The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรศิลปะ-61

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kruyo Supajaree, 2022-09-16 02:34:38

หลักสูตรศิลปะ-61

หลักสูตรศิลปะ-61



หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



คำนำ

กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มี
การปรบั ปรุงมาตรฐานการเรยี นรู้ กาหนดตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางตลอดจนรายละเอียดอน่ื ๆ ของ
หลักสูตรสถานศกึ ษาไดน้ าไปเป็นกรอบแนวคดิ และทิศทางในการพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา กาหนด
รายวิชา คาอธบิ ายรายวิชา ซ่งึ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะไดม้ สี ่วนร่วมในการจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
อนั จะช่วยพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายของหลักสตู ร

หลกั สตู รสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ พุทธศักราช ๒๕๕3
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕61) โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา เล่มนี้ ได้ปรับปรงุ เนื้อหาเพิม่ เตมิ เพอื่ ให้สอดคล้องกับ
สภาพบริบทของโรงเรียนซงึ่ กาลังพฒั นาเขา้ สู่มาตรฐานสากล รวมทงั้ เปน็ การกา้ วเข้าสู่อาเซียน ซึ่งกาลังจะเปดิ
เสรีในปี พ.ศ.2558 และเพ่อื เป็นการพฒั นาคนทจ่ี ะเปน็ กาลังสาคญั ของชาตใิ นการบริหารจัดการประเทศตอ่ ไป
เพื่อใหไ้ ด้รับการศึกษาทเ่ี หมาะสมและมีศักยภาพ ดงั นัน้ จงึ จาเป็นอยา่ งย่ิงท่จี ะต้องมกี ารการพฒั นาและปรบั ปรุง
หลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกจิ สังคมในปจั จบุ ันและสามารถนาไปใชไ้ ด้จรงิ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
โรงเรยี นทงุ่ ขนานวิทยา ไดต้ ระหนักถงึ ความสาคัญ จงึ ได้จดั ทาหลกั สูตรสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ พทุ ธศักราช
2553 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๕9) น้ขี ้นึ มา

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรียนท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สำรบัญ ๓

เรื่อง หนำ้

คานา ก
สารบญั ข
ทาไมตอ้ งเรยี นศลิ ปะ ๓
เรียนรู้อะไรในศิลปะ ๓
คณุ ภาพผู้เรยี น ๕
ความสัมพันธ์ของสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ๑๔
ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๑๖
โครงสร้างรายวิชาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๔๑
คาอธบิ ายรายวชิ าชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ๔๓
โครงสรา้ งรายวิชาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๖๒
คาอธิบายรายวิชาชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๖๓

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ โรงเรียนท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



กลุม่ สำระกำรเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ทำไมตอ้ งเรยี นศิลปะ

กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะเป็นกลุม่ สาระท่ชี ่วยพฒั นาให้ผู้เรยี นมีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ มี
จินตนาการทางศลิ ปะ ชืน่ ชมความงาม มสี นุ ทรยี ภาพ ความมีคณุ ค่า ซึ่งมีผลตอ่ คุณภาพชวี ติ มนุษย์ กจิ กรรม
ทางศลิ ปะช่วยพัฒนาผเู้ รยี นทั้งดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนา
ส่งิ แวดล้อม สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีความเชอื่ ม่ันในตนเอง อันเป็นพืน้ ฐาน ในการศกึ ษาตอ่ หรอื ประกอบอาชพี ได้

เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ

กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเขา้ ใจ มที ักษะวิธกี ารทางศลิ ปะ เกดิ ความ
ซาบซึง้ ในคุณคา่ ของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสาคัญ
คือ

 ทัศนศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองคป์ ระกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สรา้ งและนาเสนอผลงานทางทัศนศลิ ป์
จากจินตนาการ โดยสามารถใชอ้ ปุ กรณ์ที่เหมาะสม รวมทง้ั สามารถใชเ้ ทคนคิ วธิ กี าร ของศลิ ปินในการสร้างงาน
ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานทศั นศลิ ป์ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งทัศนศลิ ป์
ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่างานศิลปะท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทย
และสากล ชน่ื ชม ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน

 ดนตรี มคี วามร้คู วามเข้าใจองคป์ ระกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์
วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ทางดนตรีอย่างอสิ ระ ชืน่ ชมและประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่าดนตรี ทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิ
ปญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเลน่ ดนตรี ในรปู แบบต่าง ๆ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับ
เสียงดนตรี แสดงความรสู้ ึกท่มี ีต่อดนตรใี นเชิงสุนทรยี ะ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างดนตรกี ับประเพณีวฒั นธรรม
และเหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์

 นำฏศิลป์ มคี วามรูค้ วามเข้าใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ ใช้
ศัพทเ์ บอื้ งต้นทางนาฏศิลป์ วเิ คราะห์วิพากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อย่างอิสระ
สรา้ งสรรค์การเคลอื่ นไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ ประยกุ ตใ์ ช้นาฏศิลปใ์ นชีวติ ประจาวนั เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่าง
นาฏศิลป์กับประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม เหน็ คุณค่าของนาฏศลิ ปท์ ี่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ
ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นทุง่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

สำระที่ ๑ ทศั นศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ตามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์

วิจารณค์ ณุ คา่ งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ ตอ่ งานศิลปะอยา่ งอสิ ระ

ช่ืนชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ งาน

ทศั นศลิ ปท์ ่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล

สำระท่ี ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ใน

ชีวติ ประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี

ท่ี เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภูมิปัญญาไทยและสากล

สำระท่ี ๓ นำฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณคา่

นาฏศิลปถ์ ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า
ของนาฏศิลป์ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทยและสากล

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



คณุ ภำพผเู้ รยี น

จบช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๓

 รูแ้ ละเข้าใจเร่อื งทัศนธาตุและหลกั การออกแบบและเทคนคิ ท่ีหลากหลายในการ สร้างงานทัศนศลิ ป์
๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเร่ืองราวตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมคี ุณภาพ วเิ คราะห์รูปแบบเนอื้ หาและประเมิน
คณุ ค่างานทัศนศลิ ป์ของตนเองและผู้อน่ื สามารถเลอื กงานทศั นศิลปโ์ ดยใช้เกณฑ์ท่ีกาหนดขึน้ อย่างเหมาะสม
สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนาเสนอข้อมลู และมีความรู้ ทักษะทจ่ี าเป็นด้านอาชพี ที่
เก่ยี วข้องกนั กับงานทัศนศิลป์

 รูแ้ ละเข้าใจการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการของงานทศั นศิลปข์ องชาตแิ ละทอ้ งถนิ่ แต่ละยคุ สมัย
เหน็ คณุ ค่างานทัศนศลิ ป์ทส่ี ะท้อนวฒั นธรรมและสามารถเปรยี บเทยี บงานทัศนศิลป์ ทม่ี าจากยคุ สมัยและ
วฒั นธรรมต่าง ๆ

 รูแ้ ละเขา้ ใจถงึ ความแตกต่างทางดา้ นเสียง องคป์ ระกอบ อารมณ์ ความรูส้ ึก ของบทเพลงจาก
วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทกั ษะในการร้อง บรรเลงเคร่ืองดนตรี ท้ังเด่ียวและเปน็ วงโดยเนน้ เทคนคิ การร้องบรรเลงอยา่ ง
มีคุณภาพ มีทกั ษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโนต้ ในบนั ไดเสยี งท่ีมีเคร่ืองหมาย แปลงเสียง
เบือ้ งต้นได้ รูแ้ ละเข้าใจถึงปัจจัยท่มี ีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบของผลงานดา้ นดนตรีกับ
ศิลปะแขนงอืน่ แสดงความคิดเหน็ และบรรยายอารมณค์ วามรู้สกึ ที่มีตอ่ บทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงทีช่ ่นื
ชอบได้อย่างมีเหตผุ ล มีทกั ษะในการประเมนิ คุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รถู้ ึงอาชีพต่าง ๆ ที่
เก่ยี วข้องกับดนตรแี ละบทบาทของดนตรีในธรุ กิจบันเทิง เข้าใจถึงอทิ ธิพลของดนตรที มี่ ตี อ่ บุคคลและสงั คม

 รแู้ ละเขา้ ใจที่มา ความสัมพันธ์ อทิ ธพิ ลและบทบาทของดนตรีแต่ละวฒั นธรรมในยุคสมยั ต่าง ๆ วิเคราะห์
ปจั จัยท่ีทาใหง้ านดนตรไี ดร้ บั การยอมรบั

 รแู้ ละเข้าใจการใชน้ าฏยศพั ทห์ รอื ศพั ทท์ างการละครในการแปลความและส่ือสาร ผา่ นการแสดง
รวมทัง้ พฒั นารปู แบบการแสดง สามารถใชเ้ กณฑง์ ่าย ๆ ในการพจิ ารณาคุณภาพ การแสดง วจิ ารณ์เปรยี บเทียบ
งานนาฏศลิ ป์ โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจัดการแสดง นาแนวคิดของการแสดงไปปรบั ใช้
ในชีวิตประจาวนั

 รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยคุ สมัย ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง
ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลปพ์ น้ื บ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทยี บลักษณะเฉพาะของการแสดง
นาฏศลิ ปจ์ ากวฒั นธรรมต่าง ๆ รวมทัง้ สามารถออกแบบและสรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดง
นาฏศลิ ป์และละคร มคี วามเข้าใจ ความสาคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชวี ิตประจาวนั

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



จบชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๖

 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทาง
ทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และเน้ือหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ
กระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของ
ศิลปินท้ังไทยและสากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งานท่ีเหมาะสมกับโอกาส
สถานท่ี รวมทงั้ แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั สภาพสงั คมดว้ ยภาพลอ้ เลียนหรอื การต์ นู ตลอดจนประเมนิ และวิจารณ์
คณุ คา่ งานทศั นศลิ ป์ด้วยหลกั ทฤษฎีวิจารณ์ศิลปะ

 วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบงานทศั นศิลปใ์ นรูปแบบตะวันออกและรปู แบบตะวนั ตก เขา้ ใจอิทธิพลของ
มรดกทางวัฒนธรรมภูมปิ ัญญาระหว่างประเทศท่ีมีผลตอ่ การสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ในสงั คม

 รูแ้ ละเขา้ ใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรแี ต่ละประเภท และจาแนกรูปแบบ ของวงดนตรที ้งั ไทย
และสากล เข้าใจอทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมตอ่ การสร้างสรรคด์ นตรี เปรยี บเทียบอารมณ์และความรูส้ กึ ทีไ่ ดร้ บั จาก
ดนตรที ่มี าจากวฒั นธรรมตา่ งกัน อา่ น เขยี น โนต้ ดนตรีไทยและสากล ในอตั ราจังหวะต่าง ๆ มที กั ษะในการรอ้ ง
เพลงหรือเล่นดนตรเี ด่ยี วและรวมวงโดยเน้นเทคนคิ การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สาหรับ
ประเมินคุณภาพการประพันธ์ การเลน่ ดนตรขี องตนเองและผูอ้ ืน่ ได้อยา่ งเหมาะสม สามารถนาดนตรไี ประยกุ ต์ใช้
ในงานอืน่ ๆ

 วิเคราะห์ เปรยี บเทียบรปู แบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวฒั นธรรมตา่ ง ๆ เข้าใจบทบาท
ของดนตรที สี่ ะทอ้ นแนวความคิดและค่านิยมของคนในสงั คม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีในวฒั นธรรมต่าง ๆ
สร้างแนวทางและมีสว่ นร่วมในการส่งเสรมิ และอนุรกั ษด์ นตรี

 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศลิ ป์เป็นคู่ และเป็นหมู่
สรา้ งสรรคล์ ะครส้นั ในรปู แบบท่ีช่ืนชอบ สามารถวิเคราะห์แกน่ ของการแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครทตี่ ้องการสอ่ื
ความหมายในการแสดง อทิ ธิพลของเคร่ืองแตง่ กาย แสง สี เสียง ฉาก อปุ กรณ์ และสถานที่ท่ีมีผลต่อการแสดง
วจิ ารณก์ ารแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ในการประเมนิ การแสดง และสามารถ
วิเคราะหท์ า่ ทางการเคลอ่ื นไหวของผู้คนในชวี ิตประจาวัน และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแสดง

 เขา้ ใจวิวัฒนาการของนาฏศลิ ปแ์ ละการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสาคญั ในวงการ
นาฏศลิ ปแ์ ละการละครของประเทศไทยในยคุ สมัยตา่ ง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนาการแสดงไปใชใ้ นโอกาส
ต่าง ๆ และเสนอแนวคดิ ในการอนุรกั ษ์นาฏศลิ ปไ์ ทย

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



ตวั ช้ีวดั และสำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

สำระที่ ๑ ทศั นศิลป์
มำตรฐำน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณคา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ช่ื น ช ม แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
ชวี ติ ประจาวัน

