อนาคตหลังวิกฤตโิ ควิด-19
แม้ว่าเราจะอยู่กับ วิกฤติโควิด-19 มาเป็นเวลานานพอสมควรแล้ว แต่วิกฤตคร้ังนี้ก็ยังไม่จบ แม้วิกฤตยังไม่จบ แต่เราก็ต้อง
เริ่มคิดถึงเส้นทางเดินในอนาคต แผนการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤตต่างๆ กันแล้วไม่ว่าจะเป็นผ่านมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ภายในประเทศใหฟ้ น้ื ตวั จากวกิ ฤตยทุ ธศาสตร์เศรษฐกิจฐานราก รวมไปถึงการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยให้เพิ่มความเข้มแข็ง
ของเศรษฐกจิ ภายในประเทศ (Domestic Economy) และเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม (Green Recovery)
วกิ ฤติโควิด-19 ชว่ งท่ีมานัน้ ไดส้ ง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยทม่ี ีโครงสรา้ งทางเศรษฐกิจพ่งึ พาการค้าระหว่างประเทศอย่างมาก
ประกอบกับเศรษฐกจิ ฐานรากของไทยซ่ึงสว่ นใหญ่อยใู่ นภาคเกษตรแรงงานในภาคเกษตรมีสัดส่วนถึง 30% ของประชากร แต่กลับสร้าง
มูลค่าต่อเศรษฐกิจไทยน้อยกว่า 10% แม้ว่าที่ผ่านมาภาครัฐจะได้จัดสรรงบประมาณจานวนมากเพื่ออุดหนุนด้านการเกษตร
แต่ภาคเกษตรยังมไิ ดม้ มี ูลค่าหรอื แสดงศักยภาพของประเทศเท่าที่ควร
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้แรงงานย้ายถ่ินฐานกลับบ้านเกิดกว่า 1 ล้านคน ซี่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานฝีมือท่ีได้สะสม
ความรู้จากการทางานในเมือง น่ีนับเป็นโอกาสอย่างหนึ่ง ท่ีเราจะพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสจากการย้ายถิ่นฐานของแรงงานกลุ่มนี้ได้
เป็นทีน่ ่าสนใจวา่ เศรษฐกิจฐานรากเป็นรากฐานที่สาคัญ ในขณะที่ปัจจุบันยังมีประเด็นใหญ่ท่ีเก่ียวข้องกับภาคเกษตรและปัญหา
ความยากจน ดังน้ัน หากสามารถเปลี่ยนภาคเกษตรให้เป็นพลังในการขับเคล่ือนประเทศได้จะส่งผลให้อนาคตของไทย
เปล่ียนแปลงไปอย่างไร ทั้งในด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลดความเหล่ือมล้าของประเทศเพราะเศรษฐกิจฐานรากของไทย
มภี าคเกษตร ซงึ่ รวมถึงทุนวฒั นธรรมเปน็ รากฐานทีใ่ หญท่ ่ีสดุ
เศรษฐกิจฐานรากสาคัญกับเศรษฐกิจไทย และการแก้จนเกิดข้ึนได้ถ้าร่วมใจและจับมือกันมาตรการสร้างงาน สร้างรายได้น้ัน
ตอ้ งผลกั ดนั ท้ังดา้ นอปุ สงค์และอุปทาน การยกระดบั เศรษฐกิจฐานรากให้ประสบความสาเร็จเป็นส่ิงท่ีทาให้เกิดข้ึนได้ โดยภาคส่วนต่างๆ
ต้องปรบั เปล่ียน ภาครฐั เองเป็นปัจจัยสาคัญในการปรับเปล่ียน ขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการการกระจายอานาจ การสร้างท้องถ่ิน
ใหม้ คี วามเข้มแขง็ รวมไปถงึ การมองภาคเกษตรใหค้ รบทงั้ Value Chain ครอบคลมุ ถงึ การแปรรูปและการเชือ่ มโยงกบั การท่องเทยี่ วชุมชน
