “สภาพแวดล้อมทเี่ อือ้ ตอ่ ธรุ กิจ” (Business Enabling Environment) หรือ BEE
ซ่ึงเป็นแนวคิดที่ววิ ัฒนจ์ ากแนวคิดความยากง่ายในการประกอบธรุ กิจ BEE ใช้มุมมองทกี่ วา้ งมากขน้ึ และเป็นองคร์ วมขนึ้
รวมถึงเพ่มิ มิติของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และความยงั่ ยนื อันเปน็ แนวโน้มทางธรุ กจิ ทส่ี ำคญั เขา้ ไปดว้ ย
แนวคดิ ภาพรวมมองวา่ ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ตอ้ งใช้เวลาในการทำธุรกรรมตา่ งๆ กบั หนว่ ยงานของรัฐ อาจพบกบั
กฎระเบยี บทยี่ งุ่ ยากและคาดเดาไมไ่ ด้ ตน้ ทุนในการทำธรุ กรรมครอบคลุมท้ังค่าใช้จ่ายทีส่ งู ท้งั ในแง่ของเวลาและ
เงินทีต่ ้องใช้สำหรับปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บ ตลอดจนมีต้นทุนค่าเสียโอกาสเกดิ ขน้ึ ดว้ ย
ค่าใช้จา่ ยเหลา่ นใ้ี นหลายประเทศมีจำนวนมากจน อาจนำไปสูค่ วามเส่ียงต่อความสามารถในการอยู่รอด
ของธรุ กจิ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็ก ซึ่งจะส่งผลเสียต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจ ท้ังการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ
การวา่ งงาน ความยากจน จนถงึ ดุลงบประมาณของภาครฐั ในระยะยาว
การประเมนิ “สภาพแวดล้อมที่เอือ้ ตอ่ ธรุ กจิ ” (Business Enabling Environment) เป็นความพยายาม
ท่จี ะช้วี ดั ถงึ บรรทดั ฐานทางกฎหมาย ข้อบงั คบั นโยบาย ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
ท่เี ออื้ หรอื ขดั ขวางการเคล่ือนย้ายสินคา้ หรอื บริการของผูป้ ระกอบธุรกิจในห่วงโซค่ ณุ ค่า รวมถงึ บรรทดั ฐานทางสังคม
และวฒั นธรรมทางธุรกจิ ดว้ ย
แนวคิด BEE ต้องการจะนำไปสู่นโยบายการพัฒนาภาคธุรกจิ เอกชนใน 3 ทิศทางทส่ี ำคัญ คือ การสง่ เสริม
การเตบิ โตทางเศรษฐกิจผา่ นนวัตกรรมและการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ การเพิม่ ความเท่าเทียมของโอกาสของผูป้ ระกอบการ
และความยงั่ ยนื ของเศรษฐกิจ
กรอบแนวคิดของ BEE แบ่งเป็น 3 กระบวนการหลัก คือ การเริ่มต้นธุรกิจ การประกอบธุรกิจ
และการสน้ิ สดุ ธรุ กิจ โดยมีปจั จยั เทคโนโลยีดิจทิ ัลและความย่งั ยืนด้านส่ิงแวดลอ้ มฝังอยู่ในทุกกระบวนการธุรกิจ
ท้ังน้ี ใน 3 กระบวนการดังกลา่ วจะแยกยอ่ ยออกเปน็ 10 มิติ
กระบวนการเริ่มต้นธุรกจิ ประกอบด้วย 2 มิติ คือ การเข้าสู่ภาคธุรกิจ (Business entry) และที่ต้ัง
ทางธุรกิจ (Business location)
กระบวนการประกอบธรุ กิจ ประกอบดว้ ย 7 มติ ิ คือ การเชื่อมต่อสาธารณูปโภค (Utility connections)
แรงงาน (Labor) การบรกิ ารทางการเงิน (Financial services)
การค้าระหว่างประเทศ (International trade) การจัดเก็บภาษี (Taxation) การระงับข้อพิพาท
(Dispute resolution) การแขง่ ขันของตลาด (Market competition)
กระบวนการสิ้นสุดธรุ กจิ มี 1 มิติ คอื การล้มละลายของธุรกจิ (Business insolvency) หากเทยี บเคียง
กับแนวคิด EDB ในเชิงกรอบแนวคดิ และมิติตัวชว้ี ดั แล้วจะพบว่าแนวคิด BEE มีการต่อยอดจากแนวคดิ EDB แต่ใช้