ชั้น ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ม.๑ ๑. บรรยายความแตกตา่ งและความ  ความแตกต่างและความคลา้ ยคลงึ กัน
คล้ายคลึงกนั ของงานทศั นศลิ ป์
ของทศั นธาตใุ นงานทศั นศลิ ป์ และส่งิ แวดล้อม
และส่ิงแวดลอ้ มโดยใชค้ วามรูเ้ รื่องทศั นธาตุ

๒. ระบุ และบรรยายหลกั การออกแบบ  ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลนื ความสมดุล
งานทัศนศิลป์ โดยเนน้ ความเป็นเอกภาพ

ความกลมกลืน และความสมดุล

๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเ้ หน็  หลกั การวาดภาพแสดงทัศนียภาพ
ระยะไกลใกล้ เปน็ ๓ มิติ

๔. รวบรวมงานปั้นหรอื ส่ือผสมมาสรา้ ง  เอกภาพความกลมกลนื ของเรื่องราวในงานปั้น
เปน็ เร่อื งราว ๓ มิตโิ ดยเนน้ ความเปน็ เอกภาพ หรอื งานส่ือผสม
ความกลมกลืน และการสื่อถึงเร่ืองราว

ของงาน

๕. ออกแบบรูปภาพ สญั ลกั ษณ์  การออกแบบรูปภาพ สญั ลกั ษณ์

หรอื กราฟิกอืน่ ๆ ในการนาเสนอ หรืองานกราฟกิ

ความคิดและขอ้ มลู

๖. ประเมนิ งานทัศนศิลป์ และบรรยาย  การประเมินงานทัศนศิลป์
ถึงวธิ กี ารปรับปรงุ งานของตนเองและ

ผู้อน่ื โดยใชเ้ กณฑ์ทกี่ าหนดให้

ช้ัน ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง

ม.๒ ๑. อภิปรายเกย่ี วกบั ทัศนธาตใุ นด้านรปู แบบ  รปู แบบของทัศนธาตุและแนวคดิ ในงาน
และแนวคดิ ของงานทัศนศลิ ป์ทีเ่ ลือกมา ทศั นศิลป์

๒. บรรยายเก่ยี วกับความเหมือนและ  ความเหมือนและความแตกตา่ งของรปู แบบ
ความแตกตา่ งของรูปแบบการใช้วสั ดุ การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในงานทศั นศิลป์
อปุ กรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศิลปิน ของศิลปิน

๓. วาดภาพด้วยเทคนคิ ทห่ี ลากหลาย  เทคนคิ ในการวาดภาพส่อื ความหมาย
ในการสอ่ื ความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ

๔. สรา้ งเกณฑ์ในการประเมนิ  การประเมนิ และวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์

และวจิ ารณง์ านทัศนศิลป์

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



๕. นาผลการวจิ ารณ์ไปปรับปรงุ แก้ไข  การพัฒนางานทัศนศิลป์
และพัฒนางาน
 การจดั ทาแฟม้ สะสมงานทศั นศลิ ป์

๖. วาดภาพแสดงบุคลกิ ลักษณะ  การวาดภาพถ่ายทอดบคุ ลกิ ลักษณะ

ของตัวละคร ของตัวละคร

๗. บรรยายวิธีการใชง้ านทศั นศิลป์  งานทัศนศิลปใ์ นการโฆษณา
ในการโฆษณาเพื่อโน้มนา้ วใจ

และนาเสนอตัวอย่างประกอบ

ม.๓ ๑. บรรยายส่งิ แวดลอ้ ม และงานทศั นศลิ ป์  ทศั นธาตุ หลักการออกแบบในส่ิงแวดล้อม
ทเี่ ลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทศั นธาตุ และงานทัศนศิลป์
และหลักการออกแบบ

๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วธิ กี าร  เทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงาน
ของศลิ ปินในการสรา้ งงาน ทศั นศิลป์ ทศั นศลิ ป์

๓. วเิ คราะห์ และบรรยายวธิ กี ารใช้ ทศั น  วธิ ีการใช้ทศั นธาตแุ ละหลักการออกแบบใน
ธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้าง การสรา้ งงานทศั นศลิ ป์
งานทศั นศิลปข์ องตนเอง
ให้มคี ุณภาพ

๔. มที ักษะในการสร้างงานทศั นศลิ ป์  การสรา้ งงานทศั นศลิ ปท์ ั้งไทยและสากล
อยา่ งน้อย ๓ ประเภท

ชั้น ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ม.๓ ๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดตุ ่าง ๆ  การใชห้ ลกั การออกแบบในการสรา้ งงาน
ในการสร้างงานทัศนศลิ ป์โดยใชห้ ลักการ ส่อื ผสม
ออกแบบ

๖. สร้างงานทศั นศิลป์ ทงั้ ๒ มติ ิ และ  การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มติ ิ และ ๓ มิติ
๓ มติ ิ เพ่ือถา่ ยทอดประสบการณ์และ เพ่อื ถา่ ยทอดประสบการณ์ และจนิ ตนาการ
จินตนาการ

๗. สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ส่ือ  การประยุกต์ใช้ทศั นธาตุและหลักการ

ความหมายเป็นเร่ืองราว โดยประยกุ ต์ใช้ ออกแบบสรา้ งงานทศั นศิลป์
ทัศนธาตุ และหลกั การออกแบบ

๘. วเิ คราะหแ์ ละอภิปรายรปู แบบ เนื้อหา  การวิเคราะห์รปู แบบ เนอื้ หา และคุณค่า
และคณุ คา่ ในงานทศั นศิลป์ ของ ในงานทศั นศิลป์
ตนเอง และผอู้ ืน่ หรือของศิลปิน

๙. สรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์เพ่อื บรรยาย  การใช้เทคนคิ วิธีการท่หี ลากหลาย
เหตุการณต์ ่าง ๆ โดยใช้เทคนิค
สรา้ งงานทัศนศิลปเ์ พื่อสอ่ื ความหมาย
ทห่ี ลากหลาย

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ โรงเรยี นทุง่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐

๑๐. ระบอุ าชพี ทีเ่ กยี่ วข้องกบั งาน  การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์
ทศั นศลิ ปแ์ ละทกั ษะที่จาเป็นในการ
ประกอบอาชีพนัน้ ๆ  การจัดนทิ รรศการ

๑๑. เลือกงานทศั นศิลปโ์ ดยใชเ้ กณฑ์  ทศั นธาตแุ ละหลักการออกแบบ
ที่กาหนดขึน้ อย่างเหมาะสม และนาไป
จดั นิทรรศการ  ศพั ทท์ างทัศนศลิ ป์
 วสั ดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศลิ ปิน
ม . ๔ - ๑. วเิ คราะหก์ ารใชท้ ัศนธาตุ และ ในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
๖ หลักการออกแบบในการสือ่ ความหมาย

ในรูปแบบตา่ ง ๆ

๒. บรรยายจดุ ประสงค์และเนอื้ หาของ
งานทศั นศิลป์ โดยใช้ศัพทท์ างทศั นศลิ ป์

๓. วิเคราะหก์ ารเลือกใชว้ ัสดุอุปกรณ์
และเทคนคิ ของศิลปนิ ในการแสดงออก
ทางทัศนศิลป์

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ม . ๔ - ๔. มที กั ษะและเทคนิคในการใชว้ ัสดุ  เทคนิค วสั ดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการ
๖ อปุ กรณ์ และกระบวนการท่สี งู ขึน้
สรา้ งงานทศั นศิลป์
ในการสร้างงานทศั นศลิ ป์

๕. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยี  หลักการออกแบบและการจดั องค์ประกอบ
ต่าง ๆ โดยเนน้ หลกั การออกแบบและ ศิลปด์ ว้ ยเทคโนโลยี
การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์

๖. ออกแบบงานทศั นศิลป์ได้เหมาะกบั  การออกแบบงานทัศนศลิ ป์
โอกาสและสถานที่

๗. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายจดุ มุ่งหมาย  จดุ ม่งุ หมายของศลิ ปนิ ในการเลอื กใชว้ ัสดุ
ของศลิ ปินในการเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ อุปกรณ์ เทคนคิ และเนือ้ หา ในการสร้างงาน
เทคนิคและเนอ้ื หา เพือ่ สร้างสรรค์งาน ทัศนศลิ ป์
ทศั นศิลป์

๘. ประเมนิ และวจิ ารณง์ านทศั นศิลป์  ทฤษฎกี ารวิจารณ์ศิลปะ
โดยใช้ทฤษฎกี ารวิจารณ์ศลิ ปะ

๙. จัดกลุ่มงานทัศนศิลปเ์ พื่อสะท้อน  การจัดทาแฟม้ สะสมงานทัศนศลิ ป์
พฒั นาการและความก้าวหนา้ ของตนเอง

๑๐. สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลปไ์ ทย  การสรา้ งงานทัศนศิลป์จากแนวคิดและ
สากล โดยศกึ ษาจากแนวคิด วธิ กี ารของศิลปิน
และวิธกี าร สรา้ งงานของศลิ ปนิ

ท่ีตนช่นื ชอบ

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑

๑๑. วาดภาพ ระบายสีเป็นภาพ  การวาดภาพล้อเลียนหรอื ภาพการต์ ูน

ล้อเลียน หรือภาพการต์ นู

เพ่อื แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสภาพ

สังคมในปจั จุบนั

สำระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์
มำตรฐำน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่

งานทศั นศลิ ป์ทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล

ชั้น ตัวช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับลกั ษณะ รูปแบบ  ลกั ษณะ รปู แบบงานทัศนศลิ ป์ของชาติ
งานทศั นศิลปข์ องชาติและของทอ้ งถ่ิน และทอ้ งถิ่น
ตนเองจากอดตี จนถงึ ปัจจุบนั

๒. ระบุ และเปรยี บเทยี บงานทัศนศลิ ป์  งานทศั นศลิ ปภ์ าคต่าง ๆ ในประเทศไทย
ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย

๓. เปรยี บเทียบความแตกต่างของ  ความแตกตา่ งของงานทัศนศลิ ป์

จดุ ประสงคใ์ นการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ในวฒั นธรรมไทยและสากล
ของวัฒนธรรมไทยและสากล

ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกยี่ วกับวัฒนธรรมตา่ ง ๆ  วฒั นธรรมทส่ี ะท้อนในงานทัศนศลิ ป์
ทส่ี ะทอ้ นถงึ งานทศั นศิลป์ในปจั จุบัน
ปัจจบุ ัน

๒. บรรยายถงึ การเปลย่ี นแปลงของ  งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย

งานทศั นศลิ ปข์ องไทยในแต่ละยคุ สมยั โดย

เน้นถงึ แนวคิดและเนอ้ื หาของงาน

๓. เปรยี บเทียบแนวคดิ ในการออกแบบ  การออกแบบงานทัศนศลิ ป์ในวัฒนธรรม
งานทศั นศลิ ปท์ ม่ี าจาก วฒั นธรรมไทยและ ไทยและสากล
สากล

ม.๓ ๑. ศกึ ษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทศั นศิลป์  งานทศั นศิลป์กบั การสะท้อนคณุ ค่า
ท่สี ะท้อนคณุ ค่าของวัฒนธรรม
ของวัฒนธรรม

๒. เปรียบเทยี บความแตกต่างของ  ความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ในแต่ละ
งานทัศนศิลปใ์ นแต่ละยุคสมัย ยุคสมัยของวฒั นธรรมไทยและสากล

ของวัฒนธรรมไทยและสากล

ม . ๔ - ๑. วเิ คราะห์ และเปรียบเทยี บงานทัศนศิลป์  งานทัศนศลิ ป์รูปแบบตะวนั ออกและ
๖ ในรูปแบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก ตะวนั ตก

๒. ระบงุ านทัศนศิลป์ของศิลปนิ ทมี่ ีชอื่ เสียง  งานทัศนศิลป์ของศิลปินท่มี ีช่อื เสยี ง
และบรรยายผลตอบรับของสงั คม

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒

ชัน้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง

ม.๔- ๓. อภปิ รายเกย่ี วกับอทิ ธิพลของ  อทิ ธิพลของวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศ
๖ วฒั นธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่อ ที่มีผลต่องานทศั นศิลป์

งานทัศนศลิ ปใ์ นสงั คม

สำระท่ี ๒ ดนตรี
มำตรฐำน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดต่อดนตรอี ย่างอสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจาวัน

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ม.๑ ๑. อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย และโนต้ สากล  เครือ่ งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

- โน้ตบทเพลงไทย อัตราจงั หวะสองชั้น

- โนต้ สากล ในกุญแจซอลและฟา

ในบนั ไดเสียง C Major

๒. เปรียบเทยี บเสียงร้องและเสยี ง  เสียงรอ้ งและเสยี งของเครือ่ งดนตรี
ของเคร่ืองดนตรที ีม่ าจากวัฒนธรรม ในบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ

