The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จากผลกระทบ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่หรือโควิด-19 รอบใหม่ แม้จะไม่มีผลกระทบรุนแรง เท่า โควิด-19รอบแรก แต่ก็เลี่ยงไม่ได้ว่าเป็นประเด็นความเสี่ยงและซ้ำเติมเศรษฐกิจไทยที่อ่อนแออยู่แล้ว ให้เปราะบาง มากขึ้นไปอีก โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ที่อาจไม่ได้กลับมาเร็วเหมือนที่คาดการณ์ไว้ แม้ทั่วโลกจะเริ่มมีการฉีด "วัคซีน"
โควิด-19 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน แต่การกลับมา และความมั่นใจในการท่องเที่ยว ยังคงต้องใช้เวลาอีกระยะกว่าจะฟื้นตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสาร Bangkok Economy, 2022-05-23 03:38:05

กนง.หั่นจีดีพีเหลือ 3% กังวล ท่องเที่ยว-เศรษฐกิจ ฟื้นช้า

จากผลกระทบ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่หรือโควิด-19 รอบใหม่ แม้จะไม่มีผลกระทบรุนแรง เท่า โควิด-19รอบแรก แต่ก็เลี่ยงไม่ได้ว่าเป็นประเด็นความเสี่ยงและซ้ำเติมเศรษฐกิจไทยที่อ่อนแออยู่แล้ว ให้เปราะบาง มากขึ้นไปอีก โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ที่อาจไม่ได้กลับมาเร็วเหมือนที่คาดการณ์ไว้ แม้ทั่วโลกจะเริ่มมีการฉีด "วัคซีน"
โควิด-19 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน แต่การกลับมา และความมั่นใจในการท่องเที่ยว ยังคงต้องใช้เวลาอีกระยะกว่าจะฟื้นตัว

กนง.หั่นจีดีพเี หลอื 3% กังวล ท่องเทยี่ ว-เศรษฐกิจ ฟ้นื ชา้

จากผลกระทบ ไวรสั โคโรนาสายพันธุใ์ หม่หรือโควิด-19 รอบใหม่ แม้จะไม่มีผลกระทบ
รนุ แรง เท่า โควดิ -19รอบแรก แตก่ ็เล่ียงไม่ได้วา่ เป็นประเด็นความเสยี่ งและซ้ำเติมเศรษฐกิจไทย
ทีอ่ ่อนแออยู่แล้ว ให้เปราะบาง มากขน้ึ ไปอีก โดยเฉพาะภาคการท่องเทยี่ ว ท่ีอาจไมไ่ ดก้ ลับมาเร็ว
เหมอื นที่คาดการณไ์ ว้ แม้ทั่วโลกจะเรม่ิ มีการฉดี "วัคซนี "โควิด-19 เพื่อสร้างภูมิคุม้ กัน แต่การกลับมา
และความมั่นใจในการท่องเทย่ี วยงั คงตอ้ งใชเ้ วลาอีกระยะกวา่ จะฟ้ืนตวั

ล่าสุด คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแหง่ ประเทศไทย มีการเปิดผลประชุม
กนง. คร้ังท่ี 2ของปี 2564 เมื่อ 24 มี.ค. โดย "ทิตนันทิ์ มัลลิกะมาส" เลขานุการ กนง. ระบุว่า
การประชุมคร้ังนี้ คณะกรรมการมมี ติเอกฉันท์ ให้ "คงอัตรา ดอกเบีย้ "ไว้ท่รี ะดับเดิม 0.50% ตอ่ ปี
เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวเศรษฐกิจท่ียังมคี วามไม่แน่นอนสูง และยังคงเผชิญความเส่ียง ด้านต่ำ

แมเ้ ศรษฐกิจไทย โดยรวมยังขยายตัวไดต้ ่อเน่อื ง ดงั นน้ั จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ที่ เศรษฐกิจไทย ยังต้องการแรง
สนับสนุนจากดอกเบ้ียต่ำอย่างต่อไป และควรรักษาขีดความสามารถในการดำเนินนโยบายการเงิน
หรอื Policy Space ทีม่ ีอยจู่ ำกดั ไว้ใช้ในจงั หวะทเ่ี หมาะสม

ทัง้ น้ี ในการประชุมกนง.คร้ังน้ียงั มีการปรบั ประมาณการการขยายตัวเศรษฐกิจ หรอื จีดีพี
ลงจากเป็นขยายตัวลดลงเหลือ 3% จากประมาณการเดิมเมื่อธ.ค.ปี 2563 ท่ีคาดอยู่ท่ี 3.2%
รวมถงึ ปรับจดี พี ปี ี 2565 ลดลงมาอยทู่ ีค่ าดวา่ จะขยายตัว 4.7% จากเดิมคาดวา่ จะขยายตัว 4.8%

