โครงงาน
เร่ือง ตะโกล้ ำไย
จดั ทำโดย
นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/2
รายวิชา ง30203 ขนมไทย 1 (รายวิชาเพิ่มเตมิ )
โรงเรียนทงุ่ ขนานวิทยา ตำบลทงุ่ ขนาน อำเภอสอยดาว จงั หวดั จนั ทบรุ ี
สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 17 จนั ทบุรี ตราด
บทคดั ยอ่
ขึ้นชื่อว่าขนมหวาน ในแต่ละประเทศต่างมีขนมหวานที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเองกันแต่
ลองสังเกตดูว่าขนมแต่ละชาติน้ันต่างมีแป้ง ถั่ว และน้ำตาลเป็นวัตถุดิบยืนพ้ืนกันทั้งนั้นซึ่งไม่เว้น
แม้กระทั่งขนมหวานของไทยเรา แต่ของไทยเราขนมหวานจะมีอีกหนึ่งวตั ถุดิบที่ต้องมีขาดไม่ได้คือ
กะทิ ไม่ว่าจะเป็นอาหารคาวที่เป็นแกง หรือขนมหวาน เพราะด้วยความที่ประเทศไทยเป็นอีก
แหล่งการเพาะปลูก และผลิตท่ีสำคัญสำหรบั มะพร้าวและลำไยที่มีการเพาะปลูกอยู่มาก ผลิตผลที่
ได้จากการปลูกมะพร้าวและลำไยไม่เพียงแต่เป็นผลไม้ส่งออกเป็นมะพร้าว น้ำมะพร้าวแล้ว กะทิที่
ได้จากมะพร้าว ลำไยสดและลำไยอบแห้งก็เป็นอีกหน่ึงอย่างท่ีสร้างสรรค์เมนูขนมหวานไทยได้
หลากหลาย และขนมไทยหนึ่งในนน้ั ทต่ี อ้ งใช้กะทเิ ป็นวตั ถดุ บิ ทีช่ ูรสชาตคิ อื ตะโกล้ ำไย
โครงงาน ตะโก้ลำไย มีจุดมุ่งหมายในการส่ือการสอนสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
โดยนำลำไยมาแปรรูปทำเป็นขนมไทยที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และยังเป็นการนำส่ิงของที่หาได้
ง่ายเช่นใบเตยภายในบ้านมาใช้ให้เป็นประโยชน์ และช่วยส่งเสริมการใช้ภาชนะที่ไม่ก่อให้เกิด
มลพิษแต่ส่งิ แวดลอ้ ม นอกจากน้ียังเป็นการสง่ เสรมิ ทักษะการทำงานเป็นกลมุ่ ใหก้ บั นกั เรยี น สร้าง
ทกั ษะด้านความรบั ผดิ ชอบ สรา้ งความสามคั คี เออ้ื เฟ้ือเผือ่ แผ่ แก่นกั เรยี นอกี ดว้ ย
ก
คำนำ
โครงงานฉบับนเี้ ป็นสว่ นหนึ่งในการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ า ง30203 ขนมไทย 1
(รายวชิ าเพ่ิมเติม) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นโครงงานอาชพี เรือ่ ง ตะโก้ลำไย
ผ้จู ัดทำโครงงานได้ศึกษาจากหนังสือ ขนมไทยและผลไม้ รวมทง้ั ใน Web site ตา่ งๆ
เพ่อื รวบรวมขอ้ มลู และเก็บบนั ทกึ ขอ้ มลู ในการทำขนมไทยกับผลไมใ้ นทอ้ งถน่ิ และการประยกุ ต์
พชื พรรณต่างๆในทอ้ งถน่ิ เปน็ วัสดุในการบรรจุผลติ ภัณฑแ์ ละรกั ษาส่งิ แวดล้อม ซ่งึ ในปจั จุบนั การ
นำบรรจภุ ณั ฑ์ที่ทันสมยั เช่น ถาดโฟมหรือถ้วยพลาสตกิ หลงั จากทีท่ านขนมหมดแล้วจะเกดิ ขยะ
ทเี่ ป็นมลพิษต่อชมุ ชนและสง่ิ แวดลอ้ ม แตก่ ารนำใบเตยหรอื ใบตอง มาเป็นบรรจภุ ัณฑท์ ที่ ำมาจาก