ทีต่ ่างกนั - วธิ ีการขบั ร้อง

- เคร่อื งดนตรที ใ่ี ช้

๓. ร้องเพลงและใชเ้ ครือ่ งดนตรบี รรเลง  การรอ้ งและการบรรเลงเครอื่ งดนตรี
ประกอบการรอ้ งเพลงดว้ ยบทเพลง
ที่หลากหลายรปู แบบ ประกอบการรอ้ ง
- บทเพลงพืน้ บ้าน บทเพลงปลกุ ใจ
๔. จดั ประเภทของวงดนตรไี ทยและ - บทเพลงไทยเดิม
วงดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ - บทเพลงประสานเสยี ง ๒ แนว
- บทเพลงรูปแบบ ABA
๕. แสดงความคิดเห็นท่มี ตี ่ออารมณข์ อง - บทเพลงประกอบการเต้นรา
บทเพลงทมี่ คี วามเร็วของจังหวะ
และความดัง - เบา แตกตา่ งกนั  วงดนตรีพื้นเมือง
๖. เปรยี บเทียบอารมณ์ ความรูส้ ึกในการ
ฟงั ดนตรีแตล่ ะประเภท  วงดนตรีไทย

 วงดนตรสี ากล

 การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง
- จังหวะกบั อารมณ์เพลง
- ความดัง-เบากบั อารมณเ์ พลง
- ความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓

๗. นาเสนอตวั อยา่ งเพลงท่ีตนเองชื่นชอบ  การนาเสนอบทเพลงทต่ี นสนใจ
และอภปิ รายลกั ษณะเดน่ ท่ีทาใหง้ านนั้น
น่าช่ืนชม

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ม.๑ ๘. ใชเ้ กณฑ์สาหรบั ประเมินคณุ ภาพ  การประเมินคุณภาพของบทเพลง

งานดนตรหี รือเพลงท่ฟี งั - คณุ ภาพด้านเนื้อหา

- คณุ ภาพด้านเสียง

- คุณภาพดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี

๙. ใชแ้ ละบารุงรักษาเครอ่ื งดนตรี  การใช้และบารุงรักษาเครื่องดนตรีของตน

อย่างระมดั ระวงั และรบั ผดิ ชอบ

ม.๒ ๑. เปรยี บเทียบการใช้องคป์ ระกอบดนตรี  องคป์ ระกอบของดนตรจี ากแหลง่

ทีม่ าจากวัฒนธรรมต่างกนั วัฒนธรรมตา่ ง ๆ

๒. อา่ น เขียนร้องโนต้ ไทย และโนต้ สากลท่ี  เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

มีเครือ่ งหมายแปลงเสียง - โน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น

- โนต้ สากล (เคร่อื งหมายแปลงเสียง)

๓. ระบปุ จั จยั สาคญั ทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการ  ปัจจัยในการสรา้ งสรรค์บทเพลง

สรา้ งสรรค์งานดนตรี - จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์บทเพลง

- การถ่ายทอดเรอื่ งราวความคิด

ในบทเพลง

๔. รอ้ งเพลง และเล่นดนตรีเด่ียวและรวมวง  เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี

- การร้องและบรรเลงเดีย่ ว

- การร้องและบรรเลงเปน็ วง

๕. บรรยายอารมณข์ องเพลงและความรสู้ กึ ที่  การบรรยายอารมณ์และความร้สู กึ ในบทเพลง

มีตอ่ บทเพลงที่ฟัง

๖. ประเมิน พัฒนาการทกั ษะทางดนตรี  การประเมินความสามารถทางดนตรี

ของตนเอง หลงั จากการฝกึ ปฏบิ ัติ - ความถูกต้องในการบรรเลง

- ความแมน่ ยาในการอา่ นเครอ่ื งหมาย

และสญั ลักษณ์

- การควบคุมคุณภาพเสียงในการร้อง

และบรรเลง

๗. ระบุงานอาชพี ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกบั  อาชพี ทางดา้ นดนตรี
ดนตรแี ละบทบาทของดนตรใี นธรุ กิจบนั เทงิ  บทบาทของดนตรใี นธุรกจิ บันเทิง

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๔

ชน้ั ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง
ม.๓ ๑. เปรียบเทยี บองค์ประกอบท่ีใช้ในงาน
 การเปรียบเทยี บองคป์ ระกอบในงาน
ดนตรแี ละงานศิลปะอืน่ ศลิ ปะ

๒. รอ้ งเพลง เล่นดนตรเี ด่ยี ว และรวมวง - การใช้องค์ประกอบในการสรา้ งสรรค์
โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การ งานดนตรีและศลิ ปะแขนงอน่ื
แสดงออก และคุณภาพสยี ง
๓. แตง่ เพลงส้ัน ๆ จังหวะงา่ ย ๆ - เทคนิคท่ใี ช้ในการสรา้ งสรรค์งาน
ดนตรีและศิลปะแขนงอืน่
๔. อธบิ ายเหตุผลในการเลือกใช้
องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์  เทคนคิ และการแสดงออกในการขบั รอ้ ง
งานดนตรีของตนเอง และบรรเลงดนตรเี ดีย่ วและรวมวง

๕. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง  อตั ราจงั หวะ ๒ และ ๔
งานดนตรขี องตนเองและผอู้ ื่น ๔๔

๖. อธบิ ายเกี่ยวกับอทิ ธพิ ลของดนตรี  การประพนั ธ์เพลงในอัตราจงั หวะ ๒ และ ๔
ทม่ี ีตอ่ บคุ คลและสังคม
๔๔
 การเลอื กใช้องคป์ ระกอบในการสร้างสรรค์
บทเพลง

- การเลือกจงั หวะเพือ่ สร้างสรรค์
บทเพลง

- การเรยี บเรยี งทานองเพลง

 การเปรยี บเทียบความแตกต่างของบทเพลง
- สาเนียง
- อตั ราจังหวะ
- รปู แบบบทเพลง
- การประสานเสยี ง
- เคร่อื งดนตรีที่บรรเลง

 อทิ ธพิ ลของดนตรี
- อทิ ธิพลของดนตรีตอ่ บุคคล
- อิทธพิ ลของดนตรตี ่อสังคม

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ม.๓ ๗. นาเสนอหรอื จัดการแสดงดนตรี  การจดั การแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ

ทเ่ี หมาะสมโดยการบรู ณาการกบั สาระ การ - การเลือกวงดนตรี
เรยี นรูอ้ ่นื ในกลุ่มศิลปะ
- การเลือกบทเพลง

- การเลือกและจดั เตรยี มสถานท่ี

- การเตรยี มบุคลากร

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๕

- การเตรยี มอุปกรณเ์ ครื่องมอื
- การจัดรายการแสดง

ม.๔-๖ ๑. เปรียบเทยี บรูปแบบของบทเพลงและ วง  การจัดวงดนตรี

ดนตรแี ตล่ ะประเภท - การใชเ้ ครอื่ งดนตรีในวงดนตรี

ประเภทต่างๆ

- บทเพลงทบ่ี รรเลงโดยวงดนตรี

ประเภทตา่ งๆ

๒. จาแนกประเภทและรปู แบบของ  ประเภทของวงดนตรี

วงดนตรที ้งั ไทยและสากล - ประเภทของวงดนตรไี ทย

- ประเภทของวงดนตรสี ากล

๓. อธบิ ายเหตุผลท่ีคนต่างวัฒนธรรม  ปัจจยั ในการสรา้ งสรรค์ผลงานดนตรี

สร้างสรรคง์ านดนตรีแตกต่างกนั ในแต่ละวฒั นธรรม

- ความเช่อื กับการสรา้ งสรรค์งาน

ดนตรี

- ศาสนากับการสร้างสรรคง์ านดนตรี

- วถิ ีชวี ิตกับการสร้างสรรคง์ านดนตรี

- เทคโนโลยีกับการสร้างสรรคง์ าน

ดนตรี

๔. อา่ น เขยี น โน้ตดนตรีไทยและสากล  เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี

ในอัตราจงั หวะต่าง ๆ - เครื่องหมายกาหนดอัตราจงั หวะ

- เครือ่ งหมายกาหนดบันไดเสียง

 โน้ตบทเพลงไทยอตั ราจงั หวะ ๒ ช้นั และ

๓ ชัน้

ชนั้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง
ม.๔-๖ ๕. ร้องเพลง หรือเลน่ ดนตรีเดย่ี วและ
 เทคนิค และ การถ่ายทอดอารมณ์เพลง
รวมวงโดยเนน้ เทคนคิ การแสดงออก ดว้ ยการร้อง บรรเลงเครอ่ื งดนตรีเดยี่ วและ
และคณุ ภาพของการแสดง รวมวง
๖. สร้างเกณฑ์สาหรับประเมนิ คุณภาพ
การประพันธแ์ ละการเล่นดนตรี  เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลงานดนตรี
ของตนเองและผ้อู ่ืนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - คุณภาพของผลงานทางดนตรี
๗. เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึก - คณุ ค่าของผลงานทางดนตรี
ทไ่ี ดร้ บั จากงานดนตรที ่มี าจากวฒั นธรรม
ต่างกัน  การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของงาน
ดนตรจี ากแตล่ ะวฒั นธรรม

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๖

๘. นาดนตรีไปประยุกตใ์ ช้ในงานอนื่ ๆ  ดนตรีกับการผ่อนคลาย
 ดนตรกี บั การพัฒนามนุษย์
 ดนตรกี บั การประชาสมั พนั ธ์
 ดนตรีกบั การบาบัดรักษา
 ดนตรีกบั ธุรกิจ
 ดนตรกี ับการศกึ ษา

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๗

สำระที่ ๒ ดนตรี

มำตรฐำน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

ชนั้ ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง
ม.๑ ๑. อธิบายบทบาทความสมั พันธ์และ  บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี

อทิ ธิพลของดนตรีที่มีตอ่ สังคมไทย - บทบาทดนตรีในสังคม
- อิทธพิ ลของดนตรีในสงั คม
๒. ระบคุ วามหลากหลายขององค์ประกอบ  องค์ประกอบของดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม
ดนตรีในวฒั นธรรมต่างกัน
ม.๒ ๑. บรรยายบทบาท และอทิ ธพิ ลของดนตรี  ดนตรีในวัฒนธรรมต่างประเทศ
ในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ - บทบาทของดนตรีในวฒั นธรรม
- อิทธิพลของดนตรีในวฒั นธรรม

๒. บรรยายอทิ ธิพลของวัฒนธรรม  เหตกุ ารณ์ประวตั ิศาสตร์กับการเปลย่ี นแปลง

และเหตกุ ารณ์ในประวตั ศิ าสตร์ทม่ี ีตอ่ ทางดนตรใี นประเทศไทย
รูปแบบของดนตรใี นประเทศไทย - การเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งกับ

งานดนตรี

- การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยกี บั งาน

ดนตรี

ม.๓ ๑. บรรยายววิ ัฒนาการของดนตรีแต่ละ ยคุ  ประวตั ดิ นตรีไทยยุคสมัยตา่ ง ๆ
สมัย  ประวัติดนตรีตะวันตกยคุ สมัยตา่ ง ๆ

๒. อภปิ รายลักษณะเด่นท่ีทาให้งานดนตรี  ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ
นั้นได้รบั การยอมรับ

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง
ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหร์ ปู แบบของดนตรีไทยและ  รปู แบบบทเพลงและวงดนตรไี ทยแต่ละยุค
สมยั
ดนตรสี ากลในยุคสมยั ต่าง ๆ  รูปแบบบทเพลงและวงดนตรีสากลแต่ละ
ยคุ สมัย
๒. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ  ประวัตสิ งั คตี กวี
นักดนตรใี นวัฒนธรรมตา่ ง ๆ
๓. เปรียบเทียบลักษณะเดน่ ของดนตรี  ลักษณะเดน่ ของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ในวัฒนธรรมตา่ งๆ - เครือ่ งดนตรี
- วงดนตรี
- ภาษา เนือ้ รอ้ ง
- สาเนียง

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๘

- องค์ประกอบบทเพลง

๔. อธบิ ายบทบาทของดนตรีในการสะทอ้ น  บทบาทดนตรีในการสะท้อนสงั คม

แนวความคดิ และค่านิยม - คา่ นยิ มของสังคมในผลงานดนตรี

ท่เี ปลี่ยนไปของคนในสังคม - ความเชอื่ ของสังคมในงานดนตรี

๕. นาเสนอแนวทางในการสง่ เสริมและ  แนวทางและวธิ กี ารในการส่งเสริมอนรุ ักษ์
อนรุ ักษด์ นตรใี นฐานะมรดกของชาติ
ดนตรีไทย

