The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร Bangkok Economy Vol.42

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสาร Bangkok Economy, 2020-06-22 23:20:38

วารสาร Bangkok Economy Vol.42

วารสาร Bangkok Economy Vol.42

บรรณาธกิ ารแถลง

..เข้าช่วงโค้งสุดท้ายของปีงบประมาณ CONTENTSºÒ§¡Í¡·¹Ñ ¡Òó 3
พ.ศ.2562 ท่ีผ่านไปอย่างรวดเร็ว ซ่ึงทาง
กองบรรณาธิการของเราก็จะขอฝากผลงาน ·Ò§ÃÍ´ & Ç¸Ô »Õ ÃѺµÑÇà¾èÍ× ÃºÑ ÁÍ× Ç¡Ô Äµ
ส�าหรับการจัดท�าวารสารบางกอก Economy ฉบับที่ 3/2562 (Vol.42)
ซึ่งฉบับน้ีเราจะมาติดตามความคืบหน้าของโครงการท่ีกรุงเทพมหานคร “ʧ¤ÃÒÁ¡ÒäҌ ” ÊËÃ°Ñ - ¨Õ¹ !
ได้เสนอให้เป็นบริการแก่ภาคประชาชน ได้แก่ โครงการพระปกเกล้า
สกายปารค์ @ สวนสาธารณะลอยฟา (แหง่ ท่ี 2) ในเอเชีย ท่คี าดวา่ น่าจะใชเ้ ปน็ ¤ÅѧºÒ§¡Í¡ 6
พื้นท่ีสีเขียวและเป็นสถานที่ท่ีดึงดูดนักท่องเท่ียวริมฝงแม่น�้าเจ้าพระยา
ได้อีกแหง่ หนึ่ง โดยโครงการดงั กลา่ วน้ีจะช่วยอ�านวยประโยชนใ์ ห้แกป่ ระชาชน Â·Ø ¸ÈÒʵÏ¡Òþ²Ñ ¹ÒÍصÊÒË¡ÃÃÁ
ในการเป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ และออกก�าลังกายต่อไป.. และจากภาวะ
วิกฤติด้านสงครามทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ซึ่งเป็น 2 ประเทศ à»Ò‡ ËÁÒ·ÕÁè ÕÈ¡Ñ ÂÀÒ¾ (S-Curve)
มหาอ�านาจทางการค้าและเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของโลก ซึ่งมีผลให้ทั่วโลก
ได้รับผลกระทบไปตามๆ กันน้ัน เราจึงจะต้องหันมาพิจารณาถึงทางรอด & ¡ÑºÍ¹Ò¤µ·Ò§àÈÃÉ°¡¨Ô ä·Â...
วธิ ปี รบั ตวั เพอื่ รบั มอื ภาวะวกิ ฤตดงั กลา่ วรวมทง้ั ในประเดน็ เรอื่ งยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา
ประเทศท่ีภาครัฐได้ให้ความส�าคัญกับอุตสาหกรรมเปาหมายท่ีมีศักยภาพหรือ àÈÃÉ°¡¨Ô ºÒ§¡Í¡ 10
(S-Curve) ในการที่จะช่วยขับเคล่ือนและก�าหนดอนาคตทางเศรษฐกจิ ของไทย
ซ่ึงจะช่วยผลักดันให้ไทยสามารถก้าวผ่านกับดักรายได้ปานกลางไปสู่การเป็น ¡ÒâºÑ à¤Å×è͹àÈÃÉ°¡¨Ô Ẻẋ§»¹˜ (Sharing Economy)
ประเทศท่ีพัฒนาแล้วอย่างสมบูรณ์ได้ในอนาคตและสืบเนื่องจากการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลปจจุบันที่สร้างความสะดวกสบายในชีวิตประจ�าวันที่เพ่ิม @ û٠Ẻ¾Å§Ñ ¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁ×ͼҋ ¹à·¤â¹âÅÂ´Õ Ô¨Ô·ÑÅ
มากขน้ึ เรอื่ ยๆ ดงั นนั้ การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ แบบแบง่ ปน (Sharing Economy)
จะถือเป็นรูปแบบพลังของความร่วมมือของทุกฝายผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ºÒ§¡Í¡ºÍ¡ãËŒÃÙŒ 13
ทั้งในส่วนของผู้ท�าธุรกิจและผู้บริโภค ท่ีจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ 16
ให้เจริญรุดหน้าไป ประกอบกับผลที่สืบเนื่องจากผลของเทคโนโลยี ฉบับนี้ “ ¼Ñ§àÁÍ× §ÃÇÁ ” à¤ÃèÍ× §Á×Í & ¡Ãͺª¹Õé Òí
เราจงึ จะมาทา� ความรจู้ กั กบั “E-Donation” ซงึ่ เปน็ ระบบบรจิ าคอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ·ÈÔ ·Ò§¡Òþ²Ñ ¹ÒàÁ×ͧ ¡·Á... 18
ที่พัฒนาโดยกรมบัญชีกลาง โดยสามารถลดความยุ่งยากในขั้นตอนการ 20
ลดหย่อนภาษีส�าหรับผู้ให้การบริจาคได้มากทีเดียว อีกทั้งในยุคท่ีปจจุบัน ÊÒÃÐÀÒÉÕ 22
ภาคธุรกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อันเป็นผลมาจากระบบเทคโนโลยี
ดิจิทัล ดังน้ัน ในเล่มวารสารฉบับนี้ของเราจึงได้มาน�าเสนอในประเด็นของ “ E - Donation ”
Digital Disruption ท่ีก�าลังเป็นท่ีแพร่หลายอย่างมากในโลกธุรกิจท่ีทุกคน
จะต้องปรับตัวขนานใหญ่เพือ่ ใหไ้ ม่ถกู กลืนธุรกิจ ÃкººÃÔ¨Ò¤ÍÔàÅ¡ç ·Ã͹ԡÊ. .Å´¤ÇÒÁ‹§Ø ÂÒ¡
โดยกองบรรณาธกิ ารหวงั วา่ วารสารฉบบั (Vol. 42) นจี้ ะเปน็ ประโยชน์ 㹡ÒÃÅ´ËÂÍ‹ ¹ÀÒÉÕ !
ส�าหรับท่านผู้อ่านและในปีงบประมาณหน้า ซึ่งทางกองบรรณาธิการก็จักได้
ปรับปรุงและพัฒนาเนื้อหาในการผลิตวารสาร Economy เพ่ือให้มี On Trade
ความสมบูรณ์และสอดคล้องกับบริบทของภารกิจขององค์กรที่เปลี่ยนแปลงไป
ตามกระแสทศิ ทางของเศรษฐกิจปจ จุบนั ตอ่ ไป.. พบกันใหม่ฉบับหนา้ ! Digital Disruption & ¤Å¹è× ÅÙ¡ãËÁ‹áË‹§¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ
·ÁÕè ¼Õ Å¡ÃзºãËŒÀÒ¤¸Øá¨Ô µŒÍ§»ÃºÑ à»ÅÕÂè ¹ !

Progress Project

â¤Ã§¡ÒþÃл¡à¡ÅŒÒ Ê¡Ò»ÒϤ @
ÊǹÊÒ¸ÒóÐÅÍ¿‡Ò(á˧‹ ·èÕ 2) ã¹àÍàªÕÂ

ÃͺÃÑéǺҧ¡Í¡

º·ºÒ· ÀÒá¨Ô ¢Í§¤³Ð¼ŒºÙ ÃËÔ Òà ¡·Á.

นายปยะ พดู คล่อง
บรรณาธกิ าร

¤³Ð¼ÙŒ¨´Ñ ·íÒ ÇÒÃÊÒúҧ¡Í¡ ECONOMY ¨´Ñ ·íÒâ´Â :
ÊíÒ¹¡Ñ §Ò¹àÈÃÉ°¡¨Ô ¡ÒäŧÑ
»Ãиҹ·è»Õ ÃÖ¡ÉÒ ¹Ò§ÈÅÔ »ÊÇ ÃÐÇÕáʧÊÃ٠ »ÅÑ´¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã ÊÒí ¹¡Ñ ¡ÒÃ¤Å§Ñ ¡Ã§Ø à·¾ÁËÒ¹¤Ã
â·Ã. 0 2224 1916 â·ÃÊÒÃ 0 2225 1945
Ãͧ»Ãиҹ·Õè»Ã¡Ö ÉÒ ¹Ò¢¨µÔ ªªÑ ÇҹԪ Ãͧ»Å´Ñ ¡Ã§Ø à·¾ÁËÒ¹¤Ã ´ÒǹâËÅ´ÇÒÃÊÒÃÂÍŒ ¹ËÅѧ :
www.bangkok.go.th/fiic
·»Õè ÃÖ¡ÉÒ ¹Ò¸ÃÃÁÃѵ¹ Á¡Ø Á¤Õ Ò‹ ¼ÍÙŒ íҹǡÒÃÊíÒ¹¡Ñ ¡ÒäÅѧ ¨´Ñ ·íÒµŒ¹©ºÑº ¶‹ÒÂÀÒ¾ Í͡Ẻ áÅоÁÔ ¾ :

¹Ò§ÃʸÒÃ¹Ô ·Ã ÍØ‹¹Í¹¹Ñ µ Ãͧ¼ŒÙÍÒí ¹Ç¡ÒÃÊíÒ¹¡Ñ ¡ÒÃ¤Å§Ñ ºÃÔÉ·Ñ ´Í¡àºÂéÕ ¨íÒ¡Ñ´
â·Ã. 0 2272 1169 â·ÃÊÒÃ 0 2272 1173
¹Òª¹Ð¾¹¸ìÔ ÈÃÃÕ Ñµ¹¾Ñ²¹ Ãͧ¼ÙŒÍíҹǡÒÃÊÒí ¹Ñ¡¡ÒäŧÑ
Email : [email protected]
ºÃóҸԡÒà ¹Ò» Ð ¾´Ù ¤Å‹Í§ ¼ŒÙÍÒí ¹Ç¡ÒÃÊÒí ¹Ñ¡§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ

¡Í§ºÃóҸ¡Ô Òà ¹ÒÂÀҳؾ§È ¨¹Ñ ·Ð»ÃÐà·È , ¹.Ê.ÃªÑ ®ÒÇÑŏ ÊØ¢Í´Ø Á , ¹.Ê.»ÀÊÑ Êà ¨íÒà¹ÕÂÃ,

¹.Ê.ÇÅÔ ÒÇÅÑ Â 梯 àÊÃÁÔ , ¹.Ê.¨¹Ñ ·ÁÔ Ò ¼ÇÔ ¨¹Ñ ·Ãʏ ´ , ¹Ò§Ê¹Ø ¾Õ à àÃÍ× ¹¨¹Ñ ·Ã , ¹Ò¡Òí ¾Å ¿¡˜ áʧ

บางกอกทันการณ์

·Ò§ÃÍ´ & ÇÔ¸»Õ ÃѺµÇÑ à¾Í×è ÃѺÁ×ÍÇԡĵÔ

“ʧ¤ÃÒÁ¡ÒäҌ ” ÊËÃ°Ñ - ¨¹Õ !

สืบเน่ืองจากนโยบาย “America First” หรือ มาอย่างต่อเน่ือง และดูเหมือนว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้น

“อเมริกาต้องมาก่อน” ของทรัมปตอนชนะเลือกต้ัง โดย ซงึ่ แมว้ า่ หลายฝา ยทตี่ อ้ งการใหผ้ นู้ า� ประเทศทงั้ สองไดพ้ จิ ารณา

ส่งผลให้นโยบายการขับเคลื่อนหลักของประเทศ ซึ่งต้อง หาทางออกร่วมกันที่ดีที่สุดเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ

ปกปองผลประโยชน์ทางการค้าของอเมริกาท่ีประสบปญหา และก่อให้เกิดผลดีแก่นานาประเทศท่ัวโลก แต่วิเคราะห์แล้ว

การขาดดุลการค้ากับประเทศอื่นๆ ของโลกมาโดยต่อเน่ือง ท่ีผ่านมาต้นตอของการตอบโต้ทางการค้า คือ ความพยายาม

และโดยเฉพาะอย่างย่ิงปจจุบันจีนได้เร่ิมก้าวขึ้นมาเทียบเคียง ของทางสหรัฐฯ ท่ีต้องการกดดันให้จีนได้เปล่ียนโอกาส

การเป็นมหาอ�านาจทางด้านเศรษฐกิจเพื่อแข่งกับทาง การค้าให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับประเทศอุตสาหกรรม

สหรัฐอเมริกาจนเป็นท่ีหวั่นใจว่าอเมริกาจะเสียเปรียบ รายใหญ่อ่ืนๆ กล่าวคือ ต้องการให้จีนยุติการละเมิดทรัพย์สิน

ดุลการค้าท่ีมากข้ึนเร่ือยๆ และข่าวท่ีสร้างความตื่นตระหนก ทางปญญา และให้จีนเปิดประเทศเพื่อรับการลงทุนจาก

กันแบบ “ช็อกไปท่ัวโลก” กันเลยก็ว่าได้กับ “TradeWar” ต่างชาตมิ ากขึน้ ..