น้ำหนัก หลักๆ ที่กน ง.มีก ารปรับจีดีพี คร้ังน้ี ต้องย อม รับ ว่า ห ลักใ หญ่ มาจาก
"จำนวนนักท่องเทีย่ ว" ท่ีลดลง และมาชา้ กว่าทีค่ าดไว้ โดยจำนวนนักทอ่ งเทยี่ ว จะเหลือ 3 ล้านคน
จากคาดการณ์เดิมที่ 5.5 ล้านคน ซึ่งมนี ้ำหนักหรือผลกระทบเชิงเศรษฐกจิ ท่ีมากกว่าผลกระท บของ
"โควิด-19 รอบ2" เสียอกี เพราะประเทศไทยพงึ่ พาการท่องเทย่ี วเปน็ สำคญั และมผี ลตอ่ จดี ีพสี งู ราว 12%

ดังนั้น การท่ีเราพ่ึงพา นักท่องเที่ยวต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ก็ถือว่า
เปน็ ปัจจยั สำคัญ ทีท่ ำให้ "เศรษฐกิจไทย"ฟืน้ ตวั ช้ากวา่ ประเทศอ่นื ๆ

"หากดกู ารขยายตัวของเศรษฐกิจไทย หลังจากนีจ้ ะคอ่ ยๆสงู ขนึ้ และกลับเขา้ สู่ ระดับใกล้เคียง
กับ ก่อนเกดิ โควิด-19 ได้ คอื กลางปี 2565 ดงั นน้ั แปลว่าหากนบั ต้ังแตป่ ลายปี 2562 เศรษฐกิจไทย
จะต้องใช้เวลาราว 2ปีคร่ึง กว่าจะกลับมาฟื้นตัวซ่ึงใกล้เคยี งกบั หลายประเทศในภูมิภาคท่ีพ่ึงพา
ทอ่ งเท่ยี วเปน็ สว่ นใหญ่ ก็มักเห็นการฟ้ืนตวั ชา้ เหมือนเราเช่นกนั "

ขณะเดยี วกนั แมจ้ ะเหน็ ฟ้ืนตวั ของเศรษฐกจิ ไทยจากปัจจัยบวก อย่าง "สง่ ออก" ท่ีกลับมาฟื้นตวั
ได้เรว็ ตามการขยายตวั ของประเทศค่คู ้า ทำให้ กนง.มีการปรับมลู ค่าส่งออก ขยายตวั เพ่มิ ข้นึ เปน็ 10%
จากเดิมที่คาดอยู่ที่ 5.7% รวมถึงแรงบวกจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐที่ออกมาพยุง
เศรษฐกิจตอ่ เนอ่ื ง แต่ ภาคท่องเที่ยว ทฟ่ี ้ืนตวั ช้า และกระทบมากกวา่ คาด ก็อาจไมส่ ามารถประคอง
ใหเ้ ศรษฐกจิ ไทยโตได้ระดับคาดการณเ์ ดิมได!้

อีกท้ัง ยังมีปัจจัยที่ต้องติดตาม หรือความเส่ียงสำหรับเศรษฐกิจไทยใน ระยะข้างหน้า
คือ ประสทิ ธิผล การกระจาย วคั ซนี ว่าจะเป็นอยา่ งไร จะกลายพนั ธ์ุ หรอื ไม่ ซ่งึ เช่ือมโยงกับการกลับมา
ของนักทอ่ งเท่ยี วต่างชาติ

ท้ายท่สี ดุ แม้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัว แตล่ กั ษณะการฟน้ื ตัว ยงั ต่างกันมาก ดังน้ันเศรษฐกิจไทย
ยงั จำเปน็ และตอ้ งการแรงหนนุ จากภาครฐั อย่างตอ่ เนื่อง เพราะเศรษฐกจิ ไทย ยังไม่เขม้ แข็ง แมฟ้ น้ื ตัว
แตก่ ย็ งั "เปราะบาง"เพราะยังมีความเส่ยี ง ดังนนั้ จำเป็นตอ้ งมีแรงกระต้นุ จากหลายเคร่อื งมอื เข้ามาชว่ ย