สำระที่ ๓ นำฏศลิ ป์

มำตรฐำน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์
คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจาวัน

ชน้ั ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ม.๑ ๑. อธิบายอิทธพิ ลของนกั แสดงชื่อดงั  การปฏบิ ตั ขิ องผู้แสดงและผ้ชู ม
ทม่ี ีผลตอ่ การโนม้ นา้ วอารมณ์หรอื ความคิด  ประวตั นิ ักแสดงที่ชนื่ ชอบ
ของผู้ชม
 การพัฒนารปู แบบของการแสดง

 อทิ ธพิ ลของนักแสดงท่มี ีผลตอ่ พฤตกิ รรม

ของผู้ชม

๒. ใชน้ าฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร  นาฏยศัพทห์ รือศพั ทท์ างการละคร
ในการแสดง
ในการแสดง

 ภาษาท่า และการตบี ท

 ทา่ ทางเคล่ือนไหวทีแ่ สดงสอ่ื ทางอารมณ์

 ระบาเบ็ดเตลด็

 ราวงมาตรฐาน

๓. แสดงนาฏศิลป์และละครในรปู แบบง่าย ๆ  รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์

- นาฏศลิ ป์

- นาฏศลิ ป์พนื้ บา้ น

- นาฏศิลปน์ านาชาติ

๔. ใชท้ ักษะการทางานเป็นกล่มุ  บทบาทและหน้าท่ีของฝ่ายต่าง ๆ ในการ
ในกระบวนการผลิตการแสดง จดั การแสดง

 การสรา้ งสรรค์กจิ กรรมการแสดงท่ีสนใจ

โดยแบง่ ฝ่ายและหนา้ ทีใ่ ห้ชัดเจน

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรียนท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๙

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ม.๑ ๕. ใช้เกณฑง์ ่าย ๆ ท่กี าหนดให้ในการ  หลกั ในการชมการแสดง
พิจารณาคุณภาพการแสดงท่ีชม

โดยเน้นเรือ่ งการใช้เสยี งการแสดงท่า และ

การเคล่ือนไหว

ม.๒ ๑. อธิบายการบรู ณาการศิลปะแขนงอ่ืน ๆ  ศลิ ปะแขนงอ่ืน ๆ กบั การแสดง
กับการแสดง
- แสง สี เสยี ง

- ฉาก

- เครอื่ งแตง่ กาย

- อปุ กรณ์

๒. สรา้ งสรรค์การแสดงโดยใชอ้ งค์ประกอบ  หลักและวิธีการสรา้ งสรรคก์ ารแสดง โดย
นาฏศิลปแ์ ละการละคร
ใช้องค์ประกอบนาฏศลิ ป์และการละคร

๓. วเิ คราะห์การแสดงของตนเองและผูอ้ น่ื  หลักและวธิ ีการวเิ คราะห์การแสดง
โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ างการละคร ที่
เหมาะสม

๔. เสนอข้อคิดเหน็ ในการปรับปรุง  วธิ กี ารวเิ คราะห์ วจิ ารณก์ ารแสดง
การแสดง นาฏศิลป์ และการละคร

๕. เชือ่ มโยงการเรียนรรู้ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์  ราวงมาตรฐาน
และการละครกบั สาระการเรยี นรู้อ่นื ๆ
 ความสมั พนั ธ์ของนาฏศลิ ป์หรอื
การละครกับสาระการเรียนรู้อนื่ ๆ

ม.๓ ๑. ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศพั ท์  องค์ประกอบของบทละคร
ทางการละคร
- โครงเรื่อง

- ตวั ละครและการวางลกั ษณะนิสัย

ของตวั ละคร

- ความคิดหรอื แกน่ ของเรอื่ ง

- บทสนทนา

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง

ม.๓ ๒. ใช้นาฏยศัพทห์ รอื ศพั ท์ทางการละคร  ภาษาทา่ หรอื ภาษาทางนาฏศิลป์
ท่ีเหมาะสมบรรยายเปรยี บเทยี บการแสดง
- ภาษาทา่ ท่ีมาจากธรรมชาติ
อากัปกิรยิ าของผคู้ นในชีวติ ประจาวันและ
- ภาษาท่าท่มี าจากการประดิษฐ์
ในการแสดง
- ราวงมาตรฐาน

๓. มีทกั ษะในการใช้ความคิดในการพฒั นา  รปู แบบการแสดง

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๐

รูปแบบการแสดง - การแสดงเป็นหมู่
- การแสดงเดีย่ ว
๔. มีทักษะในการแปลความและ - การแสดงละคร
การสอ่ื สารผ่านการแสดง - การแสดงเปน็ ชดุ เปน็ ตอน

๕. วจิ ารณ์เปรยี บเทียบงานนาฏศิลป์  การประดษิ ฐท์ า่ ราและท่าทางประกอบ
ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้ การแสดง
เรอ่ื งองค์ประกอบนาฏศิลป์
- ความหมาย
๖. รว่ มจดั งานการแสดงในบทบาทหน้าท่ี - ความเปน็ มา
ต่าง ๆ - ทา่ ทางท่ีใชใ้ นการประดิษฐ์ท่ารา

๗. นาเสนอแนวคดิ จากเนอ้ื เรื่อง  องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์
ของการแสดงทสี่ ามารถนาไปปรบั ใช้ - จงั หวะทานอง
ในชีวิตประจาวนั - การเคล่อื นไหว
- อารมณแ์ ละความรสู้ กึ
- ภาษาท่า นาฎยศัพท์
- รปู แบบของการแสดง
- การแตง่ กาย

 วธิ ีการเลอื กการแสดง
- ประเภทของงาน
- ขั้นตอน
- ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง

 ละครกับชีวิต

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง

ม.๔- ๑. มที ักษะในการแสดงหลากหลายรปู แบบ  รูปแบบของการแสดง

๖ - ระบา รา ฟ้อน

- การแสดงพืน้ เมอื งภาคต่าง ๆ

- การละครไทย

- การละครสากล

๒. สรา้ งสรรคล์ ะครสน้ั ในรปู แบบ  ละครสร้างสรรค์

ท่ชี นื่ ชอบ - ความเป็นมา

- องคป์ ระกอบของละครสร้างสรรค์

- ละครพูด

o ละครโศกนาฏกรรม

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๑

๓. ใช้ความคดิ ริเร่ิมในการแสดงนาฏศลิ ป์ o ละครสุขนาฏกรรม
เปน็ คู่ และหมู่
o ละครแนวเหมือนจริง
๔. วจิ ารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์
และการละคร o ละครแนวไม่เหมอื นจรงิ
๕. วเิ คราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์
และการละครทีต่ ้องการส่ือความหมาย ใน  การประดิษฐท์ ่าราที่เปน็ คแู่ ละหมู่
การแสดง - ความหมาย
- ประวัติความเป็นมา
๖. บรรยาย และวิเคราะห์ อิทธพิ ลของ - ท่าทางที่ใช้ในการประดษิ ฐ์ท่ารา
เครอ่ื งแตง่ กาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์ - เพลงทใ่ี ช้
และสถานท่ีที่มีผลต่อการแสดง
 หลกั การสร้างสรรคแ์ ละการวจิ ารณ์

 หลกั การชมการแสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร

 ประวตั ิความเปน็ มาของนาฏศิลป์

และการละคร
- ววิ ฒั นาการ
- ความงามและคุณค่า

 เทคนคิ การจัดการแสดง
- แสงสีเสียง
- ฉาก
- อปุ กรณ์
- สถานที่
- เครอื่ งแตง่ กาย

ช้นั ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง
ม . ๔ - ๗. พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการ
๖ ประเมินการแสดง  การประเมนิ คณุ ภาพของการแสดง
- คณุ ภาพดา้ นการแสดง
๘. วเิ คราะหท์ า่ ทาง และการเคล่ือนไหว - คุณภาพองค์ประกอบการแสดง
ของผู้คนในชีวิตประจาวนั และนามา
ประยกุ ต์ใช้ในการแสดง  การสร้างสรรค์ผลงาน
- การจดั การแสดงในวนั สาคญั
ของโรงเรียน
- ชดุ การแสดงประจาโรงเรยี น

สำระท่ี ๓ นำฏศลิ ป์ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม
มำตรฐำน ศ ๓.๒ เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลปท์ ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถนิ่
ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๒

ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ม.๑ ๑. ระบุปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการเปลยี่ นแปลง  ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลง

ของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พืน้ บ้าน ละครไทย ของนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พ้นื บา้ น ละครไทย

และละครพืน้ บา้ น และละครพ้ืนบา้ น

๒. บรรยายประเภทของละครไทย  ประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย

ในแตล่ ะยคุ สมยั

ม.๒ ๑. เปรยี บเทียบลักษณะเฉพาะของ  นาฏศิลป์พน้ื เมือง

การแสดงนาฏศลิ ป์จากวัฒนธรรมต่างๆ - ความหมาย

- ทม่ี า

- วฒั นธรรม

- ลกั ษณะเฉพาะ

๒. ระบหุ รือแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์  รปู แบบการแสดงประเภทต่าง ๆ

พืน้ บ้าน ละครไทย ละครพ้นื บ้าน - นาฏศลิ ป์

หรือมหรสพอื่นท่ีเคยนิยมกันในอดีต - นาฏศิลปพ์ ้นื เมือง

- ละครไทย

- ละครพืน้ บ้าน

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ม.๒ ๓. อธบิ ายอิทธิพลของวัฒนธรรมท่ีมีผลต่อ  การละครสมยั ตา่ ง ๆ

เนือ้ หาของละคร

ม.๓ ๑. ออกแบบ และสรา้ งสรรคอ์ ุปกรณ์  การออกแบบและสรา้ งสรรค์อุปกรณ์และ
และเครอ่ื งแตง่ กาย เพอ่ื แสดงนาฏศิลป์และ เครอื่ งแตง่ กายเพอ่ื การแสดงนาฏศิลป์
ละครท่ีมาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ

๒. อธบิ ายความสาคัญและบทบาทของ  ความสาคญั และบทบาทของนาฏศิลป์
นาฏศลิ ปแ์ ละการละครในชวี ติ ประจาวัน และการละครในชวี ิตประจาวนั

๓. แสดงความคิดเห็นในการอนุรกั ษ์  การอนุรกั ษ์นาฏศิลป์
 การแสดงนาฏศลิ ป์ในโอกาสตา่ งๆ
ม.๔- ๑. เปรียบเทียบการนาการแสดงไปใชใ้ น
๖ โอกาสต่าง ๆ

๒. อภปิ รายบทบาทของบคุ คลสาคัญ  บุคคลสาคญั ในวงการนาฏศลิ ป์และ
ในวงการนาฏศิลป์และการละคร การละครของไทยในยคุ สมัยต่าง ๆ

ของประเทศไทยในยคุ สมัยต่างๆ

๓. บรรยายววิ ัฒนาการของนาฏศิลป์และ  วิวฒั นาการของนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
การละครไทย ตัง้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั ไทยต้ังแต่อดตี จนถึงปจั จุบนั

๔. นาเสนอแนวคิดในการอนรุ กั ษ์  การอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
นาฏศิลปไ์ ทย

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๓

อภธิ ำนศัพท์

ทศั นศลิ ป์

โครงสรำ้ งเคล่ือนไหว (mobile)
เป็นงานประตมิ ากรรมที่มโี ครงสรา้ งบอบบางจดั สมดุลดว้ ยเสน้ ลวดแขง็ บาง ๆ ท่ีมวี ัตถรุ ปู รา่ ง รูปทรงต่าง

ๆ ทอ่ี อกแบบเชื่อมติดกับเส้นลวด เป็นเคร่อื งแขวนท่ีเคลื่อนไหวไดด้ ้วยกระแสลมเพียงเบา ๆ

งำนสอื่ ผสม (mixed media)
เปน็ งานออกแบบทางทศั นศลิ ปท์ ป่ี ระกอบดว้ ยหลายสือ่ โดยใชว้ ัสดหุ ลาย ๆ แบบ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ

สร้างความผสมกลมกลืนด้วยการสรา้ งสรรค์

จงั หวะ (rhythm)
เป็นความสัมพันธ์ของทัศนธาตุ เช่น เส้น สี รูปร่าง รูปทรง น้าหนักในลักษณะของการซ้ากัน สลับไปมา

หรอื ลกั ษณะล่ืนไหล เคล่ือนไหวไมข่ าดระยะจังหวะทม่ี ีความสัมพนั ธ์ต่อเนอ่ื งกันจะช่วยเนน้ ใหเ้ กิดความเด่น หรือ
ทางดนตรีก็คือการซ้ากันของเสียงในช่วงเท่ากันหรือแตกต่างกันจังหวะให้ความรู้สึกหรือความพอใจทาง
สุนทรียภาพในงานศิลปะ

ทศั นธำตุ (visual elements)
ส่ิงที่เป็นปัจจัยของการมองเห็นเป็นส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นภาพ ได้แก่ เส้น น้าหนัก ที่ว่าง