โดยเป็นวิกฤติท่ีเกิดข้ึนของสงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ โดยลา่ สดุ จากการประเมนิ ผลกระทบและความรนุ แรง

และจีน และท�าท่าว่าจะกลายเป็นมหากาพย์ รวมทั้งสร้าง ท่ียืดเย้ือ ประกอบกับได้มีมาตรการท่ีใช้ตอบโต้กันแบบ

ความสูญเสียให้กับทุกฝายแบบไม่จบส้ินเป็นเวลากว่า 2 ปี ไม่ส้ินสุด หลังจากที่นายโดนัลด์ ทรัมป ประธานาธิบดีสหรัฐฯ

ท่ีอเมริกาและจีนเกิดความตึงเครียดทางการค้าและเศรษฐกิจ ประกาศข้ึนภาษีสินค้าน�าเข้าจากจีนจากเดิมที่เก็บภาษี 10%

ซ่ึงส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจโลก และลุกลามลึกลงไป ข้ึนเปน็ 25% และภายหลงั จากนน้ั เพียง 3 วนั จนี กไ็ ด้ประกาศ

ในแต่ละประเทศจากการโต้ตอบนโยบายระหว่างมหาอ�านาจ ข้ึนภาษีน�าเข้าสินค้าจากสหรัฐฯ เพื่อเป็นการตอบโต้ทันที

2 ประเทศผ่าน “มาตรการการกีดกันทางการค้า” และ โดยยิ่งไปกว่าน้ัน การประกาศ “สงครามการค้า” ก็ยัง

ต้ังก�าแพงภาษีสินค้าน�าเข้า รวมถึงการแบนสินค้าของจีน กอ่ ใหเ้ กดิ กระแส “การตอ่ ตา้ น และความเกลียดชงั ” ระหวา่ ง

บางกอก ECONOMY 3

ท้ังสองประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งก่อให้เกิดกระแสต่อต้านสินค้า สงครามครั้งนี้ไม่ใช่มีสาเหตุเกิดขึ้นเพียงเร่ืองของประเด็น

สหรัฐฯ และการข้ึนราคาสินค้าจาก “นักท่องเท่ียวสหรัฐฯ” ทางการค้า แตท่ ว่าเปน็ ปญหา “การเมอื งระดบั โลก” ท่ีทง้ั โลก

ทเ่ี ดินทางมาทอ่ งเที่ยวในจีน ก�าลงั เผชญิ อยนู่ นั่ เอง..

และผลกระทบย่ิงไปกว่าน้ันได้ลุกลามไปยังฝง

ผู้ประกอบการภาคเอกชน ซ่ึงห้ามให้บริษัทของสหรัฐฯ ทางรอดของไทยในสงครามการคา !

ใช้อุปกรณ์โทรคมนาคมที่ใช้เทคโนโลยีท่ีเส่ียงต่อความมั่นคง ป ร ะ เ ด็ น ท า ง ร อ ด แ ล ะ ก า ร ตั้ ง รั บ เ พ่ื อ รั บ มื อ กั บ

ของชาติ โดยรวมไปถึงบริษัท Huawai ของทางประเทศจีน สถานการณ์วิกฤตเน่ืองจากภาวะ “สงครามการค้า” ท่ีจะ

อีกด้วย โดยให้เหตุผลว่าอาจจะส่งผลกระทบต่อความม่ันคง ยืดเย้ือ และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกรวมถึง

ของประเทศ และมีการตั้งข้อสังเกตมาอย่างต่อเน่ืองที่สหรัฐฯ เศรษฐกิจของไทย ฉะนั้น เม่ือโลกปจจุบันประสบภาวะ

พยายามใช้มาตรการทางการค้าเพื่อสกัดก้ันการพัฒนา ของความผันผวนในห่วงโซ่อุปทาน หรือ Supply Chain

ของจีนเพื่อเข้าสู่เทคโนโลยี 5 จี ซ่ึงปรากฏว่าจีนน้ันประสบ การรวมกลุ่มของอาเซียนเพ่ือรับมือกับ Trade War จึงเป็น

ความสา� เรจ็ ในเร่ืองนกี้ ่อนทางสหรัฐฯ ! ทางรอดหน่ึงท่ีจะเผชิญกับสภาวการณ์ดังกล่าวไปได้ แต่หาก

ในการนี้ผลกระทบ (Effect) จาก “สงคราม กลุ่มประเทศสมาชิกของอาเซียนขาดเอกภาพภายในภูมิภาค

การค้า” ครั้งใหม่นี้ ได้ส่งผลกระทบทันทีต่อปริมาณการค้า ประเทศไทยจึงต้องเร่งหาทางออกเพ่ือแก้ไขปญหานี้ไปให้ได้

รวมถึงทิศทางการลงทุนท่ัวท้ังโลก ประกอบกับส่งผลกระทบ จากผลกระทบท่ีแนวโน้มการส่งออกของไทยที่ลดลงต่อเนื่อง

อย่างรุนแรงต่อการขยายตัวของการส่งออก และอัตราการ ในขณะที่การย้ายฐานการผลิตจากจีนมาไทย ซึ่งก็ไม่ได้มี

ขยายตัวของเศรษฐกจิ ทกุ ประเทศท่ัวโลก โดยเฉพาะภาวะการ แต่ผลบวกในด้านเดียวอย่างที่เราคิด เน่ืองจากอาจจะส่งผล

ซบเซาของเศรษฐกิจจีนท่ีส่งผลกระทบต่อเนื่องกับเศรษฐกิจ ท�าให้สหรัฐฯ ใช้เป็นประเด็นเพ่ือหยิบยกด้านการผลิตของ

ท่ัวทั้งเอเชียและประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ อีกทั้งความ อุตสาหกรรมจีนมายังไทยและน�ามาเป็นประเด็นใหม่ในเร่ือง

พยายามที่ท้ังสองประเทศก�าลังสะสมประเทศเข้าร่วมเป็น การกีดกันทางการคา้ ได้ พร้อมท้ังอาจขน้ึ บัญชีจบั ตาด้านอตั รา

พันธมิตรเพื่อดึงเข้าแนวร่วมสงครามการค้าโลก จนจะปะทุ แลกเปลี่ยนการส่งออกของไทย ซ่ึงคงไม่อาจรอดพ้นสายตา

กลายเป็น “สงครามเย็นรอบใหม่” และเป็นที่แน่ชัดว่า สหรฐั ฯ ไปได้ เพราะไทยนนั้ เปน็ ผสู้ ง่ ออกรายใหญ่ ประกอบกบั

4 บางกอก ECONOMY

แนวทางเพื่อรบั มอื กับสถานการณ

“สงครามการคา ”

โดยท่ีสงครามการค้าซ่ึงมีความยืดเย้ือยาวนานและ

ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมหาศาล

ฉะน้ัน เราอาจจะพิจารณาถึงทางรอดของเศรษฐกิจตาม

แนวทางเสนอ เพอื่ ปรับตวั ในสถานการณป์ จ จบุ ัน ดังน้ี

1. เพ่ิมช่องทางการน�าเข้าวัตถุดิบ หากสถาน

ประกอบการมีการน�าเข้าสินค้าหรืออะไหล่จากประเทศที่ได้

เป็นผู้ปอนสินค้าไอที อิเล็กทรอนิกส์ และแผงวงจรไฟฟา รับผลกระทบจากการปรับขึ้นภาษีของสหรัฐฯ คร้ังน้ี ซ่ึงควรมี

รายใหญ่ให้แกจ่ นี แนวทางเพอื่ ศกึ ษาหาชอ่ งทางการนา� เขา้ วตั ถดุ บิ ในเขตประเทศ

สืบเน่ืองจากที่ไทยท�าการค้ากับทั้งสหรัฐและจีน อื่นๆ ว่ามีผู้ผลิตไหนท่ีสามารถส่งสินค้าที่มีคุณภาพเดียวกัน

ซึ่งหากมองถึงด้านสินค้าของไทยท่ีส่งออกในภาพรวมแล้ว หรือใกล้เคียงกับที่ต้องการ รวมทั้งควรต้องศึกษาเรื่อง

ไทยจะได้รับผลกระทบจากสงครามการค้าน้ีไม่ว่าจะด้านบวก มาตรการภาษีของประเทศนั้นเพ่ิมข้ึนด้วยเพื่อเป็นอีกหนึ่ง

หรือด้านลบก็ตาม ฉะน้ัน เราจึงควรวางแผนเพื่อรองรับ ทางเลือกให้ธุรกิจสามารถด�าเนินต่อไปได้ แม้ว่าจะเกิด

กับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นส�าหรับผู้ประกอบธุรกิจในไทย สงครามการค้าหรือปญหาอื่นๆ ก็พร้อมที่จะรับมือกับ

เพ่อื พร้อมรบั มอื โดย ทกุ สถานการณ์

- ผู้ประกอบการท่ีท�าธุรกิจ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ และ 2. ขยายฐานลูกค้าเดิมและเร่งเจาะตลาดใหม ่

ชนิ้ สว่ นรถยนต์ ซง่ึ อาจจะมชี ่องทางในการสง่ ออกไปยงั สหรฐั ฯ ในการน้ีไม่ควรทิ้งฐานลูกค้าเดิมที่เคยมีอยู่เนื่องจากเป็นสิ่งที่

มากขึ้น เนื่องจากการกีดกันการค้าท�าให้สินค้าจีนไม่สามารถ ควรจะรักษาไว้หรืออาจจะเป็นโอกาสท่ีดีในการเพ่ิมยอดขาย

ส่งสินค้าไปขายท่ีสหรัฐฯ ได้ในปริมาณเท่าเดิม แต่ส�าหรับ หรอื ขยายธุรกจิ ของจากฐานลูกคา้ เดิมกเ็ ป็นได้ และนอกจากน้ี

ผู้ประกอบการที่ส่งออกไปยังประเทศจีน น้ัน อาจจะได้รับ ควรเร่งเจาะตลาดใหม่ให้มากขึ้นเพ่ือเป็นการลดความเส่ียง

ผลกระทบท่เี ปน็ ผลพวงมาจากการกีดกันของทางสหรฐั ฯ ได้ ทอ่ี าจจะเกิดข้ึน

- ผู้ประกอบการท่ีท�าธุรกิจส่งออกสินค้า ประเภท 3. เตรียมแผนการเงินส�ารองส�าหรับกิจการ

มะพร้าว ทุเรียน ล�าไย ล้ินจ่ี และมะม่วงจะมีโอกาสในการ ซ่ึงประเทศไทยหรือธุรกิจจะได้รับผลกระทบมากน้อยเพียงใด

เขา้ ไปแทนที่สินคา้ สหรัฐฯ ในตลาดจนี ได้มากขนึ้ ก็ควรท่ีจะวางแผนให้ธุรกิจมีความยืดหยุ่นอยู่ตลอดเวลา

และนอกจากน้ีแล้วทางผู้ประกอบการไทยยังได้รับ ซ่ึงปจจัยท่ีส�าคัญ น้ัน ก็คงจะหนีไม่พ้นเรื่องเงินทุนส�ารอง

ผลกระทบเชิงบวกจากนโยบายลดภาษีการน�าเข้าสินค้า และกระแสเงินสดหมุนเวียนของกิจการเพื่อให้กิจการ

ประเภทอาหารแปรรูป อาหารทะเล เส้ือผ้า รองเท้า และ มีเตรียมพร้อมกับผลกระทบจากวิกฤติครั้งนี้ได้ท้ังในเชิงบวก

เคร่ืองส�าอางจากประเทศจนี ด้วย.. และเชงิ ลบต่อไป..

บางกอก ECONOMY 5

ÂØ·¸ÈÒʵᏠÒþѲ¹Ò굯 ÊÒË¡ÃÃÁ
à»Ò‡ ËÁÒ·ÕèÁÈÕ ¡Ñ ÂÀÒ¾ (S-Curve)
¡ÑºÍ¹Ò¤µ·Ò§àÈÃÉ°¡¨Ô ä·Â...

สืบเน่ืองจากภาคเศรษฐกิจของไทยส่วนหนึ่ง กับดักรายได้ปานกลาง นั้น ทางธนาคารโลกได้ให้ข้อมูลว่า
จักต้องอาศัยปจจัยเกื้อหนุนซ่ึงเป็นผลมาจากอานิสงส์ของ ไทยได้ก้าวเข้าสู่สถานะของประเทศท่ีมีระดับรายได้ปานกลาง
การขบั เคลอื่ นและพฒั นาทางดา้ นอตุ สาหกรรมภายในประเทศ มาตัง้ แต่ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ปี 2540 และในช่วงปี 2554
เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ อาชพี รายได้ และการจา้ งงานของแรงงานในกลมุ่ ธนาคารโลกก็ได้ประกาศให้ไทยเลื่อนฐานะจากการเป็น
อุตสาหกรรมและ SME ต่างๆ แต่ทว่าในสภาวการณ์ปจจุบัน ประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางระดับต�่า (Lower-middle-
ที่กระแสของเทคโนโลยีได้เข้ามามีผลกระทบอย่างสูงต่อ income country) และก้าวไปสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
ระบบการผลิต รวมถึงโครงสร้างและเปาหมายทิศทางในการ ระดับสงู (Upper-middle-income country)
ขับเคล่ือนการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องไปตามการเปล่ียนแปลง “กับดักรายได้ปานกลาง” หรือ (Middle Income
ทเี่ กิดขนึ้ อย่างเปน็ พลวตั ร ประกอบกบั แนวโน้มทอ่ี ุตสาหกรรม Trap) น้ัน หมายถึง ประเทศท่ีสามารถพัฒนาเศรษฐกิจจาก
ในสาขาต่างๆ ท่ีอาจถูก Disruption ได้โดยง่ายในปจจุบัน ประเทศยากจนท่ีมีรายได้ต�่า จนก้าวเข้าสู่ระดับประเทศ
ดังน้ัน ทางรัฐบาลของไทยจึงได้ก�าหนดวางยุทธศาสตร์ ท่ีมีรายได้ปานกลาง แต่ในท่ีสุดไทยก็ยังคงเผชิญอยู่กับภาวะ
การพัฒนาและขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเปาหมาย (S-Curve) “ติดหล่ม” โดยยังไม่มีแนวโน้มที่จะก้าวข้ามไปสู่ประเทศท่ีมี
ใน 10 อตุ สาหกรรมหลักๆ โดยอ�านวยใหห้ นว่ ยงานทง้ั ภาครฐั รายไดส้ งู ได้ ทั้งน้ี จากอดีตท่ีผ่านมามีเพียงไม่ก่ีประเทศในโลก
และเอกชนท่ีเก่ียวข้องทางด้านเทคโนโลยีพยายามขานรับ ท่ีสามารถหลุดพ้นจากภาวะของกับดักรายได้ปานกลาง
นโยบายดงั กลา่ ว พรอ้ มสนบั สนนุ ใหท้ กุ อตุ สาหกรรมเรง่ ปรบั ตวั
เพ่ือเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร การด�าเนินธุรกิจ รวมถึงเปิดรับ
เทคโนโลยีเพื่อรับกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ทั้งจาก
พฤติกรรมผู้บริโภคและธุรกิจยุคใหม่ เพื่อต้องการยกระดับ
ให้ไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันท่ีสูงขึ้น ประกอบกับ
ยังมุ่งหวังให้คนไทยได้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง
(Middle Income Trap) กับดักความไม่เท่าเทียม
(Inequality Trap) และกับดักความไม่สมดุลของการพัฒนา
(Imbalance Trap) และโดยเฉพาะอย่างย่ิงการตกอยู่ภายใต้

