ใชเ้ งินแบบไหนถงึ เรียกวา่ มี ‘วินัยทางการคลัง’
วนิ ยั ทางการคลัง เป็นหนง่ึ ในประเดน็ ทพ่ี ดู ถงึ ค่ไู ปกับการกเู้ งินมาใช้
จา่ ยของรฐั บาล ไมไ่ ดห้ มายถึงการขเี้ หนยี วตระหน่ีไมย่ อมจา่ ยเงิน
งานวิจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์การคลังในระดับประเทศและการเปรยี บเทียบ
ระหว่างประเทศส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไปในทิศทางเดียวกันว่า การใช้จ่ายของ
รฐั บาลนัน้ มผี ลกระทบต่อเศรษฐกจิ ท้งั ในระยะสนั้ และระยะยาว แต่ผลกระทบ
จะเป็นบวกหรือลบนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณเงินที่ใช้หรือระดับการขาดดุล
เพียงอยา่ งเดียว ปจั จยั แวดล้อมอ่ืนๆ โดยเฉพาะสภาวะเศรษฐกิจ คณุ ภาพ และประสิทธภิ าพของการ
ใช้เงินทีส่ ะทอ้ นระดับ “กึน๋ ” ของรฐั บาลก็มสี ่วนด้วยเชน่ กนั
เวลาพูดถึงวินยั ทางการคลัง บางคนคดิ ว่าหมายถงึ การทร่ี ัฐบาลต้องรัดเขม็ ขดั ลดรายจา่ ยไมใ่ ห้
งบประมาณขาดดลุ ซึ่งก็ไม่ใช่ว่าจะผิดเสียทีเดียว เพียงแต่ว่า คำจำกัดความแบบนี้ค่อนข้างคับแคบ
เกินไป การจะประเมินว่ารัฐบาลไหนมีวินัยทางการคลังหรือเปล่าต้องเข้าใจถึงลักษณะของรายจ่าย
ประเภทต่างๆ ของรฐั บาลดว้ ย
โดยปกติแล้ว นกั เศรษฐศาสตร์แบ่งรายจ่ายรัฐบาลออกเปน็ สามกลมุ่ ดว้ ยกนั รายจ่ายกลุ่มแรก
เป็นรายจ่ายเพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน เช่น การซื้อปากกาดินสอมาให้ข้าราชการใช้เซ็นเอกสาร
การจ่ายเงินเดอื นขา้ ราชการตอบแทนการทีข่ า้ ราชการให้บริการประชาชนในแตล่ ะเดอื น รายจา่ ยกลมุ่ น้ี
สว่ นใหญ่เป็นการจา่ ยเพ่อื ใหก้ ลไกของรัฐทีม่ อี ยสู่ ามารถทำงานต่อไปได้
รายจ่ายกลุ่มที่สองเป็นรายจ่ายด้านการลงทุน เช่น การสร้างถนนหนทาง ท่าเรือ สนามบิน
และโครงสรา้ งพื้นฐานทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การพัฒนาประเทศ การลงทนุ เหลา่ น้ีให้ผลตอบแทนกลบั มาในรูปของ
การขยายตวั ทางเศรษฐกิจในระยะยาว เมือ่ เศรษฐกิจขยายตัว รายไดข้ องประชาชนและธรุ กจิ มีมากข้ึน
รัฐก็สามารถจัดเกบ็ ภาษไี ด้ข้นึ ตามไปด้วย หากผลตอบแทนทไ่ี ด้จากโครงการลงทนุ มมี ากกวา่ ต้นทุนท่ีลง
ไปก็ถือวา่ รายจ่ายด้านการลงทนุ นั้นมคี วามคมุ้ คา่
รายจ่ายประเภทที่สามคือการถ่ายโอนเงินโดยมิได้รับผลตอบแทนกลับคืนมาในระยะยาว
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายด้านสังคม เช่น การให้เงินช่วยเหลือผู้สูงอายุ การให้เงินช่วยเหลือผู้ประสบ
อทุ กภัย เปน็ ต้น
หากมองในเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว รายจ่ายประเภทสุดทา้ ยนีเ้ ป็นการโอนเงินจากผู้เสียภาษีไป
ให้กบั คนอีกกลุ่มหน่งึ นโยบายในเชิงเงนิ โอนเหล่านเี้ ปน็ ความพยามยามของรฐั ในการลดความเหลื่อมล้ำ
ทางเศรษฐกิจระหว่างคนกลมุ่ ตา่ งๆ หรือบรรเทาผลกระทบจากเหตกุ ารณท์ ีไ่ มค่ าดฝัน