รปู ร่าง รปู ทรง สี และลกั ษณะพืน้ ผิว

ทัศนยี ภำพ (perspective)
วิธเี ขยี นภาพของวตั ถุใหม้ องเห็นวา่ มรี ะยะใกล้ไกล

ทัศนศิลป์ (visual art)
ศิลปะทีร่ บั รไู้ ดด้ ้วยการเหน็ ไดแ้ ก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และงานสรา้ งสรรค์อ่ืน ๆ ที่รบั รู้ด้วย

การเห็น

ภำพปะติด (collage)
เปน็ ภาพท่ีทาขน้ึ ด้วยการใชว้ ัสดุต่าง ๆ เชน่ กระดาษ ผา้ เศษวสั ดุธรรมชาติ ฯลฯ ปะตดิ ลงบนแผ่น

ภาพด้วยกาวหรอื แปง้ เปยี ก

วงสีธรรมชำติ (color circle)
คือวงกลมซงึ่ จดั ระบบสใี นแสงสรี ้งุ ที่เรียงกนั อยู่ในธรรมชาติ สวี รรณะอนุ่ จะอยู่ในซีกทม่ี ีสแี ดงและเหลือง

ส่วนสีวรรณะเยน็ อยใู่ นซกี ทม่ี สี ีเขียว และสมี ่วง สคี ู่ตรงขา้ มกันจะอยตู่ รงกันข้ามในวงสี

วรรณะสี (tone) สี
ลกั ษณะของสีทแ่ี บง่ ตามความรสู้ กึ อุ่นหรอื เยน็ เชน่ สีแดง อยใู่ นวรรณะอ่นุ (warm tone)

เขียวอยใู่ นวรรณะเย็น (cool tone)

สคี ่ตู รงขำ้ ม (complementary colors)

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๔

สีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงสีธรรมชาติเป็นคู่สีกัน คือ สีคู่ที่ตัดกันหรือต่างจากกันมากท่ีสุด เช่น สีแดง
กับสีเขยี ว สีเหลืองกับสมี ่วง สีนา้ เงินกบั สสี ม้
องคป์ ระกอบศิลป์ (composition of art)

วิชาหรือทฤษฎที ่ีเกี่ยวกบั การสร้างรูปทรงในงานทัศนศิลป์

ดนตรี

กำรดำเนินทำนอง (melodic progression)
๑. การกา้ วเดนิ ไปขา้ งหน้าของทานอง

๒. กระบวนการดาเนินคอร์ดซ่งึ แนวทานองขยับทลี ะขน้ั

ควำมเข้มของเสียง (dynamic)
เสียงเบา เสียงดงั เสยี งทีม่ ีความเขม้ เสยี งมากก็ยิ่งดงั มากเหมอื นกบั loudness

ดน้ สด

เป็นการเล่นดนตรีหรือขับร้อง โดยไม่ได้เตรียมซ้อมตามโน้ตเพลงมากอ่ น ผู้เล่นมีอิสระในการกาหนดวธิ ี

ปฏิบัติเคร่ืองดนตรีและขับร้อง บนพ้ืนฐานของเนื้อหาดนตรีที่เหมาะสม เช่น การบรรเลง ในอัตรา

ความเรว็ ท่ยี ืดหยนุ่ การบรรเลงดว้ ยการเพิม่ หรอื ตดั โน้ตบางตัว

บทเพลงไลเ่ ลยี น (canon)

แคนอน มาจากภาษากรีก แปลว่า กฎเกณฑ์ หมายถงึ รปู แบบบทเพลงทม่ี ีหลายแนวหรอื ดนตรีหลายแนว

แต่ละแนวมีทานองเหมือนกัน แต่เร่ิมไม่พร้อมกันแต่ละแนว จึงมีทานองที่ไล่เลียนกันไปเป็นระยะเวลายาวกว่า

การเลยี นทว่ั ไป โดยทวั่ ไปไม่ควรต่ากว่า ๓ หอ้ ง ระยะข้ันคูร่ ะหวา่ งสองแนว ท่เี ลียนกันจะหา่ งกนั เป็น

ระยะเท่าใดก็ได้ เช่น แคนอนคู่สอง หมายถึง แคนอนท่ีแนวทั้งสอง เริ่มที่โน้ตห่างกันเป็นระยะคู่ ๕

และรกั ษาระยะคู่ ๕ ไปโดยตลอดถือเปน็ ประเภทของลีลาสอดประสานแนวทานองแบบเลียนทีม่ กี ฎเกณฑเ์ ข้มงวด

ทีส่ ุด

ประโยคเพลง (phrase)

กลุ่มทานอง จังหวะที่เรียบเรียงเชอ่ื มโยงกนั เปน็ หนว่ ยของเพลงทม่ี คี วามคดิ จบสมบูรณ์ในตัวเอง มักลง
ทา้ ยดว้ ยเคเดนซ์ เป็นหนว่ ยสาคัญของเพลง

ประโยคเพลงถำม - ตอบ

เป็นประโยคเพลง ๒ ประโยคที่ตอ่ เน่อื งกันลีลาในการตอบรับ – ส่งล้อ – ล้อเลยี นกนั อยา่ ง

สอดคล้อง เป็นลักษณะคล้ายกันกับบทเพลงรูปแบบ AB แต่เป็นประโยคเพลงส้ัน ๆ ซ่ึงมักจะมีอัตราความเร็ว

เท่ากันระหวา่ ง ๒ ประโยค และความยาวเท่ากัน เชน่ ประโยคเพลงท่ี ๑ (ถาม) มีความยาว ๒ หอ้ ง

เพลง ประโยคเพลงที่ ๒ (ตอบ) ก็จะมีความยาว ๒ ห้องเพลง ซ่ึงจะมีลีลาต่างกัน แต่สอดรับกันได้

กลมกลืน

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๕

ผลงำนดนตรี

ผลงานทสี่ ร้างสรรคข์ ้ึนมาโดยมีความเก่ียวขอ้ งกบั การนาเสนองานทางดนตรี เชน่ บทเพลง การแสดง
ดนตรี

เพลงทำนองวน (round)
เพลงทปี่ ระกอบดว้ ยทานองอย่างน้อย ๒ แนว ไล่เลียนทานองเดียวกนั แต่ต่างเวลาหรือจงั หวะ สามารถ

ไลเ่ ลียนกันไปได้อย่างตอ่ เนือ่ งจนกลบั มาเร่ิมตน้ ใหม่ได้อีกไมม่ ีวันจบ

รูปรำ่ งทำนอง (melodic contour)
รูปร่างการขึ้นลงของทานอง ทานองท่ีสมดุลจะมีทิศทางการข้นึ ลงทเี่ หมาะสม

สสี นั ของเสยี ง

ลักษณะเฉพาะของเสียงแต่ละชนิดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะต่างกัน เช่น ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสยี ง
ผ้ชู ายจะมีความทมุ้ ต่าแตกต่างจากสีสนั ของเสียงผู้หญงิ ลักษณะเฉพาะของสีสนั ของเสียง ของเดก็ ผู้ชาย
คนหน่ึงจะมคี วามแตกต่างจากเสยี งเดก็ ผูช้ ายคนอนื่ ๆ

องคป์ ระกอบดนตรี (elements of music)

ส่วนประกอบสาคัญท่ีทาให้เกิดเสียงดนตรี ได้แก่ทานอง จังหวะ เสียงประสาน สีสันของเสียง และเนื้อ
ดนตรี

อัตรำควำมเร็ว (tempo)

ความชา้ ความเร็วของเพลง เช่น อัลเลโกร(allegero) เลนโต (lento)

ABA

สญั ลกั ษณบ์ อกรูปแบบวรรณกรรมดนตรแี บบตรบี ท หรอื เทอรน์ ารี (ternary)

ternary form

สังคตี ลักษณ์สามตอน โครงสร้างของบทเพลงท่ีมสี ่วนสาคญั ขยับทีละข้ันอยู่ ๓ ตอน ตอนแรกและตอนท่ี

๓ คือ ตอน A จะเหมอื นหรอื คล้ายคลงึ กันท้ังในแงข่ องทานองและกุญแจเสียง สว่ นตอนท่ี ๒

คือ ตอน B เปน็ ตอนที่แตกตา่ งออกไป ความสาคัญของสังคตี ลกั ษณ์น้ี คือ การกลับมา ของตอน A ซงึ่

นาทานองของส่วนแรกกลับมาในกุญแจเสียงเดิมเป็นสังคีตลักษณ์ท่ีใช้มากท่ีสุดโดยเฉพาะในเพลงร้อง จึงอาจ

เรยี กวา่ สงั คตี ลกั ษณเ์ พลงร้อง (song form) ก็ได้

นำฏศิลป์

กำรตบี ท
การแสดงท่าราตามบทร้อง บทเจรจาหรือบทพากย์ควรคานึงถึงความหมายของบท แบ่งเป็นการตีบท

ธรรมชาติ และการตบี ทแบบละคร

กำรประดิษฐ์ท่ำ
การนาภาษาทา่ ภาษานาฎศิลป์ หรอื นาฏยศัพท์มาออกแบบ ให้สอดคล้องสมั พนั ธก์ บั จังหวะทานอง

บทเพลง บทร้อง ลีลา ความสวยงาม

นำฏยศพั ท์

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๖

ศัพท์เฉพาะทางนาฎศิลป์ ท่ีใช้เก่ียวกับการเรียกท่ารา กิริยาท่ีแสดงมีส่วนศีรษะใบหน้าและไหล่ ส่วน
แขนและมอื ส่วนของลาตัว ส่วนขาและเท้า
บคุ คลสำคญั ในวงกำรนำฎศิลป์

เป็นผู้เช่ียวชาญทางนาฎศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีสรา้ งผลงาน
ภำษำท่ำ

การแสดงทา่ ทางแทนคาพดู ใช้แสดงกริ ิยาหรอื อิริยาบถ และใช้แสดงถึงอารมณ์ภายใน
ส่วนขำและเทำ้

กิริยาแสดง เชน่ กระทบ ยืดยุบ ประเท้า กระดกเทา้ กระท้งุ จรด ขยับ ซอย วางส้น ยกเทา้ ถัดเท้า
ส่วนแขนและมือ

กริ ิยาท่แี สดง เช่น จีบ ต้งั วง ล่อแกว้ ม้วนมอื สะบัดมือ กรายมือ ส่ายมือ
ส่วนลำตวั

กริ ิยาทแ่ี สดง เชน่ ยกั ตัว โย้ตวั โยกตวั
สว่ นศีรษะใบหน้ำและไหล่

กิริยาท่ีแสดง เชน่ เอยี งศีรษะ เอียงไหล่ กดไหล่ กล่อมไหล่ กลอ่ มหนา้
สง่ิ ทเ่ี คำรพ

ในสาระนาฎศิลป์มีส่ิงที่เคารพสืบทอดมา คือ พ่อแก่ หรือพระพรตฤษี ซ่ึงผู้เรียนจะต้อง แสดงความ
เคารพ เม่ือเรมิ่ เรียนและกอ่ นแสดง

องค์ประกอบนำฎศลิ ป์
จังหวะและทานองการเคล่ือนไหว อารมณ์และความรสู้ ึก ภาษาท่า นาฎยศัพท์ รูปแบบของการแสดง

การแต่งกาย
องคป์ ระกอบละคร

การเลอื กและแต่งบท การเลือกผแู้ สดง การกาหนดบคุ ลิกของผแู้ สดง การพัฒนารูปแบบของการแสดง
การปฏิบตั ติ นของผแู้ สดงและผูช้ ม

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๗

โครงสรำ้ งรำยวิชำ

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษำตอนต้น

วิชำพืน้ ฐำน ศิลปะ 1 2 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศิลปะ 2 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1
ศ21101
ศ21102

ชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี 2

ศ22101 ศลิ ปะ 3 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
2 ช่วั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ
ศ22102 ศลิ ปะ 4

ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 3

ศ23101 ศิลปะ 5 2 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ
2 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ23102 ศลิ ปะ 6

วชิ ำเพ่ิมเตมิ ดนตรี-จิตรกรรม-นาฏศิลป์ 1 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ
ดนตรี-จิตรกรรม-นาฏศลิ ป์ 2 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ศ20201
ศ20202

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๘

โครงสร้ำงรำยวิชำ

ระดับชัน้ มัธยมศึกษำตอนปลำย

วิชำพื้นฐำน ศลิ ปะ 1 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ 0.5 หน่วยกติ
ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 4 ศิลปะ 2 1 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 0.5 หน่วยกติ
ศ31101
ศ31102

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5

ศ32101 ศลิ ปะ 3 1 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 0.5 หน่วยกติ
1 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 0.5 หนว่ ยกติ
ศ32102 ศลิ ปะ 4

ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 6

ศ33101 ศิลปะ 5 1 ชั่วโมง / สปั ดาห์ 0.5 หน่วยกติ
1 ชัว่ โมง / สัปดาห์ 0.5 หน่วยกติ
ศ33102 ศิลปะ 6

วชิ ำเพมิ่ เตมิ จิตรกรรม 1 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ31201 ดนตรสี ากล 1 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ31202
นาฏศิลปไ์ ทย 1 2 ช่วั โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ32201 ดนตรีสากล 2 2 ชว่ั โมง / สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ32202
จิตรกรรม 2 2 ชวั่ โมง / สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
ศ33201 นาฏศลิ ปไ์ ทย 2 2 ชว่ั โมง / สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ศ33202

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รหัสวิชำ ศ21101 รำยวชิ ำ ศลิ ปะ 1 (ทศั นศลิ ป)์ จำนวน 1.0 หน่วยกติ
เวลำ 40 ชั่วโมง
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรยี นที่ 1

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ความหมายและความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน
ทางทศั นศิลป์จากจนิ ตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณท์ ี่เหมาะสม รวมทัง้ สามารถใชเ้ ทคนิค วธิ กี ารของศลิ ปนิ ใน
การสร้างงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คณุ ค่างานทศั นศลิ ป์ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
ทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่างานศิลปะทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิ
ปัญญาไทยและสากล ชนื่ ชม ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั

โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการพิจารณาคุณคา่ เพื่อให้
เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏบิ ัติและประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ศ 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6
ศ 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3

รวม 9 ตวั ชว้ี ดั

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๐

คำอธิบำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หนว่ ยกิต
เวลำ 40 ช่ัวโมง
รำยวชิ ำ ศิลปะ 2 รหสั วชิ ำ ศ21102 (ดนตร)ี
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1

ศึกษาเกย่ี วกับความหมาย ประวัติความเป็นมาของดนตรีไทย ดนตรไี ทยในยุคสมยั สุโขทยั อยุธยา

และรตั นโกสินทร์ ความเชือ่ และพธิ กี รรมการไหว้ครู ครอบครูดนตรไี ทย ครูเทพเจา้ ของศิลปะดนตรที ี่
นักดนตรไี ทยนบั ถอื เช่น พระพณิ เนศ พระปรคนธรรพ เปน็ ตน้ ประวตั แิ ละผลงานของคตี กวที ส่ี าคัญของ

วงการดนตรีไทย เช่น หลวงประดษิ ฐไ์ พเราะ พระเจนดรุ ยิ างค์ เป็นต้น
ศกึ ษาเกี่ยวกับการแบ่งประเภท ลกั ษณะ การใชง้ านของเครอื่ งดนตรไี ทย วงดนตรไี ทยและเพลงไทยเดมิ
ศกึ ษาเกี่ยวกับหลักการฟงั ดนตรี การรบั รคู้ วามไพเราะของดนตรไี ทย การวิเคราะหว์ จิ ารณ์งานดนตรี

ฝกึ เขียน และอ่านโนต้ ดนตรไี ทยในอตั ราจงั หวะ 3 ชน้ั 2 ชนั้ และช้ันเดียว
ฝกึ ทกั ษะการรอ้ งเพลงไทยเดิม หลกั การหายใจ การออกเสียง การเอือ้ นเสียงทีถ่ ูกตอ้ งตามหลักดนตรี

ไทย
ฝกึ ปฏบิ ัติเครอ่ื งดนตรีไทยตามแบบฝกึ หดั ของแตล่ ะชนิดเครอ่ื งดนตรีตามความสนใจ การฝกึ บรรเลง

เพลงไทยเดิมทั้งแบบเดี่ยวและบรรเลงรว่ มวง ศกึ ษาและปฏิบตั ิการใช้ การเก็บและดูแลรกั ษาเครื่องดนตรี

ตวั ชี้วัด

ศ 2.1 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม.1/3 , ม. 1/4 , ม. 1/5 , ม. 1/6 , ม. 1/7 , ม. 1/8 ,
ม. 1/9

ศ 2.2 ม. 1/1 , ม. ½

รวม 11 ตวั ชวี้ ัด

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๑

รำยวิชำ ศลิ ปะ 3 คำอธบิ ำยรำยวิชำ จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 2 เวลำ 20 ช่ัวโมง
รหสั วชิ ำ ศ22101(นำฏศลิ ป)์

ศกึ ษาเกี่ยวกบั รูปแบบ ประวัตแิ ละวิวัฒนาการ ประเภทระบาหรอื ฟ้อน เทคนคิ การจดั การแสดง
เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทระบาหรอื ฟ้อน หลักการทางนาฏศลิ ป์

หลักการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนาฏศิลป์ประเภทระบาหรอื ฟอ้ น นาฏศิลปพ์ ้นื เมืองและรูปแบบการแสดง
ประเภทต่างๆ

เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ การแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทระบาหรอื ฟอ้ น การสร้างสรรค์ผลงาน

การจดั การแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทระบาหรือฟอ้ น การวเิ คราะห์ การวจิ ารณ์ การเปรียบเทียบ
การนาเสนอแนวคิดในการอนรุ ักษน์ าฏศลิ ปไ์ ทยประเภทระบา หรือฟ้อนไดอ้ ย่างชนื่ ชม เหน็ คณุ คา่ และ

นาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

ตัวชี้วัด

ศ 3.1 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/4
ศ 3.2 ม.2/1 , ม.2/2

รวม 5 ตัวชี้วดั

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๒

รำยวิชำ ศลิ ปะ 4 (ทศั นศลิ ป์) คำอธิบำยรำยวิชำ จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต
ชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 40 ชว่ั โมง
รหัสวิชำ ศ22102

ศึกษา อภิปราย เก่ียวกบั รูปแบบและแนวคดิ ของผลงานทัศนศิลป์ ฝกึ ปฏิบตั ิวาดภาพดว้ ยเทคนิค
ท่ีหลากหลาย เพอื่ แสดงบคุ ลกิ ลกั ษณะของตวั ละครในการสือ่ ความหมายและเร่ืองราวตา่ งๆ ได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ บรรยายความแตกต่างของการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ของศิลปิน วธิ ีการใช้งานทัศน์ศิลป์
ในการโฆษณา การเปล่ยี นแปลงแนวคิดและเนื้อหาของงานทศั นศลิ ปข์ องไทยในแต่ละยคุ สมัย เหน็ คุณค่า
เปรยี บเทียบแนวคดิ ในการออกแบบงานทศั นศิลปท์ ่มี าจากวฒั นธรรมไทยและสากลเพอ่ื นาไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั

โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการสืบค้นขอ้ มูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลมุ่
กระบวนการพจิ ารณา เพ่ือใหเ้ กิดความร้คู วามเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติและประยกุ ตใ์ ช้ใน

ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม

ตวั ชี้วัด

ศ 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3

รวม 10 ตวั ชว้ี ัด

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ โรงเรียนทุง่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๓

รำยวชิ ำ ศิลปะ 5 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 3 เวลำ 20 ช่วั โมง
รหัสวิชำ ศ23101 (ดนตรี)

ศกึ ษาทักษะ/กระบวนการในสาระตอ่ ไปน้ี

องคป์ ระกอบของดนตรีจากแหล่งวฒั นธรรมต่าง ๆ เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรี เชน่ โน้ต
จากเพลงไทยอัตราจังหวะสองช้นั โนต้ สากล(เครื่องหมายแปลงเสียง) ปจั จัยในการสร้างสรรคบ์ ทเพลง เช่น
จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์บทเพลง การถ่ายทอดเรอ่ื งราวความคดิ ในบทเพลง เทคนิคการร้องและบรรเลง
ดนตรี

ดนตรีในวัฒนธรรมตา่ งประเทศ บทบาทของดนตรใี นวฒั นธรรม อิทธิพลของดนตรใี นวัฒนธรรม
เหตุการณป์ ระวตั ศิ าสตร์กบั การเปล่ยี นแปลงทางดนตรีในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งกบั งาน
ดนตรี การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยกี บั งานดนตรี

รหัสตัวชี้วัด
ศ 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม. 2/6, ม.2/7

รวม 7 ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หน่วยกิต
เวลำ 20 ชวั่ โมง
รำยวิชำ ศิลปะ 6 รหัสวิชำ ศ23102
ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 3

ศกึ ษาเก่ยี วกบั องค์ประกอบของละคร โครงเร่ือง ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตวั ละคร
และภาษาท่า หรอื ภาษาทางนาฏศิลป์ ที่มที ีม่ าจากธรรมชาตแิ ละมาจากการประดิษฐข์ ้นึ มาเพ่อื นามาใช้กบั
การแสดงลักษณะการแสดงท่มี ีรปู แบบการแสดงหมู่ การแสดงเดย่ี ว การแสดงเป็นชดุ เป็นตอน รู้หลกั การ
เลอื กรปู แบบการแสดง ขัน้ ตอนการแสดง ประโยชน์ของการแสดง และคุณคา่ ของการแสดงประเภทต่าง ๆ
และสามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

เพือ่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และมีทกั ษะด้านบทละคร โครงเรอ่ื ง และตัวละครและการวางตวั
ลักษณะนิสัยของตวั ละคร การสร้างสรรค์ผลงาน การจดั การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย การวเิ คราะห์ การวจิ ารณ์
การเปรยี บเทียบ การนาเสนอแนวคิดในการอนุรกั ษน์ าฏศิลป์ไทยประเภทระบา หรอื ฟ้อนไดอ้ ยา่ งชนื่ ชม

เห็นคุณคา่ และนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ม. 3/1 , 3/2 , 3/3 , 3/4 , 3/6
ศ 3.2 ม. 3/1 , 3/2 , 3/3
รวม 8 ตวั ช้ีวัด

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๕

รำยวิชำจิตรกรรม คำอธิบำยรำยวชิ ำ จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 40 ช่ัวโมง
รหัสวิชำ ศ22201

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการจัดองค์ประกอบศิลปะ และการเขยี นภาพดว้ ยวสั ดุต่างๆ ตามความเหมาะสม
เพอ่ื ให้มีความเข้าใจ เห็นคุณค่าสามารถถ่ายทอดส่ิงทีม่ องเหน็ ออกมาเป็นภาพตามความเป็นจริง และหรอื
สามารถสร้างสรรค์งานเขยี นภาพได้อยา่ งอสิ ระ

ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมาย คุณค่า ลักษณะรปู แบบและวธิ ีการเขียนภาพ

2. อธบิ ายหลกั การใช้ การเกบ็ รกั ษาวัสดุอุปกรณ์ในการเขียนภาพ
3. อธบิ ายหลกั การวาดเสน้ และปฏบิ ัตงิ านวาดเส้น

4. อธิบายวธิ ีการรา่ งภาพ การวัดสัดสว่ น และปฏบิ ัติการร่างภาพ
5. อธิบายหลักการจัดวางรูปทรงให้เหมาะสม สวยงามและสามารถปฏิบัตไิ ด้
6. อธบิ ายหลักการเนน้ ในการวาดเส้นและสามารถปฏิบตั ิได้

7. อธิบายความหมาย ขัน้ ตอนการเขยี นภาพหุ่นน่งิ และสามารถปฏิบตั ิงานเขยี นภาพได้
8. ปฏิบตั ิงานเขยี นภาพหุ่นนง่ิ วตั ถุ สงิ่ ของตามท่ีจดั ให้ ลงนา้ หนกั แสงเงาดว้ ยดนิ สอได้

9. ปฏบิ ัติงานเขียนภาพหุน่ นงิ่ ผลไม้ ดอกไม้และภาชนะอนื่ ๆตามที่จัดให้ ลงน้าหนกั ด้วยสีโปสเตอร์
หรอื สชี อล์กได้

10. อธิบายลักษณะ รูปแบบของภาพทิวทัศน์ ขั้นตอนการเขียนภาพและปฏบิ ตั งิ านเขียน

ภาพทวิ ทัศน์ได้

รวม 10 ผลกำรเรยี นรู้

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๖

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รำยวชิ ำดนตรี รหัสวิชำ ศ20202 จำนวน 1 หน่วยกติ
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 2 เวลำ 40 ชวั่ โมง

ปฏิบตั ิเครอ่ื งดนตรไี ทยโดยการบรรเลงเพลงไทยเดิมแบบเดีย่ วและการบรรเลงร่วมวง โดยจะเนน้
ความถกู ตอ้ งทางด้านจังหวะทานอง ความกลมกลนื ของเสียงในการรว่ มบรรเลงกบั ผอู้ น่ื

ฝึกทักษะปฏิบตั ิเก่ียวกับการอา่ นโนต้ เพลงไทย การนับจงั หวะไทยในแบบสามช้ัน สองช้นั และชัน้ เดียว
การใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์และฝึกฝน ซงึ่ จะนาไปสูก่ ารพัฒนาทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญาและ
อารมณ์