6 บางกอก ECONOMY

โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาเพ่ือแก้ปญหาของประเทศด้วยโมเดล

การขับเคล่ือนโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจใหม่

(New Economy Model) โดยอาศยั นวตั กรรมและมกี ารใชห้ ลกั

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ สง่ เสรมิ และกระตนุ้ ใหป้ ระชาชน

สามารถสร้างรายได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังมีแนวคิดในการ

เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจท่ีมุ่งเน้นการผลิตโดยใช้แรงงาน

เครื่องจักร และทรัพยากรมาเป็นการผลิตบนฐานความรู้และ

ซ่ึงตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนในแถบประเทศเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุน เทคโนโลยีท่ีมากข้ึน โดยมีการเชิญชวนสถาบันการวิจัยระดับ

เกาหลใี ต้ และไต้หวัน ในการนโี้ ดยสาเหตุหลักๆ ท่ีประเทศไทย โลกให้เข้ามาจัดต้ังองค์กรวิจัยภายในประเทศ และส่งเสริม

ต้องติดอยู่กับสภาวะของกับดักรายได้ปานกลาง เน่ืองจาก ดา้ นความร่วมมอื ระหว่างภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนสถาบัน

ภาวะการสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การศกึ ษา และสถาบนั การเงนิ ใหม้ ากยง่ิ ขนึ้ ในลกั ษณะทเี่ รยี กวา่

และโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศท่ีต้องอาศัยพึ่งพาการส่งออก “ประชารฐั ” โดยวางเปา หมายเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธภ์ิ ายใน 3 - 5 ปี

เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นปจจัยหลัก ทัง้ น้ี ซง่ึ โมเดล Thailand 4.0 หรอื ประเทศไทย 4.0 ดังกล่าว

แต่ไม่สามารถท�าการขยายสินค้าเพ่ือส่งออกได้ ประกอบกับ มีรากฐานความคิดมาจาก Industry 4.0 ท่ีมีจุดเริ่มต้นจาก

สินค้าที่ผลิตแข่งขันไม่สามารถได้เปรียบกับประเทศอื่น ประเทศเยอรมนี เปน็ ผกู้ า� หนดแนวคดิ ทเี่ นน้ ไปทาง Value-based

ในตลาดโลก และนอกจากน้ียังมีสาเหตุเกิดข้ึนจากด้านปจจัย Economy และพัฒนาให้มีการปรับเปล่ียนโครงสร้างภาคการ

การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตร และบริการที่มี ผลิตท่ีเน้นและน�าเอาการใช้เทคโนโลยี รวมทั้งนวัตกรรมมา

คุณภาพต่�า เพราะเทคโนโลยีการผลิตที่ล้าหลัง ไม่ทันสมัย ประยกุ ตใ์ นการเพ่ิมมลู คา่ ของสนิ ค้าและบริการ

โดยจะกระท�าได้แต่เฉพาะการเผชญิ การแข่งขนั กบั ประเทศท่ีมี

รายได้ต�่ากว่าท่ีไทยเราสามารถไล่ตามทันความเจริญก้าวหน้า S-Curve Model คืออะไร?

ทางดา้ นเทคโนโลยเี ท่านนั้ .. โดยท่ีแนวคิด S-Curve ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกน�ามาใช้

ส่วนสาเหตุปจจัยอ่ืนๆ ที่ส่งผลกระทบและก่อให้เกิด อธิบายช่วงของการเจริญเติบโต (Growth) แต่ส�าหรับ

กับดักรายได้ปานกลางเช่นกัน คือ ด้านคุณภาพของก�าลังคน การจัดการด้านนวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยีในทางวิชาการ นั้น

การขาดแคลนสาธารณูปโภค และภาวะความไร้เสถียรภาพ มาจากทฤษฎีการแพร่กระจายทางนวัตกรรม (Diffusion of

ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งจะเห็นว่าปจจัยต่างๆ Innovation) ของ Everett M. Rogers ท่ีเขียนไว้ตั้งแต่

เหล่านี้เม่ือผนวกเข้ากับปจจัยด้านต้นทุนการผลิตไม่ว่าจะเป็น ค.ศ. 1962 โดยอธิบายผ่าน S-Curve of Technology

ค่าจ้างแรงงาน และต้นทุนโดยรวมท่ีปรับตัวสูงข้ึน แต่สุดท้าย ซงึ่ ขน้ั แรกจะเรมิ่ จากชว่ งเวลาของการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ เทคโนโลยี

จะพบวา่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ (Productivity) ไมไ่ ดเ้ พมิ่ ขนึ้ ตาม ใหม่ๆ จนประสบความส�าเร็จ และเร่ิมทดสอบการวางตลาด

จึงส่งผลให้ประเทศไทยไม่สามารถที่จะก้าวข้ามความเป็น โดยหลังจากนั้นจะเป็นช่วงท่ีเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมี

ประเทศรายได้สูงเพื่อหลดุ บ่วงของกับดักรายไดป้ านกลางได้ ปฏิสัมพันธ์กับคนในสังคมจนได้รับความนิยม และสุดท้ายจะ

เมื่อกรอบบริบทโครงสร้างของประเทศที่มีข้อจ�ากัด เป็นช่วงเวลาที่เทคโนโลยีเริ่มอ่ิมตัวจนส่งผลท�าให้ทรัพยากร

ดา้ นการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการแข่งขนั ปจ จบุ ันจงึ ที่ใช้ผลิตไม่สามารถพัฒนาต่อไปได้ และเหตุผลนี้เทคโนโลยี

เปน็ ทมี่ าของการกา� หนดเปน็ วสิ ยั ทศั นเ์ ชงิ นโยบาย Thailand 4.0 ดังกลา่ วกจ็ ะหายไปจากสังคม..

บางกอก ECONOMY 7

ในยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย ออกแบบทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ Microelectronics Design,
ตามกรอบแนวคิด S-Curve คือ การมุ่งส่งเสริมอุตสาหกรรม Embedded System Design, IC Design ฯลฯ
ให้มีศักยภาพในการแข่งขัน โดยท่ี 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย
ที่ภาครัฐบาลต้องการจะผลักดันให้มีการเจริญเติบโต 3) อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดี และ
ทางเศรษฐกิจ (S-Curve) ดงั กลา่ ว มี 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent Medical and
Wellness Tourism) ได้แก่ การท่องเท่ียวท่ีสร้างมูลค่า
รูปแบบท่ี 1 คือ 5 อุตสาหกรรมเดิมท่ีมีศักยภาพ การท่องเท่ียวแบบพ�านักระยะยาว (Long Stay) และ
ในการตอ ยอด (First S-Curve) การทอ่ งเทย่ี ว เชิงสุขภาพ (Medical Tourism) เป็นต้น

ซงึ่ จะหมายถงึ อตุ สาหกรรมตอ่ ยอดจากอตุ สาหกรรมเดมิ 4) อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
ทไ่ี ทยมศี กั ยภาพ และมคี วามเชย่ี วชาญในการผลติ ประกอบกบั (Agriculture and Biotechnology) ไดแ้ ก่ การผลติ สารสกดั
เปน็ อตุ สาหกรรมทส่ี ามารถสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ จากวัตถุดิบธรรมชาติ สารออกฤทธิ์ (Active Ingredient)
ไดเ้ ปน็ จา� นวนมาก แต่ยังขาดการพฒั นาตอ่ ยอดดว้ ยเทคโนโลยี จากวัตถุดิบทางธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ
สมัยใหม่จึงจ�าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาช่วย (ถงุ มือยาง ถงุ ยางอนามยั ยางแบร่ิง) เป็นตน้
ในการพัฒนาใหก้ ลุม่ อุตสาหกรรมเหล่าน้เี ตบิ โตตอ่ ไป
5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for
ในการน้ีอุตสาหกรรมท่ีอยู่ในกลุ่ม First S-Curve the Future) ได้แก่ อาหารและเครื่องด่ืมเสริมสุขภาพ
ประกอบดว้ ย (Functional Foods) อาหารทางการแพทย์ (Medical
Food) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (Food Supplement) และ
1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next นวตั กรรมอาหาร (Food Innovation) เปน็ ต้น
Generation Automotive) ไดแ้ ก่ การผลิตเครอ่ื งยนต์และ
ช้ินส่วนเคร่ืองยนต์ ผลิตช้ินส่วนยานพาหนะท่ีใช้เทคโนโลยี รูปแบบท่ี 2 คือ 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New
ขั้นสูง ผลิตช้ินส่วนความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน S-Curve)
ผลิตอปุ กรณส์ า� หรบั รถยนต์ Hybrid, Electric Vehicles (EV)
และ Plug in Hybrid Electric Vehicles (PHEV) ผลติ ยางลอ้ คือ กลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ที่มีการใช้เทคโนโลยีและ
ผลิตชิ้นส่วนระบบเช้ือเพลิง ผลิตช้ินส่วนระบบส่งก�าลัง นวตั กรรมอยา่ งเขม้ ขน้ โดยกลมุ่ อตุ สาหกรรมนม้ี คี วามสามารถในการ
ผลิตรถจักรยานยนต์ (ยกเว้นที่มีความจุกระบอกสูบต่�ากว่า ทจี่ ะเตบิ โตตอ่ ไปในอนาคตสงู แตเ่ นอ่ื งจากเปน็ อตุ สาหกรรมใหม่
248 ซีซ)ี และยานยนตไ์ ฟฟา เป็นต้น ที่ยังมีผู้ประกอบการน้อยและยังไม่เข้มแข็ง ฉะน้ัน มูลค่าทาง
เศรษฐกิจจึงยังไม่มากเม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มแรก ในการนี้
2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart จึงต้องมีการพัฒนาเพ่ือเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับ
Electronics) ไดแ้ ก่ การผลติ ใน 3 กลมุ่ คอื กลมุ่ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมกลุ่มน้ี
เช่น SSD, OLED/Flat Panel Display, Chip on Board
LED, Sensors, RFID, Electronic Controlling devices,
Internet of Things/Smart Home, CCTV, Wearable
Devices, อุปกรณ์โทรคมนาคม ฯลฯ กลุ่มผลิตภัณฑ์เดิม
ทีม่ ศี ักยภาพ เช่น HDD, IC, Diode, Transistor, Multilayer
PCB, Flexible Printed Circuit ฯลฯ และกลุ่มกิจการ

8 บางกอก ECONOMY

สา� หรบั อตุ สาหกรรม New S-Curve ประกอบด้วย โดยเหตุผลที่ต้องปฏิรูปอุตสาหกรรมในกลุ่มนี้

1) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics) ได้แก่ เน่ืองจากประเทศไทยยังมีหลายอุตสาหกรรมที่ยังใช้ระบบ
หุ่นยนต์ท่ีใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ เทคโนโลยีเดิมในการผลิต ซ่ึงส่งผลท�าให้ความสามารถและ
กระบวนการฉีดพลาสติก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ แนวโน้มในการเจริญเติบโตท่ีค่อนข้างจ�ากัดและสามารถ
สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ในระดับปานกลางเท่าน้ัน ดังน้ัน
หนุ่ ยนต์ด้านการแพทย์ เป็นต้น
2) อุตสาหกรรมการบนิ และโลจสิ ติกส ์ (Aviation ในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ประเทศจงึ มกี ารปฏริ ปู อตุ สาหกรรม
and Logistics) ได้แก่ กิจการสาธารณูปโภคและบริการ กลมุ่ นใ้ี หม่ โดยอาศยั การรวมกลมุ่ อตุ สาหกรรมตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั
เพื่อการขนส่ง ศูนย์รวมกิจการโลจิสติกส์ทันสมัย การบริการ เช่น อุตสาหกรรมส่ิงทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรม
และซ่อมบ�ารุงอากาศยาน (Maintenance, Repair and เครอ่ื งหนัง อตุ สาหกรรมอญั มณแี ละเครอ่ื งประดับเพอื่ รวมเข้า
Overhaul: MRO) อุตสาหกรรมการผลิตช้ินส่วนอากาศยาน เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมแฟช่ัน โดยเพ่ิมการพัฒนาการออกแบบ
ธุรกิจมูลค่าสูงท่ีต้องการความเร็วจากการขนส่งทางอากาศ ท่ีสร้างสรรค์ ซึ่งมุ่งเน้นการออกแบบที่สะท้อนด้านวัฒนธรรม
(Time Sensitive Product) อากาศยานไร้คนขับ (Drone) ของท้องถิ่น หรือพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
การผลติ ชิน้ ส่วนอากาศยาน ระบบนา� ทางและซอฟตแ์ วรต์ ่างๆ เช่น เสื้อผ้านาโนเทคส�าหรับเล่นกีฬา เครื่องนุ่งห่มส�าหรับ
วงการแพทย์ เครอ่ื งนงุ่ หม่ ทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ ดา้ นสขุ ภาพ ฯลฯ และ
และสถาบนั การศึกษาและอบรมด้านการบิน เป็นตน้
3) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ การรวมกลุ่มถัดมา ได้แก่ การรวมกลุ่มอุตสาหกรรมวัสดุผสม
(Biofuels and Biochemicals) ได้แก่ อุตสาหกรรมเคมี (Composite Material) หรือการพฒั นาวสั ดุให้ทนทาน ย่ังยนื
ชีวภาพครบวงจร เคมีชีวภาพและพลาสติกชีวภาพ และเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ีก็ยังมีกลุม่ อตุ สาหกรรม
(Biochemical/Bioplastic) การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ ปิโตรเคมีและพลาสติกท่ีสามารถพัฒนาต่อยอดในเทคโนโลยี
การผลิตให้เป็นเทคโนโลยีสะอาด พร้อมท้ังเป็นมิตรกับ
(Bioeconomy)
4) อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) ได้แก่ สมองกล ส่ิงแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างให้อุตสาหกรรมของไทยสามารถ
ฝง ตวั (Embedded Software) ซอฟต์แวร์ช่วยในการบรหิ าร เติบโตอยา่ งยั่งยืนได้ตอ่ ไป
จะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถ
จัดการ (Enterprise Software) เน้ือหาดิจิทัล (Digital
Content) ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ในการแขง่ ขนั ของประเทศผา่ นแนวคดิ S-Curve นบั เปน็ กลไกหลกั
การวิเคราะห์ข้อมูลของผู้บริโภค (Consumer insight ในการพฒั นาและขบั เคลื่อนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคต ประกอบกบั
Analytics and Data Center) ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ วสิ ยั ทศั นท์ ชี่ ดั เจนวา่ รฐั บาลไดม้ งุ่ เนน้ การลงทนุ จากตา่ งประเทศ
(Cloud Computing) ระบบความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ เพอื่ นา� Know-how เขา้ มาพฒั นาเศรษฐกจิ และคาดการณว์ า่
(Cyber Security) เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเช่ือมต่ออุปกรณ์ การตอ่ ยอดอตุ สาหกรรมเดมิ (First S-Curve) จะสามารถเพ่ิม
(Internet of Thing) เมืองอัจฉริยะ (Smart City) สื่อและ รายไดข้ องประชากรไดป้ ระมาณ 70% จากเปา หมายยทุ ธศาสตร์
แอนเิ มชันสร้างสรรค์ (Creative Media and Animation) ที่ก�าหนดวางไว้ ส่วนอีก 30% จะมาจากการขับเคลื่อน
5) อตุ สาหกรรมการแพทยค์ รบวงจร (Medical Hub) อุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) ท้ังนี้ เหตุผลก็เพ่ือให้
ได้แก่ การบริการทางการแพทย์ การแพทย์ทางไกลผ่าน ICT ประเทศไทยสามารถหลุดพ้นจาก 3 กับดักส�าคัญข้างต้น
การผลติ เครอ่ื งมอื แพทย์ ผลติ ภณั ฑส์ า� หรบั ผสู้ งู อายุ การผลติ ยา รวมท้ังเพื่อก้าวเข้าสู่การมีรายได้สูงภายในปี พ.ศ. 2579
ยาประเภทชีววัตถุต้นแบบ (Biologic) ชีววัตถุคล้ายคลึง เพอื่ ใหเ้ ปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ อยา่ งสมบรู ณ์ในอนาคต..