มุมมองทีก่ ว้างข้นึ รวมถงึ มีการรเิ ริม่ นำมติ ใิ หม่ๆ ทส่ี ำคัญต่อธรุ กิจเขา้ มา โดยแนวคิดใหม่ทีไ่ มเ่ คยปรากฏใน EDB มาก่อน
หรือปรากฏอยู่แต่ไม่ชัดเจนนัก ซึ่งได้เพิ่มเติมขึ้นมาใหม่ในแนวคิด BEE ได้แก่ เรื่องการแข่งขันของตลาด
(Market competition) และมติ ิแรงงาน (Labor)
สำหรับมิติการแข่งขันของตลาด (Market competition) เป็นเรื่องทีส่ ำคัญมาก ใน BEE จะพิจารณา
ถึงคุณภาพของกฎระเบียบทสี่ ง่ เสริมการแข่งขันในตลาด ความเพยี งพอของบรกิ ารสาธารณะทส่ี ่งเสริมการแขง่ ขนั ตลาด
และประสิทธภิ าพในการดำเนนิ การเพื่อสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ของตลาด โดยจะครอบคลุมการบงั คบั ใช้นโยบายการแขง่ ขนั
ทางการคา้ และกฎระเบยี บทีเ่ นน้ การปรบั ปรุงการแขง่ ขนั ในตลาดเอกชน รวมถงึ ในตลาดจัดซอื้ จดั จ้างของภาครัฐดว้ ย
ส่วนมิตแิ รงงาน (Labor) ประกอบด้วยคุณภาพของข้อบังคับดา้ นแรงงาน ความเพียงพอของบริการ
สาธารณะสำหรับตลาดแรงงาน และความยากง่ายในการจ้างแรงงาน โดยจะพจิ ารณาการทำงานของตลาดแรงงาน
จากมมุ มองของทง้ั บรษิ ัทและพนกั งาน รวมถึงนโยบายและกฎระเบยี บ ตัง้ แต่กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน ไปจนถึง
ขอ้ บงั คบั ในการจ้างงานและการเลิกจ้างแรงงาน
ในมิตทิ างธรุ กจิ อ่ืนๆ พบวา่ แนวคดิ BEE มกี ารต่อยอดในมมุ มองทก่ี วา้ งขนึ้ จาก EDB ตวั อยา่ งเชน่ จากเดิม
ท่ี EDB พิจารณา “การขออนญุ าตก่อสร้าง” ของธุรกจิ กไ็ ด้ขยายมมุ มองใน BEE เป็นการพจิ ารณา “ท่ตี ้ังทางธุรกิจ”
(Business location) ที่ครอบคลุมคุณภาพของกฎระเบียบการเช่าอสังหาริมทรัพย์ การเป็นเจ้าของทรัพยส์ นิ
และการวางผังเมอื ง
นอกจากนี้ จากเดิมที่ EDB พิจารณา “การขอใช้ไฟฟ้า” ก็ได้ปรับเปลี่ยนใน BEE เป็น “การเชือ่ มต่อ
สาธารณูปโภค” (Utilityconnections) ซึ่งครอบคลุมทั้งสาธารณูปโภคท้ังประเภทน้ำ ไฟฟ้า และอินเทอร์เนต็
ซง่ึ สอดคล้องกับการดำเนนิ ธรุ กิจในปัจจบุ นั มากข้ึน ในมิตกิ ารคา้ ระหว่างประเทศ (International trade) ไดเ้ พ่มิ การคา้ พาณิชย์
อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละการคา้ ทย่ี ง่ั ยนื ทางสง่ิ แวดลอ้ มเข้าไปดว้ ย รวมถงึ เร่ิมพิจารณาถงึ การค้าบรกิ ารระหว่างประเทศ เปน็ ตน้
ที่ผ่านมา ตวั ชี้วัด EDB เป็นตวั ช้วี ดั หลักตัวหนึ่งซ่งึ รัฐบาลไทยทุกรัฐบาลไดน้ ำมาใชป้ ระกอบการดำเนนิ นโยบาย
จนทำให้ประเทศไทยขึ้นมาอยู่ในอนั ดับที่ 21 ของโลก ในปีหน้า คาดว่าจะมีการออกรายงานตัวชี้วัด BEE นี้
ซง่ึ น่าจะสรา้ งความทา้ ทายและเพมิ่ แรงกดดนั ตอ่ ภาครัฐมากข้ึนในการปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ ใหด้ ขี น้ึ
โดยเฉพาะเม่อื BEE เพม่ิ มติ กิ ารแขง่ ขนั ของตลาดและมิตแิ รงงานเขา้ มาพิจารณา ซึง่ ผลการประเมินของ
ประเทศไทยไม่วา่ จะออกมาดีหรือแย่กว่าประเทศต่างๆ ก็น่าจะเป็นประโยชน์กับส่วนรวมในการพัฒนาให้ดีข้ึน
โดยเฉพาะในบรบิ ทของการตั้งคำถามถงึ สภาพการแข่งขนั ในตลาดและการผกู ขาดธุรกิจของไทยในปัจจบุ ัน.
ทม่ี า : หนงั สือพิมพ์กรงุ เทพธรุ กจิ