ผลกำรเรยี นรู้

1 ปฏบิ ัติเครื่องดนตรไี ทย บรรเลงเพลงลาวดวงเดือนทอ่ นที่ 1 ได้
2 ปฏิบัติเครือ่ งดนตรีไทย บรรเลงเพลงลาวดวงเดือนท่อนท่ี 2 ได้
3 ปฏิบัติเครอ่ื งดนตรีไทย บรรเลงเพลงลาวดวงเดือนทอ่ นที่ 3 ได้

4 ปฏบิ ัตเิ ครื่องดนตรีไทย บรรเลงเพลงลาวดวงเดือนได้จนจบเพลง
5 ปฏบิ ัติเครอ่ื งดนตรไี ทย บรรเลงรว่ มวงเพลงลาวดวงเดอื นได้

รวม 5 ผลกำรเรียนรู้

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

รำยวิชำ นำฏศลิ ปไ์ ทย 1 คำอธิบำยรำยวิชำ ๓๗
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 2
รหสั วชิ ำ ศ20203 จำนวน 1 หนว่ ยกติ
จำนวนเวลำ 40 ชว่ั โมง

ศกึ ษาและฝกึ ปฏิบัติเพื่อใหม้ ีความรพู้ ้ืนฐานการนาฏศิลป์ไทย โดยการใชป้ ระสบการณ์ด้านประสาทสมั ผัส
ทง้ั 5 การเคลื่อนไหวตามจนิ ตนาการอย่างอสิ ระ การเคล่ือนไหวตามจินตนาการอยา่ งมีรูปแบบ ด้วยท่าทางลีลา

อยา่ งสง่างาม การรับรู้จงั หวะ การใชภ้ าษาทา่ ทาง นาฏยศพั ท์ การแสดงนาฏศิลป์ การแตง่ กายประเภทรา
ระบา ฟอ้ น การเป็นผ้ชู มที่ดีมสี มาธิ มีมารยาท และแสดงความรสู้ ึกของตนเองอย่างมเี หตผุ ล การเลยี นแบบ
ธรรมชาตขิ องพฤตกิ รรมมนุษย์ การแสดงพนื้ เมอื ง การแสดงบทบาทสมมติ และภาษาในการแสดงออก ถ่ายทอด

ความคิด ความรู้สกึ จนิ ตนาการ และเกดิ ความรกั ช่นื ชม รับรู้ นาฏศลิ ปอ์ นั เป็นมรดกไทย

ผลกำรเรยี นรูท้ ่คี ำดหวัง

1.นาความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะด้านละครสร้างสรรคม์ าใชก้ ับการแสดงละครในระดับพน้ื ฐานได้
2.เคล่ือนไหวรา่ งกายเพอ่ื การสอ่ื ความได้
3.เขา้ ใจองค์ประกอบของนาฏศิลปท์ ี่ใช้ในการแสดง
4.เข้าใจและสามารถสอ่ื ความหมาย วเิ คราะห์และเปรียบเทียบนาฏศิลป์และการละครประเภทต่างๆ
5.เขา้ ใจสนุ ทรยี ะของการแสดงนาฏศิลป์ตามหลกั การใชภ้ าษาทา่ ทาง
6.เข้าใจหลักการและวธิ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานบรู ณาการใชก้ ับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อนื่ ๆ และใชใ้ น
ชวี ติ ประจาวนั เขา้ ใจในคณุ คา่ ของการละครท่ีมีความหมายตอ่ ชีวิต
7.รับร้คู วามแตกต่างของรปู แบบและวธิ ีการแสดงออกทางนาฏศิลป์และการละครว่ามีทีม่ าจากบรบิ ท
ทางสังคมและวฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย
8.เขา้ ใจประโยชน์ของการจดั กิจกรรมนาฏศลิ ป์ที่มสี ว่ นในการบง่ บอกภูมิปญั ญาท้องถนิ่ รบั ร้คู ณุ คา่ ของ
ละครอันเป็นมรดกทางวฒั นธรรม และภมู ิปัญญาสากล

รวม 8 ผลกำรเรยี นรทู้ ีค่ ำดหวัง

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๘

คำอธบิ ำยรำยวิชำ จำนวน 1 หนว่ ยกติ
เวลำ 40 ช่ัวโมง
รำยวิชำนำฏศลิ ปไ์ ทย 2 รหสั วิชำ ศ20204
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปี่ที่ 2

ศกึ ษาและฝกึ ปฏบิ ัติพน้ื ฐานการละครการแสดงออกทางนาฎศลิ ป์ องคป์ ระกอบทางนาฎศลิ ป์

การเขียนบทละคร การสอื่ ความหมาย ทา่ ราตา่ ง ๆ หลกั การสรา้ งสรรค์การวิจารณ์ความคดิ และความงาม
เกี่ยวกับนาฏศิลป์ การแสดงละครตามจินตนาการ บนพื้นฐานความเข้าใจนาฎศิลป์และสุนทรียภาพ ส่ือ
ความรสู้ ึกและความคิดเกย่ี วกบั ศลิ ปการแสดง

เพอื่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่า และนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๙

รำยวชิ ำ จิตรกรรม 1 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หน่วยกิต
ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ 2 เวลำเรยี น 40 ช่ัวโมง
รหัสวิชำ ศ20205

มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกบั ธรรมชาติของการสรา้ งสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ซงึ่ เปน็ ปัจจัยสาคญั ของ
ความสมั พันธ์ทเ่ี กอ้ื กูลสง่ เสรมิ ซงึ่ กนั และกัน ให้มนษุ ยไ์ ด้อาศัยเปน็ แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ
ตา่ ง ๆ เช่นการสรา้ งจุด การวาดภาพลายเสน้ ภาพแสงเงา หลักการใช้สี การเล่าประกอบเร่ืองในการวาดการ์ตนู

ผลกำรเรียนรู้

1. อธบิ ายและบอกประโยชน์ขององค์ประกอบศลิ ป์

2. สามารถนาจุดมาสร้างภาพโดยเน้นแสงเงา
3. เขียนภาพลายเส้นโดยเนน้ แสงเงาตามธรรมชาติ

4. เขยี นภาพทวิ ทัศน์ โดยใช้สมี าชว่ ยในการจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์
5. สามารถนาองค์ประกอบศิลป์ช่วยการสร้างภาพเร่ืองราวได้
6. เขยี นภาพสตั วอ์ ย่างน้อยได้ 4 – 5 ชนิด

รวม 6 ผลกำรเรียนรทู้ ค่ี ำดหวงั

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๐

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หน่วยกติ
เวลำเรียน 40 ช่ัวโมง
รำยวิชำ จติ รกรรม 2 รหสั วิชำ ศ20206
ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ 2

ศกึ ษาคน้ ควา้ ประวัตคิ วามเปน็ มาวิวัฒนาการรปู แบบของทศั นศิลป์ไทยทงั้ งานจิตรกรรมประติมากรรม
และงานพื้นบ้าน หลกั การ เทคนิคและวิธกี ารเขียนภาพ ลวดลายไทยและการสร้างงานประติมากรรม ทดลองและ

ฝกึ ปฏิบตั ิงานทัศนศิลป์ไทยในด้านต่างๆตามความสนใจเพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ ช่นื ชมและเห็นคุณคา่ ในงาน
ทัศนศลิ ป์ไทยสามารถนาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้ได้

ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง

1. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มาของววิ ฒั นาการรูปแบบทศั นศิลป์ไทยทางด้านจติ รกรรมประติมากรรม
งานพน้ื บา้ น

2. อธิบายหลักการ เทคนิควธิ กี ารเขยี นภาพ ลวดลายไทยและการสร้างงานประติมากรรม
3. ฝกึ ปฏบิ ัติการเขียนภาพ ลวดลายไทยในดา้ นต่าง ๆ ตามความสนใจ
4. รแู้ ละเข้าใจ คุณค่าในงานทัศนศิลป์ไทย สามารถนาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้

รวม 4 ผลกำรเรยี นรทู้ ่คี ำดหวงั

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

รำยวชิ ำศิลปะ 1 (จติ รกรรม) คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ๔๑
ชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี 4
รหัสวิชำ ศ31101 จำนวน 0.5 หน่วยกติ
เวลำ 20 ชั่วโมง

ศกึ ษา วเิ คราะห์ อธิบายเกี่ยวกบั การใช้ทศั นธาตุและหลักการออกแบบในการสอื่ ความหมายในรปู แบบ
ต่างๆ จุดประสงค์และเนอื้ หาของงานทัศนศลิ ป์ โดยใช้ศพั ทท์ างทัศนศลิ ป์

วเิ คราะห์และเปรยี บเทยี บงานทัศนศิลป์ในรปู แบบตะวันออกและรปู แบบตะวนั ตก โดยใชก้ ระบวนการ
อภิปรายเพอื่ สรปุ ความรเู้ ก่ียวกบั อิทธิพลของวฒั นธรรมระหว่างประเทศท่ีมผี ลต่องานทศั นศิลป์ในสงั คม

วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศลิ ปนิ ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ
สรา้ งงานของศิลปินที่ตนช่ืนชอบ และสามารถระบงุ านทัศนศลิ ป์ของศิลปนิ ทมี่ ีชือ่ เสียงและบรรยายผลตอบรับของ
สงั คม

มีทักษะและเทคนคิ ในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และกระบวนการทส่ี ูงขนึ้ ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ สามารถ
สรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ด้วยเทคโนโลยตี า่ งๆ โดยเนน้ หลักการออกแบบและการจัดองคป์ ระกอบศิลป์ ออกแบบ
งานทัศนศลิ ป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ สามารถวาดภาพระบายสีเป็นภาพลอ้ เลียนหรอื ภาพการต์ ูน โดย
ใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพอ่ื แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปจั จบุ ัน

ประเมินและวจิ ารณง์ านทศั นศลิ ป์ โดยใชท้ ฤษฎีการวจิ ารณ์ศิลปะ และจัดกลมุ่ งานทศั นศิลป์ เพ่ือสะทอ้ น
พัฒนาการและความก้าวหนา้ ของตนเอง

เพื่อให้เห็นคณุ คา่ และสามารถสรา้ งงานทศั นศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ุณค่างาน
ทัศนศลิ ป์อยา่ งช่ืนชม และนามาประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน

ตวั ชี้วัด ม.4-6/8
ศ 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/6ม.4-6/7

ม.4-6/10ม.4-6/11
ศ 1.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3

รวม 12 ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

รำยวชิ ำศิลปะ 2 รหสั วิชำ ศ31102 จำนวน 0.5 หน่วยกติ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 4 เวลำ 20 ชว่ั โมง

ศึกษาเก่ยี วกบั รปู แบบของบทเพลงไทย การใชเ้ ครอ่ื งดนตรีไทยในวงดนตรไี ทยประเภทวงปพ่ี าทย์
วงเครือ่ งสายและวงมโหรี รปู แบบการจดั วงดนตรไี ทยในวงดนตรปี ระเภทวงป่พี าทย์ วงเคร่อื งสายและวง

มโหรี ปัจจยั การสรา้ งสรรค์ผลงานดนตรีของวัฒนธรรมในแตล่ ะภาคของประเทศไทย การถ่ายทอดอารมณ์
ความร้สู ึกของงานดนตรจี ากวัฒนธรรมในแตล่ ะภาคของประเทศไทย การนาดนตรีไทยไปประยุกต์ใช้กับ
งานด้านอื่นๆ รปู แบบวงดนตรีไทยในแต่ละยคุ สมยั ประวัตนิ ักดนตรไี ทยในทอ้ งถิน่ แต่ละภาคของประเทศไทย

ฝึกทกั ษะปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการอ่าน การเขยี นโน้ตเพลงไทย เทคนิคการร้องเพลงการถ่ายทอดอารมณ์
เพลงโดยการร้องและเลน่ ดนตรีไทย การเลน่ ดนตรีเด่ียวและรวมวงโดยเนน้ เทคนคิ การปฏบิ ตั ติ ามลาดบั ความ

ยากงา่ ยในอัตราจังหวะสามชนั้ สองชั้น และชน้ั เดียว การสร้างเกณฑป์ ระเมินคณุ ภาพผลงานดนตรี

ตัวชวี้ ัด

ศ 2.1 ม. 4/1 , ม. 4/2 , ม.4/3 , ม. 4/4 , ม. 4/5 , ม. 4/6 , ม. 4/7 ,
ม. 4/8

ศ 2.2 ม. 4/1 , ม. 4/2

รวม 10 ตัวชี้วัด

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรียนทุง่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๓

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รำยวชิ ำศิลปะ 3 รหัสวิชำ ศ32101 จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 5 เวลำ 20 ช่วั โมง

ศกึ ษาเกย่ี วกบั ประวัติและววิ ัฒนาการ บทบาทของบคุ คลสาคญั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั นาฏศิลป์ไทย ประเภท