(Biosimilar) และการผลติ ยาสมนุ ไพร

บางกอก ECONOMY 9

เศรษฐกจิ บางกอก

การขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ แบบแบง ปน (Sharing Economy)
@ รปู แบบพลงั ความรว มมอื ผา นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ..

“Sharing Economy” หรอื Gig Economy เปน็ แนวคดิ เน้นการเติบโตแบบลุยเดี่ยว แต่ใช้พลังของการแบ่งปนและ

สังคมเศรษฐกิจแบ่งปน ซ่ึงปจจุบันอาจยังไม่เป็นท่ีรู้จัก ความร่วมมือเพ่ือท�าให้เกิดรูปแบบสินค้าและบริการใหม่

คุ้นหูมากนัก แต่แนวคิดดังกล่าวนี้ได้รับการกล่าวถึงคร้ังแรก ที่สนองการตอบรับต่อความต้องการของผู้คนในวงกว้าง

ต้งั แต่ปี 1978 และสะทอ้ นถงึ ความสามารถในการสรา้ งรายได้ ประกอบกับด้วยปจจัยท่ีเทรนด์ของสารสนเทศทางเทคโนโลยี

ที่มาจากการแลกเปล่ียนด้านการบริโภคสินค้าหรือบริการท่ีมี ท่ีทุกคนสามารถอาศัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งสามารถท�า

มูลค่าเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรที่ไม่ได้ใช้แล้วระหว่างบุคคล ทุกอย่างได้บนสมาร์ทโฟน รวมถึงมีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต

และกลุ่มคนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มในรูปแบบต่างๆ และ ไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา น่ันเอง..

ถ้าหากเราจะขอยกตัวอย่างชื่อของกลุ่มธุรกิจท่ีเข้าข่าย “เศรษฐกิจแบ่งปน” มีลักษณะเป็นการร่วมมือกัน

หลักการตามแนวคิดของเศรษฐกิจแบบแบ่งปนท่ีมีการเติบโต ทา� ธุรกิจผ่านสิ่งของหรอื บริการ โดยมแี พลตฟอร์ม (Platform)

อย่างกา้ วกระโดด ได้แก่ Grab , Uber , Airbnb , Hubba , เป็นตัวกลาง ซ่ึงจะเห็นว่าในแนวคิดธุรกิจ Grab หรือ Uber

Line และ Joox เป็นต้น โดยโลกยุคดิจิทัลท่ีส่งเสริมให้ ถือว่าเป็นแพลตฟอร์มของการเรียกใช้บริการรถประเภทต่างๆ

เศรษฐกิจแบ่งปนเกิดข้ึนในลักษณะของการพัฒนา Start up ได้ทั้งๆ ท่ีบริษัทเหล่าน้ันไม่ได้มีรถเป็นของตัวเอง แต่ท�าหน้าที่

ใหม่ๆ ให้กลายเป็นธุรกิจท่ีแพร่หลายและเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นเพียงตัวกลางในการให้ข้อมูลส�าหรับผู้ที่ต้องการใช้บริการ

เน่ืองจาก Sharing Economy เป็นรูปแบบเศรษฐกิจท่ีไม่ได้ พรอ้ มกบั มผี ใู้ หบ้ รกิ ารในธรุ กจิ ทงั้ นี้ ในกลมุ่ ของธรุ กจิ ลกั ษณะน้ี

10 บางกอก ECONOMY

ได้ก�าลังเป็นท่ีนิยมส�าหรับโลกดิจิทัลในปจจุบัน และอาจจะ โดยอาศัยการวางระบบให้ดี พร้อมทั้งเป็นตัวกลางของท้ังฝง

กล่าวหรือสรุปได้ว่าตัวปจจัยท่ีท�าให้แนวคิดธุรกิจเศรษฐกิจ ผู้ใชบ้ ริการและผูใ้ ห้บรกิ าร ซึ่งตอ้ งคิดและวางจดุ ยืนของตนเอง

แบบแบ่งปน “Sharing Economy” น้ัน เป็นท่ีรู้จักหรือ อยา่ งเหมาะสม ยกตวั อยา่ งเชน่ ในการสง่ ของทผ่ี สู้ รา้ งแพลตฟอรม์

ขยายตัวมากข้ึน ก็น่าจะเป็นเหตุผลหลักอันสืบเนื่องมาจาก ไม่จ�าเป็นต้องไปจ้างพนักงานส่งของมาเป็นพนักงานประจ�า

โลกขับเคล่ือนพลวัตรเข้าสู่ยุคของสังคมไร้เงินสด (Cashless แต่เราสามารถที่จะเลือกจ้างคนส่งเป็นครั้งๆไป โดยให้

society) เน่ืองจากสามารถท�าให้ขั้นตอนและกระบวนการ ค่าตอบแทนทเ่ี หมาะสม ซงึ่ จะทา� ใหธ้ รุ กจิ ไม่มีคา่ ใช้จ่ายในส่วน

ในการชา� ระเงนิ ของธรุ กจิ ตามแนวคิดเศรษฐกิจแบบแบ่งปนนี้ ที่ตอ้ งจ้างพนกั งานประจา� ..

เป็นไปด้วยความปลอดภัย รวดเร็ว และยังคงสามารถท�าได้ใน กลุ่มท่ีสอง : ผู้ใช้บริการ โดยท่ีกลุ่มผู้ใช้บริการ

ทกุ สถานทแ่ี ละทุกเวลา อาจจะเป็นไปได้วา่ เศรษฐกิจแบ่งปน นี้ จะเป็นกลุ่มที่ได้รับความหลากหลายพร้อมกับสิทธิประโยชน์

ได้ต่อยอดแนวคิดดังกล่าวมาจากการขับเคล่ือนนวัตกรรม อน่ื ๆ ทผ่ี สู้ รา้ งแพลตฟอรม์ เสนอให้ ดงั นน้ั จงึ มคี วามสะดวกสบาย

เพ่ือการกา้ วไปสยู่ ุคสังคมไร้เงนิ สดในโลกปจ จบุ ัน.. ในการใช้ชีวิตประจ�าวันท่ีมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการโทรศัพท์

โดยที่กลุ่มคนที่มีส่วนเก่ียวข้องและได้ประโยชน์ หาผสู้ รา้ งแพลตฟอรม์ เพอื่ สงั่ อาหารทเี่ ราอยากรบั ประทานและ

ในธุรกิจซ่ึงอาศัยแนวคิดการขับเคล่ือนเศรษฐกิจแบบแบ่งปน อาหารเหล่าน้ันก็มาส่งให้ถึงที่หรือแม้แต่ในการจะวางทริป

ซึ่งจะประกอบดว้ ยใน 3 กลมุ่ หลัก คือ เพ่ือเดินทางไปท่องเท่ียว โดยอยากจะค้นหาโรงแรมหรือท่ีพัก

กลุ่มแรก : ผู้สร้างแพลตฟอร์ม โดยสิ่งท่ีกลุ่มนี้ สักแห่งก็สามารถท�าได้ง่ายๆ เพียงตรงเข้าไปในแอปพลิเคชัน

จะไดป้ ระโยชนเ์ ตม็ ๆ คอื การใชท้ รพั ยากรทตี่ วั เองไมม่ ี เนอื่ งจาก ที่มีบริการในธุรกิจเราก็จะสามารถท�าการเลือกห้องพัก

เปน็ ผสู้ รา้ งธรุ กจิ และจะไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการสรา้ งรายได้ ในแบบท่ีเรานั้นอยากจะเข้าพักจริงๆ ซ่ึงจะมีรายละเอียดของ

ธุรกิจโรงแรมที่หลากหลายเพื่อมาให้เราเลือกสรรไม่ว่าจะเป็น

โรงแรมระดับกี่ดาวหรือต้องการขนาดห้องเล็กหรือใหญ่และ

บางกอก ECONOMY 11

ราคาที่พักที่ต้องการใช้จ่ายเป็นเท่าใด เราก็สามารถที่จะเลือก

ได้จากผู้สร้างแพลตฟอร์มที่ท�าการให้บริการเสนอมาให้เรา

ได้เลือกใช้บริการอย่างหลากหลายและตรงกับความต้องการ

มากทสี่ ุดน่นั เอง

กลุ่มสุดท้าย : กลุ่มผู้ให้บริการ โดยกลุ่มนี้จะมี

ลกั ษณะทคี่ ลา้ ยกบั กลมุ่ แรก แตใ่ นกลมุ่ สดุ ทา้ ยนจี้ ะเปน็ กลมุ่ ทมี่ ี

ของที่จะขายแล้วซ่ึงมีสินค้าหรือทรัพยากรพร้อมอยู่แล้วแต่ยัง

หาจดุ ขายของหรอื สนิ คา้ ของตวั เองไมไ่ ด้ ดงั นนั้ กลมุ่ นจี้ งึ อยาก

ท�าให้สินค้าและทรัพยากรของตัวเองได้เป็นท่ีรู้จักแพร่หลาย

กบั กลุม่ คนจา� นวนท่มี ากข้ึนจากกลุม่ พน้ื ทีเ่ ดิม จงึ น�าทรพั ยากร

ท่ีมีไปฝากกับกลุ่มผู้สร้างแพลตฟอร์ม ท้ังน้ี เม่ือมีคนต้องการ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริโภคและกลุ่มธุรกิจ เพราะ
สนิ คา้ หรอื ทรพั ยากรทเ่ี รามกี จ็ ะสงั่ ผา่ นกลมุ่ ผสู้ รา้ งแพลตฟอรม์ ท่ีไหนสะดวก ราคาถูกที่สุด เราก็จะเลือกซ้ือหรือใช้บริการ
และท�าการรับส่งสินค้าให้เราอีกทีหนึ่ง ซึ่งประโยชน์จะท�าให้ เหลา่ นน้ั และใชบ้ ริการเพียงครง้ั เดียว
คนกลุ่มน้ีไม่ต้องไปแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในการขยายสาขา
เราจึงเห็นแล้วว่าการขับเคล่ือนเศรษฐกิจแบ่งปนน้ี..
หรอื จา้ งคนส่งของประจ�าทตี่ อ้ งจา่ ยค่าตอบแทนสูง
จึงเหมือนกับการถ้อยทีถ้อยอาศัยกันในการท�าธุรกิจผ่าน
ดูเหมือนว่า Sharing Economy จะตอบโจทย์ของ เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีสามารถก่อให้เกิดรายได้เพ่ิมและเกิด
การทา� ธุรกจิ ในรูปแบบดิจทิ ัล แตก่ ็ยังมขี ้อดี & ข้อเสยี อยบู่ า้ ง ผลประโยชน์กับทุกกลุ่มทุกฝาย..แต่ถึงอย่างไรก็ดีแม้ว่า
โดยในข้อดี คือ การลดค่าใช้จ่ายในการซ้ือและการเช่าสินค้า เศรษฐกิจแบ่งปน (Sharing Economy) จะสามารถสร้าง
หรือบริการ และยังส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผู้บริโภค รูปแบบพลังความร่วมมือให้กับกลุ่มธุรกิจ ซึ่งเป็นแนวคิด
กล่าวคือ พฤติกรรมในการซื้อสินค้าหรือบริการจะค�านึงถึง ท่ีมีประโยชน์มาก แต่ก็ยังคงมีปญหาอยู่อีกหลายๆ ประการ
ความคุ้มค่า กอ่ นการตดั สินใจซื้อสนิ คา้ ที่สามารถแบง่ ปน กันได้ อาทิเช่น ในประเด็นเร่ืองของกฎหมายในการขับเคลื่อน
และในสว่ นของขอ้ เสยี ทสี่ ามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจนกค็ งจะไมพ่ น้ เศรษฐกิจปจจุบันก่อให้เกิดการแย่งลูกค้ากับทาง

กลุ่มธุรกิจเดิมท่ีได้มีการจัดต้ังเป็นกลุ่มธุรกิจ Start up ใหม่ๆ

มาก่อนหน้าน้ีแล้วอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ประกอบกับ

ท่ียังมีปญหาในด้านความปลอดภัยของกลุ่มผู้ใช้บริการ

บนแพลตฟอร์มดิจิทัล แต่ก็ต้องยอมรับว่าแนวคิดเศรษฐกิจ

แบ่งปนจะช่วยเป็นกลไกหน่ึงในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของ

ประเทศ และอาจจะพฒั นาเพ่ือก้าวไปสกู่ ารเป็นเศรษฐกิจหลกั

ในอนาคตต่อไปกเ็ ป็นได้ !