ธรรมชาติ จะทำให้ขยะท่เี กิดขึ้นสามารถยอ่ ยสลายเองไดต้ ามธรรมชาติ และเป็นสือ่ การสอนให้
นกั เรยี นสามารถประยุกตห์ รอื ดัดแปลงพืชและผลไม้ในทอ้ งถิ่น มาทำขนมไทยและวสั ดบุ รรจภุ ัณฑ์
ที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมและเพอ่ื ใหไ้ ด้ประโยชน์ใหก้ บั ชุมชนของนกั เรยี นได้
นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/2
ผจู้ ดั ทำ
ข
สารบญั หนา้
ก
บทคัดย่อ ข
คำนำ ค
สารบญั 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
ทมี่ าและความสำคญั ของโครงงาน 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1
สมมติฐานการศกึ ษา 2
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั 2
บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ งเรอ่ื งลำไย 2
ลำไย 3
รูปลกั ษณ์ 4
สรรพคุณ 5
คณุ คา่ ทางอาหารของลำไย 5
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน 5
ตะโก้ลำไย 5
กระทงใบเตย 6
วัสดอุ ุปกรณส์ ำหรับทำกระทงใบเตย 7
สว่ นผสมตะโก้ลำไย 7
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 9
วธิ กี ารและขัน้ ตอนการทำกระทงใบเตย 11
วิธแี ละขนั้ ตอนการทำตะโกล้ ำไย 11
บทที่ 5 สรปุ ผลการศกึ ษา 11
สรปุ ผลการศกึ ษา 11
ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากโครงงาน 12
ขอ้ เสนอแนะ 13
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ค
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
เนื่องจากลำไย มะพร้าว และใบเตยเป็นพืชประจำท้องถิ่นของไทยอยู่แล้วและหาง่ายใน
บ้านเรื่อนหรือชุมชนของนักเรียน อีกท้ังยังเป็นสมุนไพรท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย จึงคิดนำลำไย
มาแปรรูปเป็นขนมไทย ที่ง่ายต่อการรับประทาน และสามารถทำกินเองได้ภายในครอบครัว
รวมท้ังยังเป็นการสอนให้เด็กนักเรียนสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปต่อยอดทำเป็นธุรกิจ และหารายได้
เสรมิ ได้อกี ทางดว้ ย
วัตถุประสงคข์ องการการศึกษา
1. เพื่อแปรรปู และประยุกตผ์ ลไม้ เช่น ลำไย ในทอ้ งถน่ิ มาทำขนมได้
2. เพ่อื ประยุกตแ์ ละแปรรูปพืชสมุนไพรใกล้ตัว และพชื อ่ืนๆ มาทำเปน็ บรรจุภณั ฑ์
3. เพื่อนำนกั เรียนนำความรู้ทไี่ ดไ้ ปประกอบอาชพี เสรมิ เพ่ือหารายได้ใหก้ บั ครอบครัว
สมมตฐิ านการศกึ ษา
สามารถแปรรปู ลำไยมาเป็นขนมไทยและนำพืชในท้องถ่นิ มาประยกุ ต์เปน็ บรรจุภณั ฑ์ท่ีเป็น
มติ รตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม
ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. ไดร้ บั ความรูจ้ ากการทำตะโก้ลำไย