ด้วยเหตุนี้เอง การจะประเมินว่านโยบายที่เข้ากลุ่มรายจ่ายประเภทที่สามนี้ได้ผลมากน้อย
แค่ไหนจึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อน เพราะจะคิดแต่ตัวเงินเพียงอย่างเดียวไม่ได้ ผลตอบแทนในเชิงสังคม
และจิตวิทยาซ่งึ ไม่สามารถตคี ่าออกมาเป็นเงนิ ไดก้ ็ตอ้ งนำมารวมไวด้ ้วยเช่นกัน
อย่างไรก็ตาม การจะจำแนกรายจ่ายของรัฐบาลวา่ อยู่ในกลุ่มไหนตอ้ งทำทั้งก่อนและหลงั การ
จ่ายเงิน เพราะอาจมีการกลายพันธุ์ระหว่างทางได้ เช่น บางโครงการจัดขึ้นมาเพื่อตอบสนอง
วัตถุประสงค์ด้านการลงทุนแต่พอเอาเข้าจริงคนใช้เงินกลับเอาไปใช้ซื้อข้าวของเครื่องใช้สำนักง าน
เพอ่ื ประโยชน์ในปัจจบุ ันเสยี หมด
ยกตวั อยา่ งเช่น หากใหเ้ งินชว่ ยเหลอื ชุมชนท่รี ว่ มกนั ทำวิสาหกิจชุมชนเพ่ือใชแ้ ก้ปัญหาการขาด
เงินทุนในชว่ งการระบาดของโควิด-19 ช่วยให้คนในหมู่บ้านมีเงินทุนหมุนเวียนและใช้ลงทุนยกระดบั
ศักยภาพ จนสามารถยกระดบั ความเปน็ อยู่ของสมาชกิ ไดใ้ นระยะยาว ก็ถือวา่ โครงการนี้ประสบผล
หากเอาเงินไปใช้สุรุ่ยสุร่าย แบ่งกันในบรรดาเครือญาติ แล้วเอาไปซื้อของที่ไม่ก่อรายได้
เช่น ทวี ี ไปเทีย่ ว ดหู นงั สังสรรค์ เงินกอ้ นนถ้ี อื ว่าสญู เปล่า
ดังนั้น การประเมินความคุ้มค่าของการใช้เงินของรัฐต้องดูกันให้ตลอดรอดฝั่ง เริ่มตั้งแต่
วัตถปุ ระสงค์ วธิ ีการบรหิ ารจัดการ และผลลัพธ์ทเี่ กิดขน้ึ จริง ซ่ึงประเมนิ โดยใชห้ ลกั วิชาการ ปราศจาก
การแทรกแซงทางการเมือง หากผลปรากฏออกมาว่าโดยรวมแลว้ ผลเสยี มากวา่ ผลได้ นโยบายประชา
นิยมนั้นก็ถือว่าไม่คุ้มค่า ถ้ารัฐยังดื้อดึงคิดทำต่อไป จะเป็นการสูญเงินรัฐโดยใช่เหตุ การใช้จ่ายเงิน
จำนวนมหาศาลโดยไม่ได้รับผลตอบแทนกลับคืนมาเท่าที่ควรแบบนี้เป็นการตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ
ถอื ว่าขาดวินัยทางการคลังอยา่ งร้ายแรง
ในทางตรงกันข้าม ถ้าโครงการนั้นก่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เห็นผลเต็มเม็ดเต็มหน่วย
ช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนดีขึ้น คุ้มกับเงินที่ลงทุนไป เป็นโครงการซึ่งน่าจะทำตอ่ แต่รัฐกลับ
ตัดสนิ ใจเลิกเสยี ดอื้ ๆ แบบน้กี เ็ ขา้ ขา่ ยถือว่าขาดวนิ ยั ทางการคลังเช่นกนั
วินัยทางการคลังจงึ ไมไ่ ด้หมายถึงการข้ีเหนียวตระหน่ีไม่ยอมจ่ายเงิน เอาแต่รักษางบประมาณ
ให้สมดลุ หรอื เกนิ ดลุ อย่างเคร่งครัด วนิ ัยทางการคลงั สำหรับประเทศกำลงั พฒั นาอยา่ งบา้ นเราท่ามกลาง
การระบาดของโควิด-19 จึงน่าจะหมายถึง การรู้จักใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ไม่ใช้จ่าย
เกินตัวหาก รู้จักบริหารจัดการเงนิ ให้คุม้ ค่า ทั่วถงึ สร้างผลตอบแทนที่เป็นกอบเป็นกำกลับมาจะได้ไม่
เปน็ ภาระกบั ประชาชนและประเทศ แบบน้ีตา่ งหากถงึ จะเรยี กว่ารฐั บาลมวี นิ ัยทางการคลังอยา่ งแทจ้ ริง
ที่มา : หนงั สือพมิ พ์กรงุ เทพธรุ กิจ