1122 บบาางงกกออกก EECCOONNOOMMYY

ºÒ§¡Í¡ºÍ¡ãËŒÃÙŒ

“ ผังเมืองรวม ” เครือ่ งมือ & กรอบชี้นาํ

ทศิ ทางการพฒั นาเมือง กทม...

“ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร” ได้ประกาศ ของประชาชน และสามารถประกาศใช้บังคับผังเมืองรวม
ใชบ้ ังคบั เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 และโดยท่ีกฎหมายหลกั ฉบับใหม่ต่อเน่ืองจากกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม
คือ พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซึ่งได้ก�าหนด กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 ต่อไป และในการประกาศใช้
ให้มีการทบทวนและปรบั ปรงุ แกไ้ ขผงั เมอื งรวมฯ ในทุกๆ 5 ปี ผงั เมอื งรวมฉบบั ปรบั ปรงุ ใหมค่ รง้ั นกี้ ส็ ง่ ผลใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลง
เพอื่ ใหม้ คี วามทนั สมยั และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทดา้ นการเปลย่ี นแปลง เกดิ ขนึ้ ไมน่ อ้ ย โดยเฉพาะการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ จากการวางระบบ
ของสภาพแวดลอ้ มและนโยบายของรฐั ในทศิ ทางการพฒั นาเมอื ง ขนส่งมวลชนทางราง ทั้งท่ีเปิดให้บริการแล้วและก�าลังท่ีอยู่
ท่ีอาจจะปรับเปลี่ยนแปลงไปเพ่ือก่อให้เกิดความเหมาะสม ระหวา่ งจะเปดิ ใหบ้ รกิ าร ตลอดจนทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการกอ่ สรา้ งดว้ ย
ตอ่ การใช้สอยในประโยชนข์ องที่ดนิ ให้มากที่สดุ ต่อไป.. และโดยทม่ี ผี ลทา� ใหจ้ กั ตอ้ งปรบั เปลยี่ นเรอ่ื งของการใชป้ ระโยชน์
โดยปจจุบันท่ีร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ทดี่ นิ ใหม่ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นรปู แบบในการเดนิ ทาง
(ปรับปรุงครั้งที่ 4) ท่ีองค์กรกรุงเทพมหานคร โดยส�านัก ของคนใน กทม.จากระบบล้อสรู่ ะบบรางในอนาคต..
การวางผงั และพฒั นาเมอื งไดร้ บั ผดิ ชอบภารกจิ ดา้ นการดา� เนนิ การ ในการน้ีการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมืองรวม
วางและจัดท�าผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับใหม่) กรงุ เทพมหานคร (ปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 4) จะสง่ ผลใหก้ รงุ เทพมหานคร
ซ่ึงปจจุบันได้มีการปรับปรุงคร้ังที่ 4 และจัดประชุมเพื่อรับฟง มกี ารพฒั นาตามยทุ ธศาสตรใ์ นการเปน็ “เมอื งกระชบั ” มากขนึ้
ข้อคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อร่างดังกล่าวแล้ว ตั้งแต่วันที่ โดยทกี่ ารสง่ เสรมิ การพฒั นาเมอื งทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั การพฒั นา
24 พฤษภาคม 2562 ณ ลานกีฬาเวสน์ 2 ศูนย์เยาวชน โครงข่ายรถไฟฟาขนส่งมวลชน และการพัฒนาบริเวณพื้นท่ี
กรงุ เทพมหานคร (ไทย - ญี่ปุน) เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร เปลี่ยนถ่ายการสัญจร (Transit Oriented Development
ซึ่งกรุงเทพมหานครมีเปาหมายให้กรุงเทพฯ อาศัยการน�า หรอื TOD) ทง้ั ในเขตชน้ั ในและเขตชน้ั กลาง ประกอบกบั การพฒั นา
“ผังเมืองรวม” ส�าหรับใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างกรอบชี้น�า ศูนย์ชุมชนชานเมือง (Sub Center) เพ่ือสร้างความสมดุล
ทิศทางการพัฒนาของเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ระหว่างแหล่งงานและที่อยู่อาศัย (Job-Housing Balance)
สอดคล้องกับสถานการณ์การพัฒนาเมือง รวมถึงส่ิงแวดล้อม ในเขตชานเมืองที่ควบคู่กับการพัฒนาศูนย์ชุมชนเกษตรกรรม
ที่เปล่ียนแปลงไปท้ังในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และการสงวนรกั ษาพนื้ ทช่ี นบทและเกษตรกรรมทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์
การคมนาคมและขนส่ง นโยบายภาครัฐและความต้องการ ของกรงุ เทพมหานคร นนั่ เอง..

บางกอก ECONOMY 13

เม่ือหากเราย้อนกลับไปมองเพ่ือพิจารณาในด้าน ในขณะเดียวกันจะมีการส่งเสริมให้มีศูนย์ชุมชน
การใช้ประโยชน์ท่ีดินของกรุงเทพมหานครในระหว่างปี ท่ีอยู่ชานเมืองไม่ว่าจะเป็นลาดกระบัง บางกะปิ มีนบุรี
2552 - 2558 ซึ่งได้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยแบ่งเป็น ตามแนวรถไฟฟา สายสชี มพตู ดั กบั รถไฟฟา สายอน่ื ๆ สว่ นดา้ นบน
ประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ คือ 1. ท่ีอยู่อาศัยเพิ่มข้ึนจาก 510.42 ของกรุงเทพฯ จะมีแนวสะพานใหม่และไปทางตะวันตก
ตร.กม. เป็น 547.70 ตร.กม. 2. พาณิชยกรรม เพิ่มข้ึนจาก มีแนวตล่ิงชัน เพชรเกษม บางแค และบนถนนพระราม 2
72.28 ตร.กม. เป็น 90.67 ตร.กม. 3. เกษตรกรรม และ รวมทั้งศูนย์ชุมชนชานเมืองเกิดข้ึน เพื่อให้มีการค้า และ
พน้ื ทว่ี า่ ง ลดลงจาก 851.61 ตร.กม. เหลอื 795.76 ตร.กม. การบริการกระจายตัวอยู่ในเขตช้ันกลางและเขตชั้นนอก
ส่วนในด้านการพัฒนาท่ีอยู่อาศัย ซ่ึงได้เปลี่ยนจาก ของกรุงเทพมหานคร โดยท่ีประชาชนบางส่วนน้ันสามารถ
บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮาส์ และตึกแถว เป็นอาคารชุด ทจ่ี ะใช้บริการโดยไมต่ ้องเขา้ มาในเขตช้นั ในของกรุงเทพฯ..
พักอาศัย อาคารพาณิชย์ และอาคารส�านักงานขนาดใหญ่ นอกจากนี้ด้านกลไกของผังเมืองรวมกรุงเทพฯ
ตามแนวสายของทางรถไฟฟาขนส่งมวลชน และส�าหรับ (ฉบับใหม่) คือ จะช่วยดึงให้ภาคเอกชนนั้นเข้ามามีส่วนร่วม
ท�าเลที่มาแรงในร่างผังเมือง กทม. ปรากฏว่าการขยายตัวของ ในการพัฒนาเมืองมากข้ึน และลดภาระการลงทุนและดูแล
กรุงเทพมหานครโดยเฉพาะในด้านของท่ีอยู่อาศัยที่มีความ รกั ษาของ กทม. ซงึ่ จะพบวา่ ในแตล่ ะปกี ารลงทนุ สาธารณปู โภค
หนาแน่นสูงจะขยายตัวออกไปใน 3 ทิศทาง ได้แก่ ทิศเหนือ ให้แกส่ าธารณะนั้นตกปีละเปน็ หมนื่ ลา้ นบาท ฉะน้นั ในการดงึ
ตามแนวรถไฟฟาสายสีแดงและสายสีเขียว ทิศตะวันออก เอกชนเพื่อเข้ามาร่วมพัฒนาสาธารณูปโภคบางส่วนได้
ตามแนวสายสีเขียวไปทางสมุทรปราการและตามแนว ก็จะช่วยให้การพัฒนาเมืองสามารถเดินไปข้างหน้าด้วยดี
แอร์พอร์ตลิงค์ รวมถึงสายสีส้มที่จะเกิดข้ึนในอนาคต และ โดยเอกชนสามารถรวมกลุ่มกันวางแผนพัฒนาพ้ืนท่ีของตัวเอง
ทิศตะวันตก ตามแนวรถไฟฟาสายสีน�้าเงิน ออกไปทาง เสนอตอ่ กทม. ได้ และกรณีน้ีจะมีการต้งั กรรมการเพ่อื รว่ มกัน
เพชรเกษมและบางแค อีกทั้งยังจะมีการพัฒนาในระดับรอง เพ่ือดูแลบริหารจัดการในพื้นที่ ซ่ึงถือเป็นการพัฒนาเมือง
ซ่ึงถือเป็นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางแทรกอยู่ในบริเวณ อกี รปู แบบหนง่ึ ทน่ี า่ สนใจ ทเี่ ปน็ ลกั ษณะเดยี วกบั ยา่ นราชประสงค์
ทีอ่ ยูร่ ะหวา่ งพืน้ ทีก่ ารให้บรกิ ารของระบบขนส่งมวลชนดว้ ย.. ที่ผู้ประกอบการได้ร่วมมือกันลงทุนเพื่อสร้างทางเดินเชื่อม
ส�าหรับพื้นที่ศูนย์กลางท่ีส�าคัญของกรุงเทพฯ ได้แก่ อาคารใต้เส้นทางรถไฟฟาจนกลายเป็นบริการสาธารณะท่ีดี
ศนู ย์กลางเศรษฐกิจ หรือ CBD (Central Business District) ของชุมชน และเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด โดยล่าสุดมี
ไดแ้ ก่ บรเิ วณสลี ม และสาทร กลุ่มเอกชนรวมตัวกันเสนอแผนพัฒนาสาธารณูปโภคในพ้ืนท่ี
นอกจากนจ้ี ะมศี นู ยค์ มนาคมขนสง่ ซงึ่ มพี าณชิ ยกรรม เชน่ เดยี วกบั ยา่ นราชประสงคเ์ ขา้ มาหลายราย โดยมที ยี่ า่ นสลี ม
ระดับเข้มข้นรวมอยู่ด้วย ได้แก่ ศูนย์คมนาคมมักกะสัน ซึ่งน�าโดยเจ้าของอาคารธนิยะพลาซ่า ย่านถนนพระราม 4
ศูนย์คมนาคมพหลโยธินที่จะมีสถานีกลางบางซื่อและ และน�าโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านบางกะปิ
ทางฝงธนบรุ ีจะมศี ูนยค์ มนาคมแถววงเวียนใหญ่ ซ่ึงนา� โดยสถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ (นิด้า)