2. ได้รบั ประโยชน์จากการทำตะโกล้ ำไย
3. ฝกึ ฝนความอดทนและความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
4. ลดการใชพ้ ลาสตกิ ท่ีไม่เปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม
5. นกั เรยี นนำความร้ทู ไ่ี ด้ไปประกอบอาชพี เสริมเพ่ือหารายได้ใหก้ ับครอบครัว
1
ลำไย บทท่ี 2
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ การศึกษาเอกสารอ้างองิ
วงศ์
ถ่ินกำเนดิ Longan
Dimocarpus longan, มกั เขยี นผิดเปน็ ลำใย
รปู ท่ี 1 ลกู ลำไย Sapindaceae
เช่อื กันวา่ ลำไย มีตน้ กำเนดิ มาจากเทือกเขาระหว่างเมยี นมาร์และจีนตอน
รูปท่ี 2 ต้นลำไย ใต้ แหล่งกำเนิดอ่นื ๆ ท่ีมีการรายงาน ไดแ้ ก่ อินเดยี ศรีลังกา เมยี นมาร์
ตอนบน ภาคเหนอื ของประเทศไทย กมั พูชา เวียดนามเหนือ และนิวกินี
รปู ลักษณ์ บนั ทกึ การดำรงอยทู่ ีเ่ กา่ แก่ทส่ี ุดยอ้ นกลับไปถงึ ราชวงศ์ฮน่ั ใน พ.ศ. 2343
จกั รพรรดสิ ่งั ใหป้ ลกู ลน้ิ จี่ และต้นลำไย ในสวนวังของเขาในมณฑลส่านซี
แตต่ ้นไม้ลม้ เหลว สรี่ อ้ ยปตี ่อมา ตน้ ลำไยเจริญรงุ่ เรอื งในสว่ นอื่น ๆ ของจนี
เช่น ฝเู จีย้ น และกวางตุ้ง ซง่ึ ในไมช่ ้าการผลิตลำไยกก็ ลายเป็นอตุ สาหกรรม
ต่อมาเน่อื งจากการอพยพย้ายถน่ิ ฐานและความต้องการอาหารหวนคืนที่
เพิม่ มากขึ้น ตน้ ลำไยจึงถูกนำมาใช้อยา่ งเปน็ ทางการในออสเตรเลยี ในช่วง
กลางปพี .ศ. 2343 ประเทศไทยในช่วงปลายพุทธทศวรรษ 2340 ฮาวาย
และฟลอรดิ าในปพี .ศ.2443 สภาพดนิ ทรายทีอ่ บอ่นุ ช่วยใหต้ ้นลำไยเติบโต
ได้งา่ ย ทำใหอ้ ตุ สาหกรรมลำไยเรม่ิ ก้าวกระโดดในสถานทเ่ี หลา่ น้แี มจ้ ะ
ประสบความสำเร็จมาอย่างยาวนานในประเทศจีน แต่ลำไยถือเป็นผลไม้ที่
คอ่ นข้างใหม่สำหรับโลก ได้รบั การยอมรบั นอกประเทศจนี ในชว่ ง 250 ปที ่ี
ผา่ นมาเท่าน้นั การรบั รูผ้ ลไมข้ องชาวยุโรปคร้งั แรกไดร้ ับการบนั ทึกโดย
Joao de Loureiro นักพฤกษศาสตร์ นกิ ายเยซูอิต ชาวโปรตุเกส ในปี
พ.ศ. 2333 รายการแรกอยู่ในผลงานสะสมของเขาคือ Flora
Cochinchinensis ปัจจุบัน ลำไยปลูกในภาคใตข้ องจนี ไตห้ วัน ภาคเหนอื
ของไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี กัมพูชา ลาว เวียดนาม อินเดีย ศรลี งั กา
ฟิลิปปนิ ส์ ออสเตรเลยี สหรัฐอเมรกิ า และมอริเชยี ส มันยังปลกู ใน
บงั คลาเทศ
ลำไยเปน็ ไม้ยืนต้นทรงพมุ่ แผ่กว้าง มีต้ังแตข่ นาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ตน้
ท่ีปลกู จากเมลด็ มลี ำตน้ สูงตรง เมอ่ื ปลูกจากกิ่งตอนมที รงพุม่ แผ่กวา้ ง เมือ่
เจรญิ เตบิ โตเต็มสงู 10-12 เมตร เปลอื กลำตน้ สนี ำ้ ตาลหรือสเี ทาปน