การจัดระบบนเิ วศท่ีเหมาะสม เปน็ องคป์ ระกอบที่สาคญั ในขณะเดียวกันเกษตรกรเองก็ต้องปรับจากการผลิตแบบด้ังเดิมสู่การผลิตแบบใหม่
และเป็นโอกาสของแรงงานที่ย้ายถ่ินฐานกลับบ้านในการทา Digital Transform ภาคเกษตรและการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อสนับสนุน
เศรษฐกิจฐานรากให้เติบโตและเข้มแข็งได้มากยิ่งข้ึน
นอกจากนี้นโยบาย และการออกแบบระบบนิเวศที่เหมาะสมเอ้ือต่อการส่งเสริมเกษตรกรท่ีประกอบการน้ันเป็นส่ิงจาเป็น
นโยบายท่ีสนับสนุนเป็นส่ิงที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ ซ่ึงหากไม่ได้ดาเนินการก็ก่อให้เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสปัญหาปากท้องและ
ความยากจน เป็นหน่ึงในเป้าหมายสาคัญท่ีแต่ละประเทศพยายามแก้ไขเพื่อให้พลเมืองมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น
แต่ปัญหาความยากจนก็ยังคงอยู่มาหลายยุคหลายสมัย ปัญหาความจนของประชาชนแต่ละคน แต่ละกลุ่มก็มีปัญหาที่แตกต่างกันไป
ต้นทุนชวี ิต พื้นฐานและศักยภาพก็แตกตา่ งกัน บรบิ ทสภาพท้องถิ่นก็ต่างกนั ไปดว้ ย จึงทาใหน้ โยบายแก้จนแบบกวา้ งๆ เหมารวมนน้ั จึงไม่
อาจทาได้ หากแต่ต้องลงไปแก้ให้ตรงจุด ตรงใจคนด้วยทุกปัญหามีทางออกเร่ิมต้นจากการมองอนาคต มองด้วยเหตุด้วยผล
ในโลกแห่ง VUCA World และโควิด-19 ก็นับว่าไม่ง่ายนักท่ีจะคาดการณ์ หรือใช้เพียงสถิติก่อนหน้าน้ีมาพยากรณ์ หรือ Forecast
หากแตต่ อ้ งวเิ คราะห์ปจั จยั ขบั เคลือ่ นจับสัญญาณความไม่แน่นอนคาดการณ์ฉากทัศน์อนาคตต่างๆ คิดทั้งกรณีที่เป็นฉากทัศน์ท่ีดี
(Best Case Scenario) ภาพอนาคตท่ีเราอยากเป็นอยากให้เกิดรวมไปถึงคิดถึงฉากทัศน์ท่ีเลวร้าย (Worst Case Scenario) ไว้ด้วย
วา่ จะเกิดเหตกุ ารณ์อะไรไดบ้ ้าง
ความเส่ยี งอะไรทีอ่ าจทาให้ประเทศไปถึงจุดวิกฤติร้ายแรง เพื่อท่ีจะวางยุทธศาสตร์ไม่ให้พลาดท่าไปจุดนั้น หรือหากเกิดขึ้นจริง
จะบรหิ ารจดั การสถานการณ์อยา่ งไร
นอกจากนี้ เพ่ือเตรียมพร้อมรองรับกับวิกฤตในรูปแบบต่างๆ ในอนาคต ประเทศควรจัดทาแผนความต่อเน่ืองทาง
เศรษฐกิจของประเทศ (National Economic Continuity Plan) แผนบริหารความเสย่ี ง แผนการบริหารการเปลี่ยนแปลงเอาไว้
ด้วยเพราะแม้ว่าวิกฤติโควิด-19 ครั้งนี้จะหนักหนาสาหัสมากแล้ว แต่ใครจะรับประกันได้ว่าอนาคตข้างหน้าเราจะไม่เผชิญกับ
วิกฤติอกี แล้วไม่มใี ครอยากเผชญิ กบั วกิ ฤติและความสญู เสยี เราได้สญู เสยี มากแลว้ และจะเป็นการสูญเสียราคาแพงมากขึ้นไปอีก
หากเราทิง้ บทเรียนนี้ให้ผา่ นไปแลว้ ค่อยไปคดิ แก้ปญั หาเอาดาบหนา้ ตอนเผชญิ วกิ ฤตคิ รง้ั ถัดไปถาโถมมาอีกครง้ั .
ทมี่ า : https://www.bangkokbiznews.com/columnist/999572