14 บางกอก ECONOMY

การเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน..เพื่อรองรับ สายสนี า้� เงนิ (หวั ลา� โพง-บางแค) การปรบั เปลย่ี นการใชป้ ระโยชน์
การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ทดี่ นิ ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมฝงตะวันตกของ
ตามทิศทางของร่างผงั เมืองใหมน่ น้ั ซง่ึ มีการขยายตวั ผงั เมอื งรวมกรงุ เทพมหานครเปน็ การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ประเภท
ของพน้ื ทพ่ี าณชิ ยกรรมศนู ยก์ ลางรอง (Sub-CBD) เพอื่ รองรบั การ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและ
ขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและการจ้างงานต่อเน่ืองจากพื้นท่ี พาณิชยกรรมเพ่ือรองรับการให้บริการรถไฟฟาสายสีแดง
พาณชิ ยกรรมศนู ยก์ ลางเมือง (CBD) ทางทิศตะวนั ออกไปตาม (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) รถไฟฟาสายสีส้ม (ตล่ิงชัน-ศูนย์วัฒนธรรม
แนวถนนรัชดาภิเษก รวมถึงการส่งเสริมการพัฒนาบริเวณ แห่งประเทศไทย) และรถไฟฟาสายสีเขียว (บางหว้า-ตล่ิงชัน)
ถนนบรรทัดทองและบริเวณถนนเจริญกรุง-เจริญนคร และการพัฒนาศูนยช์ ุมชนชานเมืองตล่ิงชนั นอกจากน้ใี นพนื้ ท่ี
เพ่ือให้เป็นพ้ืนท่ีพาณิชยกรรมท่ีเป็นเขตเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นอกถนนวงแหวนกาญจนาภเิ ษกทก่ี า� หนดใหม้ กี ารใชป้ ระโยชน์
(Innovation District) โดยปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ท่ีดินเป็นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและศูนย์ชุมชนเกษตรกรรม
ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางภายในถนนวงแหวน กระจายตัวอยู่ในพ้ืนท่ีชนบทและเกษตรกรรม โดยยังคงไว้ซึ่ง
รัชดาภิเษกให้เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เพ่ือรองรับการให้ พ้ืนท่ีอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมในเขตบางขุนเทียนเพ่ือ
บริการรถไฟฟาขนส่งมวลชนสายสีแดง (บางซ่ือ-รังสิต) สงวนรักษาระบบนิเวศทางธรรมชาติของพื้นท่ีชายฝงทะเล
รถไฟฟาสายสีเขียว (หมอชิต-คูคต) และรถไฟฟาสายสีน้�าเงิน ของกรุงเทพมหานคร การปรับลดพื้นท่ีอนุรักษ์ชนบทและ
(หวั ลา� โพง-บางแค และบางซอ่ื -ท่าพระ) เกษตรกรรมฝง ตะวนั ออกโดยการปรบั ปรงุ และเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
นอกจากน้ียังมีการปรับเปล่ียนการใช้ประโยชน์ที่ดิน การปอ งกนั นา�้ ทว่ มและการระบายนา�้ และสง่ เสรมิ การพฒั นาเมอื ง
ของกรุงเทพมหานครในฝงตะวันออกของแม่น้�าเจ้าพระยา บริเวณหนองจอก ศูนย์ชุมชนชานเมืองลาดกระบัง และ
ระหวา่ งถนนวงแหวนรชั ดาภเิ ษกและถนนวงแหวนกาญจนาภเิ ษก ศูนย์ชุมชนเกษตรกรรมกระจายตัวอยู่ในพ้ืนที่ชนบทและ
จากการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย เกษตรกรรม เปน็ ต้น
เป็นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางเพ่ือรองรับการให้บริการ
รถไฟฟาขนส่งมวลชนสายสีแดง (บางซื่อ-รังสิต) สายสีเขียว ..โดยทุกครั้งท่ีมีการปรับปรุงผังเมืองรวม
(หมอชติ -คคู ต) สายสสี ม้ (ศนู ยว์ ฒั นธรรมแหง่ ประเทศไทย-มนี บรุ )ี กรุงเทพมหานคร เพื่อความเหมาะสมในการใช้ท่ีดิน..
สายสเี หลอื ง (ลาดพรา้ ว-สา� โรง) และสายสชี มพู (แคราย-มนี บรุ )ี ซึ่งย่อมมีท้ังผู้ได้ผลประโยชน์และเสียผลประโยชน์เสมอ
อีกทั้งขยายพ้ืนที่พาณิชยกรรมบริเวณสถานีร่วม แต่อย่างไรก็ตาม “ประชาชน” ที่ถือเปนหัวใจส�าคัญของ
(สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ) ศูนย์ชุมชนชานเมืองมีนบุรี ความส�าเร็จในการใช้ผังเมืองเพ่ือเปนเครื่องมือสร้างและ
และย่านพาณิชยกรรมถนนบางนา-ตราด ส่วนพ้ืนที่นอก พัฒนาเมืองให้น่าอยู่ ดังนั้น จึงจะเห็นว่าภาคประชาสังคม
ถนนวงแหวนกาญจนาภิเษกก�าหนดให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยประชาชนน้ันจะต้องเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วม
เป็นท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นน้อย และปรบั เปลย่ี นการใชป้ ระโยชน์ ในการจดั ทา� กฎหมายผงั เมอื งมากทส่ี ดุ ยง่ิ กวา่ ในการพจิ ารณา
ทดี่ นิ ของกรงุ เทพมหานครฝง ตะวนั ตกของแมน่ า้� เจา้ พระยาระหวา่ ง เพ่ือจัดท�ากฎหมายอื่นๆ โดยจัดและอ�านวยให้มีการประชุม
ถนนวงแหวนรชั ดาภเิ ษก (ถนนจรญั สนทิ วงศ)์ และถนนวงแหวน เพอื่ รบั ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชนอยโู่ ดยตลอดระยะเวลา
กาญจนาภิเษก จากการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทที่อยู่อาศัย และทุกขั้นตอนในการจัดท�าผังเมืองเพ่ือร่วมแรงร่วมใจกัน
หนาแนน่ นอ้ ยเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั หนาแนน่ ปานกลาง และทอ่ี ยอู่ าศยั ในด้านการมีส่วนร่วมในการก�าหนดแผนผังที่มีผลต่อ
หนาแน่นมาก เพ่ือรองรับการให้บริการรถไฟฟาขนส่งมวลชน อนาคตของทุกๆ คนในสังคม..

บางกอก ECONOMY 15

สาระภาษี

“E-Donation ”
!ระบบบรจิ าคอิเล็กทรอนกิ ส.์ .ลดความยงุ่ ยาก

ในการลดหย่อนภาษี

..ในโลกยุคดิจิทัลปจจุบันที่ทุกสิ่งนั้นสะดวกและไม่ว่าเราจะท�าอะไรก็สามารถอาศัยเคร่ืองมืออ�านวยความสะดวกให้
ท�าได้อย่างง่ายดายเพียงแค่ปลายน้ิวสัมผัสผ่านโทรศัพท์มือถือ และเมื่อไม่นานมาน้ีที่ได้มีการเปิดตัวโครงการ
E-Donation หรือ “ระบบบริจาคเงินอิเล็กทรอนิกส์” ซ่ึงพัฒนาโดยสถาบันการเงินร่วมกับบริษัท เนชันแนล ไอทีเอ็มเอ็กซ์
ผู้ดูแลระบบพร้อมเพย์ กรมสรรพากร และธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การอ�านวยความสะดวก
แก่ผู้บริจาคที่บริจาคเงินผ่าน “หน่วยรับบริจาค” ซึ่งช่วยลดความยุ่งยากในการลดหย่อนภาษี เนื่องจากผู้เสียภาษี
ไม่ต้องเก็บหลักฐานการบริจาคมาแสดงต่อเจ้าหน้าท่ี ดังน้ันในการบริจาคเงินเพ่ือให้การช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ
ย่ิงถ้าการบริจาค นั้น สามารถก่อเกิดประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับทางผู้บริจาคเองแล้ว แต่สิ่งท่ีดีในเชิงบวกคือ จะส่งผลท�าให้
คนเราหันมาท�าบุญกันแบบง่ายๆ เพ่ิมมากขึ้น.. โดยถึงเวลาแล้วท่ีเหล่าบรรดาสายบุญในยุคดิจิทัลไม่ควรพลาด
ในการใช้เปน็ สทิ ธใิ นการลดหย่อนภาษี ต่อไป..

..จะเห็นแลว้ ว่าระบบ E-Donation ถอื เปน็ เรื่องใหม่ แต่ในอนาคตซ่ึงหากมีการข้ึนทะเบียนของหน่วยรับบริจาค
ส�าหรับผู้ที่จะอาศัยใช้ระบบการบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ระบบ E-Donation เพิ่มมากข้ึนเรื่อยๆ เมื่อถึงเวลา
เพ่ือน�ามาเป็นสิทธ์ิในการขอลดหย่อนภาษีในข้ันตอน ย่ืนแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาก็อาจจะใช้เฉพาะข้อมูล
การยนื่ แบบภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาในปิี 2562.. แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี ในการบริจาคที่ทางกรมสรรพากรได้รับไว้แล้วในระบบ
ทางกรมสรรพากรนน้ั ยงั คงใหใ้ ชห้ ลกั ฐานการบรจิ าคในรปู แบบ “E-Donation” ได้..
กระดาษเพ่ือมาขอใช้สิทธิลดหย่อนทางภาษีได้เช่นกัน

หน่วยรบั บริจาคทเ่ี ขา้ ระบบ..

 สถานศึกษา (โรงเรียน มหาวิทยาลัย ทั้งของรฐั และเอกชน)
 ศาสนสถาน (ทกุ ศาสนา) เช่น วัด โบสถ์ มสั ยดิ และคริสตจกั ร
 โรงพยาบาลรฐั และสถานพยาบาลของรัฐ
 องค์กรการกศุ ลสาธารณะอื่นๆ ท่ใี ชล้ ดหย่อนภาษีได.้ .

16 บางกอก ECONOMY

ชอ่ งทางการบรจิ าค.. โดยท่ีหน่วยรับบริจาคไม่ต้องด�ำเนินการใดๆ เพียงแต่ท�ำ

โดยปกติแล้วช่องทางการบริจาคผ่านระบบ การรบั เงนิ เขา้ บญั ชี พรอ้ มทง้ั รอรบั รายงานสรปุ ยอดการบรจิ าค
ผ่านช่องทางท่ีธนาคารก�ำหนด เพ่ือช่วยให้สามารถตรวจสอบ
E-Donation จะมอี ยู่ 2 สว่ นหลกั ๆ ไดแ้ ก่
ได้ง่าย และลดข้อผิดพลาด.. ทั้งน้ี ท่ีผ่านมากรมสรรพากร
1. การรบั บรจิ าคทห่ี นว่ ยรบั บรจิ าค โดยกรณแี รกน้ี ไดพ้ ยายามใหห้ นว่ ยรบั บรจิ าค คอื ศาสนสถาน และสถานศกึ ษา
ผู้บริจาคสามารถกระท�ำได้ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นเงินสด เช็ค ท�ำการบันทึกข้อมูล โดยได้มีค�ำส่ังการเพ่ือให้สรรพากรพื้นที่
การโอนเงินเข้าบัญชี พร้อมเพย์คิวอาร์โค้ด หรือรูปแบบอ่ืนๆ ทั่วประเทศได้ท�ำความเข้าใจก่อนท่ีจะเปิดลงทะเบียนเพื่อออก
ที่ไมผ่ ่านเมนู “บรกิ ารบริจาคอเิ ลก็ ทรอนิกส”์ ทั้งนี้ ภายหลัง “เลขประจ�ำตัวหน่วยรับบริจาค” ในระบบ E - Donation
จากที่หน่วยรับบริจาคได้รับเงินแล้ว ไม่ว่าผู้บริจาคจะขอ ตอ่ ไป !
หลกั ฐานในการบรจิ าคหรอื ไมก่ ต็ าม กจ็ ะตอ้ งทำ� การบนั ทกึ ขอ้ มลู
การบรจิ าคดงั กลา่ วผา่ นเวบ็ ไซต์ “ระบบบรจิ าคอเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ ประโยชนข์ องระบบบรจิ าคอเิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ .
ของทางกรมสรรพากรดว้ ย
ผู้บริจาค :
2. การรับบริจาคผ่านสถาบันการเงิน กรณีหลังนี้ - ไมต่ อ้ งจดั เกบ็ หลกั ฐานการบรจิ าคเพอ่ื มาแสดงตอ่
ทางหน่วยรับบริจาคจะมอบหมายให้สถาบันการเงิน คือ
เจ้าหนา้ ที่
ธนาคาร ท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนในการรับบริจาคเงิน - ลดความยงุ่ ยากในการลดหยอ่ นภาษี ไดร้ บั เงนิ คนื
โดยผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น พร้อมเพย์ คิวอาร์โค้ด
ซึ่งเมื่อภายหลังจากที่สแกนแล้วจะเข้าสู่เมนู “บริการบริจาค ภาษีเร็วข้ึน
- สามารถตรวจสอบข้อมลู การบรจิ าคได้ 24 ชัว่ โมง
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ โดยจะมตี วั เลอื กระหวา่ ง “ใชส้ ิทธิลดหย่อน” ท่ีเวบ็ ไซตก์ รมสรรพากร www.rd.go.th
กับ “ไม่ใช้สิทธิลดหย่อน” เพ่ือให้ความยินยอมก่อนขั้นตอน

ของการบรจิ าค นัน้ หน่วยรบั บริจาค :

อน่ึง หากเลือกท่ีจะ “ใช้สิทธิลดหย่อน” ธนาคาร - ไมต่ อ้ งจัดท�ำหลกั ฐานการบรจิ าคเปน็ กระดาษ
ก็จะส่งข้อมูลการบริจาคและเลขท่ีบัตรประชาชนเพื่อบันทึก - ไมต่ ้องจัดเกบ็ สำ� เนาหลกั ฐานการบริจาค
ในระบบ โดยผู้บริจาคสามารถตรวจสอบได้ผ่านทางเว็บไซต์ - ลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการจัดท�ำหลักฐาน
กรมสรรพากร แต่ถา้ เลือกกรณี “ไมใ่ ช้สิทธิลดหย่อน” ขอ้ มลู ทางภาษี
ดังกล่าวจะกลายเป็นผู้ท่ีไม่ประสงค์ออกนามแทน และ - สามารถเรียกเข้าดูข้อมูลในการบริจาคได้
ธนาคารจะท�ำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลให้กับกรมสรรพากร 24 ชว่ั โมง ทเ่ี วบ็ ไซตก์ รมสรรพากร www.rd.go.th

“ ..ในปี 2562 ส�ำหรับการบริจาคให้แก่ทางสถานศึกษา นั้น ผู้บริจาคสามารถที่จะน�ำมา

ลดหย่อนภาษีได้ 2 เทา่ .. โดยจะตอ้ งเปน็ การบริจาค ต้ังแตว่ นั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2562
และตอ้ งเปน็ การบรจิ าคผา่ นระบบ E-Donation เทา่ นน้ั และในสว่ นของการบรจิ าคใหก้ บั ศาสนสถาน
โรงพยาบาล และองคก์ ารสาธารณกุศลอ่ืน รวมถงึ การบรจิ าคให้แกส่ ถานศกึ ษากส็ ามารถทจี่ ะนำ� มา

”ใชล้ ดหยอ่ นการบรจิ าคไดต้ ามปกตโิ ดยใชห้ ลกั ฐานการบรจิ าคของหนว่ ยรบั บรจิ าคนั้นๆ ในการย่ืน

แบบภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา..

บางกอก ECONOMY 17

Digital Disruption & ¤Å×¹è ÅÙ¡ãËÁ‹áË‹§¹Çѵ¡ÃÃÁ

·ÕÁè ¼Õ Å¡ÃзºãËÀŒ Ò¤¸ÃØ ¡¨Ô µŒÍ§»ÃѺà»ÅèÕ¹ !