นอกจากน้ี ยงั มีโจทย์ ทีค่ ณะกรรมการ กนง.มีการคุยกนั ในท่ปี ระชุม ถงึ การเข้าไป ช่วยเหลือ
ภาคประชาชนและธุรกจิ ที่ได้รบั ผลกระทบจากโควดิ -19 ขณะที่ ด้านการเงนิ แม้สภาพคล่องโดยรวม
จะอยู่ระดับสงู แต่การกระจายตัวยังไม่ท่วั ถึง จากความเสี่ยงดา้ นเครดิตที่เพิม่ ขึ้น ตามฐานะ การเงิน
ทเี่ ปราะบาง โดยเฉพาะธุรกจิ ท่ี ฟ้ืนตัวช้า และครัวเรือนที่ถูกกระทบเพมิ่ ขึ้น ดังน้ันการเข้าไปฟื้นฟู
เศรษฐกจิ ในระยะ ถดั ไปให้เข้มแขง็ ตอ้ งไปดเู กี่ยวกับการปรบั โครงสร้างเศรษฐกิจ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ
นโยบายภาครฐั ต่างๆคงต้องปรับเปลยี่ นและใหเ้ กดิ ความเพยี งพอ เพือ่ หนุนเศรษฐกิจไทยใหย้ งั่ ยืน

สำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ไตรมาสแรกปี 2564 น้ี ยอมรับว่า มีแนวโน้ม "ลดลง"
หากเทียบกับไตรมาส 4 ทผ่ี ่านมา โดยจากข้อมลู ของ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ(สศช.)
หรือ สภาพัฒน์ มกี ารเปิดเผยจีดีพีในไตรมาส 4 ตดิ ลบอยู่ท่ี 4.2% ซึ่งหลักๆ จากผลกระทบจาก
โควดิ -19 รอบใหม่ แตก่ ารบรหิ ารจดั การ โควดิ -19 รอบนี้ ทีไ่ มไ่ ดเ้ ขม้ งวดเท่ากับการระบาดรอบแรก
และมาตรการรองรบั และ เยียวยาที่ทำได้เร็ว มีส่วนช่วยพยุงทำให้ "ผลกระทบ" ไม่ได้รุนแรง
เท่าโควิด-19 รอบแรก

"ทติ ินนั ท"์ิ ยังกลา่ วอกี ว่า ในการประชมุ กนง.รอบน้ีมขี ้อสังเกตอกี ดา้ น ที่น่าสนใจ คือ ดุลบัญชี
เดินสะพดั ปี 2564 ท่ีคาดเกินดลุ นอ้ ยลง เหลือ 1.2 พนั ล้านดอลลาร์ จากคาดการณเ์ ดมิ ที่ 11.6
พันล้านดอลลาร์ จากราคาน้ำมนั ทปี่ รับตวั เพิ่มข้ึน รวมถงึ ปัจจยั อนื่ ท่ีสง่ ผลให้ แรงกดดนั จากการแข็งค่า
ของเงินบาท "ลดลง"ด้วย ดังนั้นความกงั วลของธปท.ท่ีมีต่อค่าเงนิ บาทแข็งคา่ กล็ ดลง จาก "ดลุ บญั ชี
เดนิ สะพดั ทเ่ี กนิ ดุลนอ้ ยลง

แตต่ อ้ งยอมรับว่า เรือ่ งพวกน้ี ประมาทไม่ได้ เพราะอาจจะมีเรอ่ื งเงนิ ทุนที่ผนั ผวน ซง่ึ ต้องระวัง
อย่างต่อเน่ือง ควบคู่ไปกับ การเร่ง ผลักดัน หรือสร้างระบบนิเวศของอัตรา แ ลกเปลี่ย น
(FX ecosystem) อย่าง ต่อเน่อื ง เพ่ือเป็นกนั ชน และรกั ษาเสถยี รภาพคา่ เงินบาทในระยะยาวได้

"ท่ีผ่านมา หากดูอัตราแลกเปล่ีย น เวลาสหรัฐมีการกระตุ้น เศรษฐกิจ เงินดอลลาร์
ก็มักกลับไปแข็งค่า ส่งผลให้เงินบาท รวมถึงเงินสกุลในภูมิภาค กลับมาอ่อนค่า ประกอบกับ
เศรษฐกิจไทยที่ฟื้นตัวช้ากว่าประเทศอื่นๆบ้าง ทำให้ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลน้อยลง จึงทำให้
แรงกดดันของเงนิ บาททแ่ี ข็งค่าน้อยลง แต่ยงั ไงตอ้ งบริหารจัดการค่าเงิน และตดิ ตามคา่ เงินบาท
อย่างตอ่ เนือ่ ง"

ท่มี า : หนงั สือพิมพก์ รุงเทพธรุ กิจ


Click to View FlipBook Version