ระบาหรือฟ้อน เทคนคิ การจดั การแสดง เกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทระบาหรือ
ฟอ้ น หลักการทางนาฏศิลป์ หลกั การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลปป์ ระเภทระบาหรอื ฟอ้ น การแสดงนาฏศิลป์
ไทยประเภทระบา หรือฟ้อนการประดษิ ฐ์ท่าราเป็นคู่ หรือหมูโ่ ดยนาท่าทางการเคลือ่ นไหวของคนในชีวิต
ประจาวันมาประยุกตใ์ ช้

เพอ่ื ใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจ และมีทกั ษะด้านการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยประเภทระบาหรอื ฟ้อน การ
สร้างสรรคผ์ ลงาน การจัดการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยประเภทระบาหรือฟ้อน การวเิ คราะห์ การวจิ ารณ์ แนวคดิ
ในการเปรยี บเทยี บ การนาเสนอ การอนุรกั ษน์ าฏศลิ ป์ไทยประเภทระบา หรอื ฟ้อนได้อยา่ งชนื่ ชม เหน็ คุณคา่

และนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้

ตัวชี้วัด
ศ 3.1 ม. 5/1 , ม.5/3 , ม. 5/4 , ม. 5/5 , ม. 5/6 , ม. 5/7 , ม. 5/8
ศ 3.2 ม. 5/1 , ม. 5/2 , ม.5/3 , ม. 5/4

รวม 11 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คำอธิบำยรำยวชิ ำ ๔๔

รำยวชิ ำ ศิลปะ 5 รหัสวิชำ ศ33101 จำนวน 1 หนว่ ยกิต
ชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี 6 เวลำ 20 ช่ัวโมง

ร้แู ละเข้าใจเก่ยี วกบั ทศั นธาตุและหลกั การออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใชศ้ พั ท์ทางทศั นศิลป์

อธบิ ายจุดประสงค์และเน้อื หาของงานทศั นศิลป์ มีทกั ษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการท่ี
สงู ขนึ้ ในการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ วิเคราะหเ์ นื้อหาและแนวคิด เทคนคิ วิธีการ การแสดงออกของศลิ ปินท้งั ไทยและ
สากล ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสรา้ งสรรคง์ านทีเ่ หมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมท้งั

แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับสภาพสงั คมด้วยภาพล้อเลยี นหรอื การ์ตูน ตลอดจนประเมนิ และวจิ ารณ์คุณค่างาน
ทัศนศลิ ปด์ ว้ ยหลกั ทฤษฎีวจิ ารณ์ศลิ ปะ

วเิ คราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศลิ ป์ในรูปแบบตะวันออกและรปู แบบตะวนั ตก เข้าใจอิทธิพลของมรดก
ทางวัฒนธรรมภมู ิปัญญาระหวา่ งประเทศที่มีผลต่อการสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ในสงั คม

ตัวชี้วัด ม. 1/6, ม. 1/7, ม. 1/8, ม. 1/9, ม. 1/10, ม. 1/11
ศ 1.1 ม. 1/2, ม.1/3

ศ. 1.2

รวม 8 ตวั ช้วี ัด

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๕

รำยวิชำ ศิลปะ 6 รหสั วชิ ำ ศ33102 คำอธิบำยรำยวิชำ
ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 6
จำนวน 0.5 หน่วยกิต
เวลำ 20 ชั่วโมง

ศึกษาเก่ียวกับการแสดง ระบา รา ฟ้อน การแสดงพื้นเมอื ง การละครไทย การละครตลก การ
สรา้ งสรรค์ ละครสน้ั รปู แบบการจดั ละครพูด ละครโศกนาฏกรรม ละครสขุ นาฏกรรม ละครแนวเหมอื น

จรงิ ละครแนวไมเ่ หมือนจรงิ การใช้นาฏยศพั ท์เพือ่ การประดษิ ฐท์ ่าราทัง้ การราเดี่ยวและราหมู่ เทคนิคการ
จัดการแสดงโดยใช้แสง สี เสยี ง ฉาก อุปกรณ์ สถานที่และการแต่งกาย เขา้ มาเสรมิ สรา้ งให้ละครน่าตดิ ตาม
มากย่ิงขน้ึ ประวัตคิ วามเปน็ มาของนาฏศิลปไ์ ทย บุคคลสาคญั ในวงการนาฏศิลป์

เพ่อื ใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจ และมีทกั ษะด้านการจัดการแสดงทนี่ า่ สนใจท้ังละครโศกนาฏกรรม
สขุ นาฏกรรม ละครแนวเหมือนจรงิ ละครแนวไมเ่ หมอื นจรงิ รวมทงั้ การประดษิ ฐท์ ่าราทถี่ ูกต้องตามเน้อื เพลง

และความหมายของท่าราไดอ้ ยา่ งน่าชน่ื ชม และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้

ตวั ชี้วัด
ศ.3.1 ม.6/1 ม.6/2 ม.6/3 ม.6/5 ม.6/6
ศ.3.2 ม.6/1

รวม 6 ตวั ช้ีวัด

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรียนทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๖

รำยวิชำจิตรกรรม 1 คำอธบิ ำยรำยวิชำ จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 4/2 เวลำ 40 ชั่วโมง
รหัสวิชำ ศ31201

ศกึ ษาความหมายของการวาดเส้น วัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีใช้ในการวาดเสน้ และฝึกปฏิบัติการวาดเสน้ เพอื่
ถา่ ยทอดการมองเห็น เพ่อื ให้มีความเขา้ ใจเหน็ คุณค่าและสามารถเขยี นภาพตา่ งๆได้อย่างเพลดิ เพลิน

ผลกำรเรียนรู้
1. อธิบายความหมาย คุณค่า หลักการของการวาดเส้น
2. บอกชื่อ คณุ สมบัติ วิธีการใชแ้ ละการดแู ลรักษาวัสดุอปุ กรณก์ ารวาดเส้น
3. ถ่ายทอดการมองเหน็ โดยการวาดเสน้ ประกอบแสงเงาเลียนแบบธรรมชาติ
4. สามารถวาดภาพทัศนียภาพแสดงระยะไกลใกล้ เปน็ 3 มิติ
5. วาดภาพแสดงค่าน้าหนกั อ่อน- แกข่ องแสงและเงาทีต่ กกระทบบนวตั ถไุ ด้ถกู ตอ้ งตามสภาพจริง
6. วาดภาพสิ่งของ สัตว์ ทิวทัศน์ และคนเหมือนโดยวธิ กี ารวาดเส้นได้

รวม 6 ผลกำรเรียนรู้

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ โรงเรยี นทุ่งขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๗

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หนว่ ยกติ
เวลำ 40 ชว่ั โมง
รำยวิชำดนตรีสำกล 1 รหัสวชิ ำ ศ31202
ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 4

ปฏบิ ัตเิ ครื่องดนตรีสากลตามแบบฝกึ หัดท่เี ปน็ ทักษะพน้ื ฐานเฉพาะของแต่ละเคร่ืองดนตรี
เชน่ การฝกึ การใชม้ ือ การแบง่ มือตลี กั ษณะต่างๆในเครอื่ งตี การใช้ลม ใชล้ ้นิ และตาแหน่งนิว้ ของระดบั
เสียงตา่ งๆในเครอื่ งเปา่ ลมไมแ้ ละเครื่องเปา่ โลหะ การใชค้ นั ชักและการวางตาแหน่งนวิ้ ในเครือ่ งสาย เปน็ ต้น

ฝึกทกั ษะปฏิบัตเิ กี่ยวกบั การอ่านโน้ตเพลงสากล เคร่ืองหมายและสญั ลักษณต์ ่างๆทางดนตรสี ากล
การใช้กระบวนการคดิ วิเคราะหแ์ ละฝกึ ฝน ซึง่ จะนาไปสู่การพฒั นาทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา

และอารมณ์

ผลกำรเรียนรู้

1 ปฏบิ ัติเครอื่ งดนตรีสากลแบบฝึกหัดที่ 1 ของพื้นฐานของแต่ละเคร่ืองดนตรไี ด้
2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลแบบฝกึ หัดที่ 2 ของพื้นฐานของแตล่ ะเคร่ืองดนตรไี ด้
3. ปฏบิ ัติเครือ่ งดนตรีสากลแบบฝกึ หัดท่ี 3 ของพ้ืนฐานของแตล่ ะเครือ่ งดนตรีได้
4. ปฏบิ ัติเครอื่ งดนตรีสากลแบบฝึกหัดท่ี 4 ของพ้ืนฐานของแต่ละเครอ่ื งดนตรไี ด้
5. ปฏบิ ตั ิเคร่ืองดนตรีสากลแบบฝึกหัดท่ี 5 ของพื้นฐานของแต่ละเคร่ืองดนตรไี ด้

รวม 5 ผลกำรเรยี นรู้

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนทงุ่ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๘

คำอธิบำยรำยวิชำ จำนวน 1 หนว่ ยกติ
เวลำ 40 ชั่วโมง
รำยวชิ ำนำฏศิลป์ไทย 1 รหสั วิชำ ศ30203
ชน้ั มธั ยมศึกษำปี่ที่ 5

ศึกษาเก่ียวกบั ประเภทของละครไทยในแต่ละสมัย นาฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละคร หลัก
กระบวนการจัดการแสดง หลักการปฏิบตั ิตนของผแู้ สดง หลักการชมการแสดง การจัดการแสดงนาฏศลิ ป์
การแสดงนาฏศิลป์พ้ืนเมอื งภาใต้ การแสดงละครในรปู แบบง่ายๆ

เพือ่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ และเห็นคุณคา่ การแสดงละคร ทาให้มีสมาธใิ นการทางาน เป็นการอนรุ กั ษ์
และสบื สานวัฒนธรรมไทย สามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ จำนวน 1 หนว่ ยกิต
เวลำ 40 ชว่ั โมง
รำยวิชำ ดนตรีสำกล 2 รหสั วชิ ำ ศ30204
ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 5

ปฏิบัตเิ คร่ืองดนตรีสากลโดยการบรรเลงเพลงไทยสากลแบบเดี่ยวและการบรรเลงรว่ มวง โดยจะเน้น
ความถกู ตอ้ งทางดา้ นจงั หวะทานอง ความกลมกลืนของเสียงในการรว่ มบรรเลงกบั ผอู้ ่นื

ฝกึ ทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับการอ่านโนต้ เพลงสากล เครื่องหมายและสญั ลกั ษณต์ ่างๆทางดนตรีสากล
การใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์และฝกึ ฝน ซึง่ จะนาไปสูก่ ารพัฒนาทางด้านร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา

และอารมณ์

ผลกำรเรียนรู้

1. ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งดนตรสี ากล บรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ใกลร้ ่งุ ท่อนที่ 1 ได้
2. ปฏิบัติเคร่ืองดนตรีสากลบรรเลงเพลงพระราชนพิ นธ์ใกลร้ ุ่งได้ ท่อนที่ 2 ได้
3. ปฏิบตั เิ ครอ่ื งดนตรสี ากลบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ใกล้รุ่งได้ ท่อนท่ี 3 ได้
4. ปฏบิ ัติเครือ่ งดนตรสี ากลบรรเลงเพลงพระราชนิพนธใ์ กล้รงุ่ ได้จนจบเพลง
5. ปฏบิ ตั ิเครอ่ื งดนตรีสากลบรรเลงร่วมวงเพลงพระราชนิพนธใ์ กลร้ ่งุ ได้

รวม 5 ผลกำรเรียนรู้

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ โรงเรยี นท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๕๐

คำอธบิ ำยรำยวิชำ จำนวน 1 หนว่ ยกติ
เวลำเรยี น 40 ชว่ั โมง
รำยวิชำ จติ รกรรม 2 รหัสวิชำ ศ30205
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5

มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในเรอื่ งการออกแบบทม่ี ีมิติทัง้ 2 และ 3 มติ ิ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและสรา้ งความ
ชานาญให้กบั ตนเองจนสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางด้านการออกแบบทีม่ ีคุณค่าและเกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ

ผลกำรเรยี นรู้

1. เขา้ ใจและสามารถออกแบบ 2 และ3 มิตไิ ด้
2. เขา้ ใจถงึ ปญั หาของการออกแบบและแก้ปญั หาได้

3. นาลักษณะพชื ผวิ ชนิดต่าง ๆ มาออกแบบในลกั ษณะ 2 มติ ิ
4. อธบิ ายคณุ ภาพของการออกแบบได้

5. นาปัญหาในปจั จุบนั มาสรา้ งสรรค์งานออกแบบอยา่ งมีหลกั การทั้งการออกแบบ 2 และ 3 มิติ เพื่อ
แก้ไขปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

6. ชน่ื ชมและเหน็ คุณคา่ ของการออกแบบในชวี ิตประจาวัน

รวม 6 ผลกำรเรยี นรู้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนท่งุ ขนานวทิ ยา

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)


Click to View FlipBook Version