..ปจจุบันโลกก�าลังเกิดการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลง ยุคที่ใคร “ไม่ปรับตัว ก็ตาย” (Adapt or Die)
ครั้งใหญ่อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี จากตวั อยา่ งทอี่ ธบิ ายปรากฏการณน์ ท้ี เี่ กดิ ขนึ้ ภายในประเทศไทย
ดิจิทัล และโดยเฉพาะอย่างย่ิงนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ที่ค่อนข้างชัดเจน ก็คือ ประเด็นเกิดการปรับตัวคร้ังใหญ่
ซ่ึงก่อให้เกิดการริเริ่มโมเดลธุรกิจแบบใหม่ และโมเดลต่างๆ ของภาคธนาคารของไทยทหี่ นั มาพฒั นาการใหบ้ รกิ ารทางออนไลน์
เหลา่ นสี้ ามารถสง่ ผลกระทบตอ่ มลู คา่ ของผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร กันมากขึ้น โดยก�าหนดนโยบายเพ่ือลดจ�านวนสาขา รวมทั้ง
ท่ีมีอยู่ในอุตสาหกรรมและโดยที่ “Digital Disruption” ลงทนุ ในธรุ กจิ FinTech เพอื่ ยกระดบั ดา้ นการพฒั นานวตั กรรม
น้ัน ถือเป็นค�าท่ีก�าลังใช้แพร่หลาย ซึ่งเป็นที่รู้จักและมีอิทธิพล ทางการเงนิ ใหส้ ามารถแขง่ ขนั กบั ธรุ กจิ ใหญใ่ น Segment อนื่ ๆ ได้
อย่างมากในโลกยุคท่ีธุรกิจปจจุบันในหลายๆ วงการธุรกิจได้มี ประกอบกับท่ีเร่งในการที่จะเข้ามาช่วงชิงตลาดด้วยบริการ
การเปลี่ยนแปลงไปอย่างหลากหลาย ท้ังในแง่บวกและแง่ลบ ทางการเงินใหม่ๆ อาทิ การสแกน QR Code การช�าระเงิน
โดยเฉพาะในโครงสร้างทางธุรกิจระดับประเทศ ซึ่งก่อนหน้าน้ี ของ Wechat Pay และ Alipay หรือแม้แต่การจ่ายเงิน
จะได้รับข้อมูลว่าธุรกิจกลุ่มธนาคารพาณิชย์ได้รับผลกระทบ ผา่ นทางมอื ถอื ของ Samsung Pay ซงึ่ ถอื เปน็ บรกิ ารทส่ี อดรบั กบั
อย่างหนักและต้องปิดสาขาเพ่ือเลย์ออฟพนักงานลงบางส่วน ไลฟสไตล์ของผู้บริโภคยุคดิจิทัล ในขณะท่ีฝงธุรกิจค้าปลีกเอง
รวมทง้ั กลมุ่ สอื่ สารมวลชนทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง ก็ได้หันมารุกตลาดออนไลน์และพัฒนาการช้อปปิงท่ีตอบ
ของ Digital Disruption จนตอ้ งปดิ ตวั สอ่ื สงิ่ พมิ พใ์ นหลายฉบบั โจทย์แก่ผบู้ ริโภคได้ในทกุ ชอ่ งทาง (Omni-channel) เพอ่ื หวงั
และคงไวเ้ ฉพาะการเผยแพรข่ า่ วสารตา่ งๆ ผา่ นทางสอื่ ออนไลน์ ต้านแรงกระทบจากธุรกิจอีคอมเมิร์ซและธุรกิจออนไลน์
เทา่ นน้ั .. ฉะนนั้ เมอ่ื ผลกระทบจาก Digital Disruption ไดเ้ ขา้ มา ตามโซเชียลมีเดียตา่ งๆ น่นั เอง..
มบี ทบาทและเปลย่ี นแปลงสงิ่ ตา่ งๆ ทเ่ี ราทา� จนกระทงั่ สามารถ ในปจจุบันมีรปู แบบทางธรุ กิจท่เี กิดขนึ้ จาก “Digital
ท�าให้หุ่นยนต์ เครื่องจักรอัจฉริยะ และบล็อกเชนท�างานคู่กับ Disruption” อยา่ งมากมายและหลากหลายและเหลา่ น้ี คอื รปู แบบ
มนุษย์ในการผลิตและส่งสินค้า การให้บริการ การติดตาม ของธุรกิจท่ีมีความน่าสนใจประกอบกับได้เร่ิมเกิดข้ึนเพราะ
ตรวจสอบเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะเป็นปจจัย นวตั กรรมทางเทคโนโลยภี ายใตค้ ลนื่ แหง่ Digital Disruption ดงั น้ี
ในการสรา้ งและกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอนั สา� คญั ตอ่ อนาคต - Hypermarket Model หรอื มลี กั ษณะเปน็ รปู แบบ
ของหน่วยงานภาคสถาบันการเงิน ตลอดจนองค์กรทางธุรกิจ อ�านาจทางการตลาดขนาดใหญ่ และ Marketplace ซึ่งเป็น
ดว้ ยพลังอันมหาศาลตอ่ ไป.. รูปแบบสถานท่ีขายของอันมีลักษณะคล้ายกับห้างสรรพสินค้า
แต่เพียงแค่ได้เปล่ียนรูปแบบใหม่มาเป็นตลาดการค้าออนไลน์
เท่าน้ัน และลูกค้า นั้น สามารถที่จะซื้อของได้ทุกอย่างตามที่
ต้องการได้ภายในท่ีเพียงท่ีเดียว เช่น eBay , Amazon ,
Lazada , Shopee และแบรนดห์ า้ งสรรพสนิ คา้ ตา่ งๆ อยา่ งเชน่
Tesco Lotus , Big C หรอื แม้แต่ Central ก็เริม่ สนใจเข้ามา
ตตี ลาดออนไลนแ์ ลว้ ด้วยเชน่ กัน

18 บางกอก ECONOMY

- The On-Demand Model หรอื มลี กั ษณะเปน็ รปู แบบการบรกิ ารตามความตอ้ งการ
โดยเน้นการเข้าถึงลูกค้าตามความต้องการท่ีต่างกันไม่ว่าจะเป็นสินค้าหรือบริการต่างๆ กล่าวคือ
ลกู คา้ มคี วามตอ้ งการซอ้ื แตไ่ มม่ เี วลาทา� เอง จงึ ใหค้ นอน่ื ไปทา� แทนและเสยี คา่ บรกิ ารในสว่ นนน้ั เพม่ิ
เช่น Grab , Lalamove , Kerry , Panda หรอื แมแ้ ต่ Line Man ก็ไดเ้ ขา้ มาจบั ตลาดในส่วนน้ี
เช่นกัน..

- The Access-over-Ownership Model หรอื เปน็ รปู แบบในการเขา้ ถงึ ผใู้ หบ้ รกิ าร
ซึ่งจะเป็นการน�าผู้บริโภคให้สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการต่างๆ เช่น การจัดหาที่พักแล้วส่งให้
ผู้ใช้บริการโดยตรง โดยเก็บรายได้จากค่าบริการอย่าง AirBnB , FavStay หรือแม้แต่การจัดหา
รถเชา่ อาทิ Drivehub หรือ Skyscanner เปน็ ตน้

- Freemium Model หรอื เปน็ ลกั ษณะของรปู แบบ ติดต่อกับผู้คน การติดตามข้อมูลข่าวสาร และเสพส่ือบันเทิง
การขายสินค้า หรือบริการ และ Subscription Model ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ของมนุษย์ก�าลังเกิดข้ึนได้ทั้งบน
หรือเป็นรูปแบบการสมัครสมาชิกท่ีเป็นการให้บริการลูกค้า อุปกรณ์ส่ือสารของเราและในโลกความเป็นจริงไปพร้อมๆ กัน
ในลกั ษณะทใี่ หฟ้ รี แตจ่ ะเรม่ิ จา� กดั จา� นวน และจะเกบ็ เงนิ กต็ อ่ เมอื่ ดังนัน้ จากผลกระทบอันกวา้ งขวางนี้ สง่ ผลทา� ใหเ้ ราจะตอ้ งมา
ทางลูกค้ามีความต้องการใช้งานมากขึ้น หรือสมัครสมาชิก พจิ ารณาเพอ่ื ปรบั ตวั ใหท้ นั ในยคุ ทที่ กุ สงิ่ กา� ลงั จะเปลยี่ นแปลงไป
เพื่อใช้บริการได้ไม่จ�ากัด เช่น Spotify , Joox , Deezer , และเกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ มากทสี่ ดุ ในประวตั ศิ าสตรข์ องมนษุ ย์ และ
HOOQ , iFlix หรือแมก้ ระทั่ง Netflix ดว้ ยเชน่ กนั .. ประเดน็ นซี้ ึ่งอาจยังไม่มีค�าตอบที่ตายตัวแน่ชัด.. เพราะในการ
- Ecosystem Model หรือเป็นรูปแบบของ เปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วจะยง่ิ ทวคี วามซบั ซอ้ นขน้ึ เรอ่ื ยๆ ในอนาคต
ความเช่ือมโยง และความสัมพันธ์กันในหลายองค์กรท่ีใช้ ฉะน้ัน ทุกภาคส่วนทั้งในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ
กลยุทธ์ดังกล่าวน้ีในการขายผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประชาชนส่วนรวมท่ีต้องร่วมมือกัน เพ่ือการแสวงหาโอกาส
Apple หรือ Google ทเี่ ป็นผู้ออกผลติ ภณั ฑแ์ ละจะมีการออก ใหม่ๆ พร้อมท้ังให้โอกาสและให้คุณค่าความส�าคัญกับสิ่งท่ี
ผลิตภัณฑ์เพ่ิมเพ่ือให้สามารถเชื่อมโยงกันทั้งระบบ เช่น เคร่ืองจักรน้ันไม่สามารถที่จะทดแทนความเป็นมนุษย์ได้
สมาร์ทโฟนต่างๆ ท่ีมีแอปพลิเคชัน หรืออุปกรณ์เสริมต่างๆ ตัวอย่างเช่น ในงานฝีมือ และงานเชิงสร้างสรรค์ท่ีจักต้อง
ที่จ�าเป็นต้องใช้ควบคู่กัน หรือเพ่ิมความสะดวกสบาย เข้าใจและส่ือถึงอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์อย่างแท้จริง
ให้มากยิ่งขนึ้ .. ในการปรับตัวเพ่ือเปล่ียนแปลงที่เราเคยได้ยินกันมาเยอะ
โดยสามารถเรยี กไดว้ า่ “Digital Disruption” เปน็ จากในอดีต ซ่ึงในปจจุบันก็เริ่มเห็นภาพชัดเจนมากขึ้นเร่ือยๆ
คล่ืนลูกใหม่แห่งการพัฒนาด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีท่ีมี และแม้จะฟงดูแล้วเป็นเร่ืองที่น่ากลัว แต่หากธุรกิจใดรู้จัก
ผลให้ภาคธุรกิจนั้นต้องปรับเปล่ียน ซ่ึงปรากฏการณ์น้ีถือเป็น ปรบั ตวั เพอื่ ใหเ้ ทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงของ “Digital Disruption”
ส่วนหน่ึงท่ีเข้ามาปฏิวัติด้านวงการอุตสาหกรรมในยุคปจจุบัน ในยคุ สถานการณป์ จ จบุ นั นไี้ ด้ ธรุ กจิ นกี้ จ็ ะสามารถสรา้ งโอกาส
ให้เปลี่ยนแปลงไปไม่น้อย นับตั้งแต่ในเรอ่ื งของความสามารถ ใหมๆ่ จากวิกฤติการณ์ท่ปี ระสบและพบเผชิญในคร้ังน้ีไดอ้ ยา่ ง
ในการแขง่ ขนั ของทางองคก์ รทเ่ี ปลย่ี นไปจากเดิม โดยผลจาก มหาศาลและเหนือสิ่งอื่นใดนั้น ทางภาครัฐก็จักต้องวางด้าน
เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ถาโถมเข้ามาตลอด รวมถึงพฤติกรรมของ โครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการสอดรับกับเศรษฐกิจดิจิทัล
ผู้บริโภคที่ต่างจากอดีต ล้วนส่งผลให้ธุรกิจในรูปแบบเดิมๆ โดยสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามมน่ั คงและยดื หยนุ่ ตอ่ สถานการณ์ ซงึ่ ตอ่ ไป
คอ่ ยๆ โดน disrupt สงู มากกวา่ ทเี่ ราคาดคดิ เอาไว้ แตอ่ นั ทจี่ รงิ แลว้ ทุกภาคส่วนของสังคม คือ ผู้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนไปสู่
การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีน้ันสามารถที่จะส่งผลกระทบ เปาหมายในการสร้างสังคมแห่งนวัตกรรมในทุกมิติ รวมทั้ง
อย่างมหาศาลได้ในทุกๆ มิติ ไม่เว้นแม้แต่ในการด�าเนินชีวิต จกั ตอ้ งพฒั นากา้ วไปพรอ้ มๆ กบั การเปลยี่ นแปลงของนวตั กรรม
ของคนธรรมดาทั่วไป เช่น วิธีการที่เราซ้ือของ การจ่ายเงิน เทคโนโลยอี ยา่ งรเู้ ท่าทนั ดว้ ย..

บางกอก ECONOMY 19

Progress Project

โครงสกากรพารยะปปกาเกรลคา

@ สวนสาธารณะลอยฟา (แหง่ ท่ ี 2) ในเอเชีย..

“สะพานด้วน” ทห่ี ลายคนเหน็ วา่ คงไมเ่ ปน็ ทคี่ นุ้ หู ดา้ นการโยกยา้ ยระบบสาธารณปู โภค นนั่ เอง.. ทงั้ น้ี โดยในสว่ น
ของคนกรงุ เทพฯ อกี ทง้ั ยงั คงลมื ไปแลว้ วา่ ครงั้ หนงึ่ นนั้ กรงุ เทพฯ โครงสร้างที่ก่อสร้างเอาไว้เพื่อรองรับสะพานรถไฟฟาลาวาลิน
เคยมีโครงการสร้างรถไฟฟาข้ามแม่น้�าเจ้าพระยา โดยสร้าง จึงถูกกลายมาเป็น “สะพานด้วน” ที่ถูกท้ิงร้างมานาน
สะพานรางรถไฟแทรกระหว่างสะพานพุทธฯ กับ สะพาน ร่วมระยะเวลากวา่ 30 ปี ในพื้นท่ขี องกรุงเทพฯ..
พระปกเกล้าฯ ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของโครงการรถไฟฟาลาวาลิน
โดยปจจุบันจึงได้มีการริเร่ิมนโยบายนี้ขึ้นใหม่เพ่ือท่ี
(Lavalin Skytrain) โดยมีการศึกษามาต้ังแต่ปี 2522 ซึ่งมี จะพฒั นาและปรบั ปรงุ พน้ื ทบ่ี รเิ วณ “สะพานดว้ น” นใ้ี หก้ ลายเปน็
การวางแนวโครงการดังกล่าวไว้ทั่วกรุงเทพฯ จ�านวน 3 สาย “สกายปารค์ ” หรอื สวนลอยฟา แหง่ แรกของประเทศไทยรวมทง้ั
และหนึ่งในน้ัน ก็คือ สายสะพานพุทธท่ีวิ่งจากดาวคะนอง ยังถือเป็นสวนสาธารณะลอยฟา (แห่งที่ 2) ในเอเชียอีกด้วย
ไปยงั มกั กะสนั โดยเปน็ โครงการท่ีเกิดขึ้นพรอ้ มๆ กบั การสร้าง โดยท่ีโครงการน้ีถือเป็นหนึ่งในนโยบายการพัฒนากรุงเทพฯ
สะพานพระปกเกล้า ดังน้ัน เมื่อเร่ิมมีการด�าเนินการก่อสร้าง “ผลกั ดนั ทนั ใจ แกไ้ ขทันที NOW !” ของผวู้ ่า กทม. คนที่ 16
สะพานพระปกเกล้า จึงได้มีการเตรียมก่อสร้างโครงสร้าง พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ที่ผุดขึ้นตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ปี 59
เพอื่ รองรบั โครงการรถไฟฟา ลาวาลนิ เอาไวด้ ว้ ย แตแ่ ลว้ ภายหลงั โดยประกอบไปด้วย “5 นโยบายทนั ใจ และ 19 นโยบายแกไ้ ข
โครงการนก้ี ต็ อ้ งถกู ระงบั ลง เนอื่ งจากประสบปญ หาดา้ นโครงสรา้ ง ทันที” ซึ่งในส่วนโครงการ “พระปกเกล้าฯ สกายปาร์ค” น้ี
ทางการเงินท่ีก�าหนดเง่ือนไขให้ภาครัฐบาลไทยจะต้องมี จะอยใู่ นนโยบายทเี่ รยี กวา่ CARE : มงุ่ เนน้ การดแู ลคณุ ภาพชวี ติ
การค�้าประกันเงนิ กใู้ นลักษณะทไ่ี มม่ ีดอกเบ้ีย หรอื Soft Loan ประชาชน สิ่งแวดล้อม และระบบนิเวศ ประกอบกับท่ี
จากทางรัฐบาลแคนาดา จึงก่อให้เกิดต้นทุนในการก่อสร้าง โครงการส่วนใหญ่ทีถ่ ูกผนวกรวมอยูใ่ นนโยบายดา้ น CARE นัน้
ท่ีสูงข้ึน เนื่องจากมีความผิดพลาดในการค�านวณค่าใช้จ่าย จะมุ่งเน้นการฟนฟูพื้นท่ีสีเขียวในกรุงเทพฯ และเม่ือต้นปี

20 บางกอก ECONOMY

2561 ท่ีผ่านมาก็ได้รับการอนุมัติงบโครงการสกายปาร์ค “สะพานภมู พิ ล” หรอื สะพานวงแหวนอตุ สาหกรรม สว่ นทาง
ดังกล่าว เป็นวงเงินกว่า 100 ล้านบาท ซ่ึงมีการก�าหนด ด้านขวามือจะเป็นภาพของสะพานพระราม 8 ซ่ึงโครงการ
เตรยี มการดา� เนนิ การกอ่ สรา้ ง โดยมรี ะยะเวลาการดา� เนนิ โครงการ พระปกเกลา้ สกายปารค์ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั พน้ื ทโี่ ดยรอบ
จา� นวน 360 วนั เพอื่ ใหเ้ ปดิ ใชไ้ ดท้ นั ภายในตน้ ปี 2563 เปน็ ตน้ ไป.. ในย่านชุมชนท้ัง 2 ฝงเจ้าพระยา และยังเป็นโครงการท่ีท�าให้
เกิดเป็น Landmark แห่งใหม่ของกรุงเทพมหานคร อีกทั้ง
สา� หรบั ดา้ นการพฒั นาโครงการนจ้ี ะเปน็ การปรบั ปรงุ ยังส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมให้กับย่านเก่าทั้งฝง
โครงสร้างของทางว่ิงรถไฟฟาลาวาลินที่มีอยู่เดิมเพื่อให้เป็น รัตนโกสินทร์และฝงธนบรุ ี โดยเชอื่ มโยงกับโครงขา่ ยการสัญจร
แลนดม์ ารค์ แหง่ ใหมข่ องพนื้ ทย่ี า่ นกะดจี นี -คลองสาน และใชเ้ ปน็ ใหม่ริมคลองโอ่งอ่างที่กรุงเทพมหานครก�าลังด�าเนินการ
ทางเดินข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาโดยเชื่อมระหว่าง 2 ฝง คือ ปรับปรุง และจะเป็นแลนด์มาร์คท่ีเชื่อมโยงตามเส้นทาง
ฝงธนบุรีและฝงพระนคร ซึ่งประโยชน์จะช่วยลดอุบัติเหตุ ท่องเท่ียวย่านเมืองเก่า ระหว่างฝงพระนครกับฝงธนบุรี
ที่อาจเกิดจากการเดินทางข้ามสะพานบนสะพานพุทธฯ นั้น ใหค้ รบวงจรตอ่ ไป
ใหป้ ลอดภัยไดอ้ ีกส่วนหน่งึ ..
โดยในการใช้ทางเดินและสวนสาธารณะลอยฟา
โดยโครงการฯ จะมีการสร้างทางส�าหรับคนเดินและ ท่ีเช่ือมต่อระหว่างฝงธนบุรีและฝงพระนคร มีระยะทาง
ทางจักรยาน รวมถึงสวนสาธารณะลอยฟา พร้อมออกแบบ รวมทงั้ สน้ิ 280 เมตร และมคี วามกวา้ ง 8.5 เมตร ความสงู 850 เมตร
โครงสร้างร้ัวและดูแลความปลอดภัยของผู้ใช้งาน ซ่ึงมี ซง่ึ ใชง้ บประมาณในการดา� เนนิ การกอ่ สรา้ งรวมจา� นวน 122 ลา้ นบาท
การติดตั้งไฟฟาส่องสว่าง กล้อง CCTV เพ่ือให้การดูแล กา� หนดระยะเวลาในการกอ่ สรา้ ง 360 วนั ซง่ึ คาดวา่ จะสามารถ
ประชาชนอย่างเต็มที่ ประกอบกับจะมีการติดตั้งลิฟท์โดยสาร ก่อสรา้ งแล้วเสรจ็ ได้ภายในเดอื นมนี าคม 2563 เป็นตน้ ไป..
ส�าหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ ให้สามารถข้ึนสู่พื้นที่ของ
สวนสาธารณะลอยฟาได้อย่างสะดวก ส่วนบริเวณของพ้ืนท่ี สะพานหนั
ใต้สะพาน นั้น จะปรับปรุงเพ่ือให้มีความสวยงามและมี โบสถซ์ างตาครสู้ กฎุ จีสนีะพานภานุพนั ธ์ุ
ความปลอดภยั เช่นเดยี วกัน..
วดั ประยรุ วงศาวาสวรวิหาร อุทยานเฉลิมพระเกียรติ
ทงั้ นี้ หากเมอื่ การดา� เนนิ โครงการนแ้ี ลว้ เสรจ็ ทาง กทม. สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี
ก็จะเปิดให้บริการแก่ประชาชนเพื่อใช้งาน รวมท้ังเพื่อใช้เป็น
ท่ีส�าหรับพักผ่อนหย่อนใจและยังเป็นแหล่งท่องเท่ียว
ในมุมมองมิติใหม่ของวิวทิวทัศน์เหนือแม่น�้าเจ้าพระยาอีกด้วย
โดยกลุ่มนักท่องเท่ียว นั้น สามารถที่จะมาชมทัศนียภาพ
ของกรงุ เทพฯ ในมมุ 360 องศา โดยทางดา้ นซา้ ยมอื นน้ั จะเหน็

บางกอก ECONOMY 21

ÃอบÃÇéÑ บางกอก บทบาท ภารกิจของคณะผ้บู ริหาร กทม.

ภารกิจคณะผูบ้ ริหาร กทม. & ปน “ คลองโอง อา ง ” ก้าวสูเวนชิ เมืองไทย..

“คลองโอ่งอ่าง” คือ ส่วนหน่ึงของพื้นท่ีคลองรอบกรุงท่ีต่อเชื่อมจากคลองบางล�าพูตรงสะพานผ่านฟาลีลาศ
โดยปลายคลองน้ันทอดออกไปยังแม่น้�าเจ้าพระยา ซึ่งอยู่ใกล้กับวัดบพิตรพิมุข และยังถือเป็นเส้นแบ่งเขตพ้ืนที่ระหว่าง
เขตพระนครกับเขตสัมพันธวงศ์ของกรุงเทพมหานครอีกด้วย ซ่ึงจากสภาพภูมิประเทศของเมืองไทยท่ีเป็นเมืองท่ีล้อมรอบ
ไปด้วยแม่น�้าและล�าคลองมากมาย ถึงขั้นท่ีชาวต่างชาติได้ขนานนามให้ประเทศไทยเป็น “เวนิชแห่งตะวันออก” ดังนั้น
จงึ ถอื ได้ว่าภารกิจดา้ นการปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์รมิ คลองน้นั เปน็ หน่ึงในภารกิจของ กทม. ทั้งนี้ เพอื่ เป็นการสร้างแลนด์มาร์คแหง่ ใหม่
ให้เป็นอีกหนึ่งสถานท่องเที่ยวท่ีใครๆ ต่างก็อยากมาเยือน อีกท้ัง กทม. จะได้มีการปรับปรุงสถานท่ีโดยรอบไม่ว่าจะเป็น

สะพานเหล็ก วังบูรพา ปากคลองตลาด สะพานพุทธ
รวมไปถึงรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ที่จะเช่ือมต่อกันด้วย
ส่วนต่อขยายรถไฟฟาสายสีน้�าเงินและสายสีม่วงใต้โดยรอบ
และส�าหรับรถไฟฟาสายน้ี ซ่ึงกรุงเทพมหานครได้มี
การบริหารเพื่อเข้าจัดระเบียบพ้ืนที่ริมคลอง พร้อมกับ
มีนโยบายเพ่ือปรับปรุงภูมิทัศน์ของคลองคูเมืองเดิม
และบริเวณพื้นท่ีโดยรอบ ตลอดจนมีการจัดระเบียบของ
สายสื่อสาร การท�าความสะอาดท้ังในส่วนริมคลอง
รวมถึงการจัดเก็บวัชพืชในคลอง ซ่ึงในขณะน้ีเม่ือ กทม.
ได้มีการปรับปรุงฟนฟูคูเมืองเดิมดังกล่าวให้กลับมาเป็น
ระเบียบเรียบร้อยและสวยงามอีกครั้ง พื้นท่ีย่านนี้ก็จะ
เป็นแหล่งทรัพยากรท่องเท่ียวแห่งใหม่ของกรุงเทพฯ
ท่ีสามารถกลับมาดึงดูดนักท่องเท่ียวให้กลับมาเย่ียมชม
กรุงเทพฯ ในฐานะเป็น “เวนิชตะวันออก” จ�านวนมากข้ึน
เรอื่ ยๆ ตอ่ ไป..

22 บางกอก ECONOMY

กรงุ เทพมหานครกับบทบาทการจดั กจิ กรรม เนอ่ื งในโอกาส
วันเฉลมิ พระชนมพรรษา 67 พรรษา 28 กรกฎาคม 2562

..สืบเนื่องในโอกาสวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
67 พรรษา ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวันส�ำคัญของปวงชนชาวไทยท่ีจะได้ร่วมท�ำกิจกรรมเพื่อ
นอ้ มส�ำนกึ ในพระมหากรุณาธิคุณและแสดงความจงรกั ภักดี..โดยทกี่ รงุ เทพมหานคร
เป็นหน่วยงานหลักในการอ�ำนวยการเพ่ือจัดกิจกรรมในเขต กทม. ในการนี้
พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้เป็นประธานพิธีเพ่ือเปิด
กิจกรรมจิตอาสาฯ พร้อมด้วย นางศิลปสวย ระวีแสงสูรย์ ปลัดกรุงเทพมหานคร
คณะผบู้ รหิ าร ข้าราชการ และบุคลากรกรุงเทพมหานคร ตลอดจนผู้แทนหนว่ ยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน อาทิ ทหาร ต�ำรวจ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงคมนาคม
และประชาชนจิตอาสา ได้ร่วมในพิธีดังกล่าว ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการ
กรงุ เทพมหานคร (เสาชงิ ชา้ ) ทง้ั น้ี โดยศนู ยอ์ ำ� นวยการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร.
และกรุงเทพมหานครก�ำหนดจัดกิจกรรมจิตอาสา “เราท�ำความดี ด้วยหัวใจ”
เน่ืองในวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
28 กรกฎาคม 2562 ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรม
การทำ� ความสะอาด การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นใ์ นพน้ื ทที่ อ้ งสนามหลวงและบรเิ วณโดยรอบ
พรอ้ มกบั พฒั นาปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นใ์ นพน้ื ทเ่ี ขตตา่ งๆ ทงั้ 50 เขต 1 คลอง 1 เขต รวมทง้ั
กำ� หนดจดั กจิ กรรมรณรงคเ์ รอ่ื งไขเ้ ลอื ดออก โดยเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ สี ว่ นรว่ ม
กิจกรรมจิตอาสาถวายพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ
สำ� นกั งานเขต ทง้ั 50 เขต นอกจากนก้ี รงุ เทพมหานครยงั ไดด้ ำ� เนนิ การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์
บริเวณถนนราชด�ำเนินและเส้นทางเสด็จฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวและวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซ่ึงมีสำ� นักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานครได้ดำ� เนินการ
เพอื่ ประดบั ตกแตง่ ไมด้ อกไมป้ ระดบั บรเิ วณถนนราชด�ำเนนิ ใน ถงึ ถนนราชดำ� เนนิ นอก
และในบรเิ วณอนสุ าวรยี ป์ ระชาธปิ ไตย ซงึ่ ไดน้ ำ� ไมด้ อกไมป้ ระดบั กวา่ 2 แสนตน้ เพอื่ มา
ประดบั ตกแตง่ เฉลมิ ฉลองในโอกาสมหามงคลครงั้ นภ้ี ายใตแ้ นวคดิ “ทรงพระเจรญิ ” !

บางกอก ECONOMY 23

www.bangkok.go.th/fiic
โทร. 0 2224 1916 โทรสาร 0 2225 1945


Click to View FlipBook Version