นำ้ ตาล แตกเป็นสะเกด็ และร่องขรขุ ระ กิ่งกลมและเน้อื ไมม้ กั เปราะทำให้
กง่ิ หักง่าย
2
สรรพคณุ เปลือกของต้นมีสนี ้ำตาลอ่อนหรอื เทา และมรี สฝาด ใช้ตม้ เปน็ ยาหมอ้ แก้
พันธล์ุ ำไย ทอ้ งรว่ ง ลำตน้ มีขนาดใหญ่ สงู ประมาณ 30-40 ฟตุ เนอ้ื ไม้มสี ีแดงและแขง็
สามารถใชท้ ำเคร่อื งใช้ประดบั บา้ นได้ เน้อื ลำไยกินสดเป็นผลไม้ ทำเปน็
อาหารหวาน เชน่ ขา้ วเหนียวเปียกลำไย วุ้นลำไย ลำไยลอยแกว้ น้ำลำไย
หรอื แปรรูป เช่น บรรจกุ ระป๋อง ตากแห้งสามารถทำเปน็ ชาชงดมื่ เป็นยา
บำรงุ กำลงั ชว่ ยใหห้ ลบั สบายเจรญิ อาหาร แต่ถ้ากินลำไยมากเกินไปจะเกดิ
อาการรอ้ นใน แผลในปาก หรอื ตาแฉะได้[3] ในตำรายาจนี เรียกก้ยุ หยวน
(ภาษาจีนกลาง) หรือ กยุ้ อี้ (ภาษาจนี แต้จิ๋ว) ใช้เป็นยาบำรงุ เลอื ด
กลอ่ มประสาท
ลำไย นิยมปลกู ในหลายประเทศ แหลง่ ปลูกขนาดใหญ่ คอื ประเทศจีนมี
การปลูกลำไยถึง 26 สายพันธุ์ โดยสว่ นมากปลกู ในมณฑลกวางตุง้ 12 สาย
พันธุ์ ปลูกในประเทศใต-้ หวนั อีก 15 สายพนั ธุ์ ปลูกในสหรฐั อเมรกิ า 1
สายพนั ธ์ุ คอื พนั ธ์โุ คฮาลา และในประเทศเวียดนาม ซ่งึ มแี หลง่ ปลูกลำไย
ขนาดใหญไ่ มแ่ พจ้ ากประเทศจนี โดยมักมกั ปลูกในเวยี ดนามทางตอนเหนือ
ทมี่ ีอากาศหนาวเยน็ โดยพนั ธุ์ลำไยของเวยี ดนามนนั้ นำเข้ามาจากประเทศ
จีน ซง่ึ เปน็ สายพันธ์ุที่ทนไดใ้ นอากาศเยน็ จดั จนถงึ จุดเยือกแขง็ ซ่งึ ต่างจาก
ลำไยของประเทศไทยเกดิ การกลายพนั ธุ์เป็นลำไยเมืองรอ้ น สามารถทน
อณุ หภมู สิ งู ไดถ้ งึ 40-43 องศาในฤดูรอ้ น
ลำไยไทย ลำไยในประเทศไทย สามารถแบ่งออกเปน็ กลุ่มและแยกเปน็ ชนิดยอ่ ย เช่น กลุม่
ลำไยพันธุ์ดี (ลำไยกะโหลก), กลุ่มลำไยป่า, กลุ่มลำไยพน้ื เมอื ง(ลำไยกระดูก), กลมุ่
ลำไยเครอื หรอื ลำไยเถา (ลำไยชลบุรี)
1. ลำไยกะโหลก เป็นพันธล์ุ ำไยทใี่ ห้ผลขนาดใหญม่ เี น้อื หนา รสหวาน แบง่ เปน็ อีก
สายพนั ธย์ุ ่อยอีก คือ ลำไยสีชมพู มผี ลใหญเ่ นอ้ื หนา, เมลด็ เลก็ , เนื้อมีสชี มพูเรื่อๆ
รสดมี ากท่สี ดุ
2. ลำไยกระดูก หรือลำไยพื้นเมอื ง เปน็ พนั ธุ์พืน้ เมอื ง ทรงพุม่ กว้าง ใบหนาทึบ ผล
เลก็ มนี ำ้ มาก เนอ้ื นอ้ ยไม่หวาน มนี ำ้ ตาลประมาณ 13.75% ขึน้ ได้ท่วั ไปปลกู ง่าย
เหลือให้เหน็ นอ้ ยเพราะไมน่ ิยมปลกู เนอื่ งจากไม่มรี าคา มีหลายสายพันธยุ์ อ่ ยแต่
มกั เรียกรวมกันว่า ลำไยพืน้ เมือง
3. ลำไยกะลา หรือลำไยธรรมดา ผลปานกลาง เนอ้ื หนากวา่ ลำไยพนั ธก์ุ ระดูก เน้ือ
กรอบบางมนี ำ้ มาก ใหผ้ ลดก
4. ลำไยสายน้ำผ้งึ ลักษณะคลา้ ยลำไยธรรมดา แต่เนอ้ื มสี เี หลืองออ่ น เน้ือมรี สดี
หอมกรอบ เมลด็ เล็ก
3
5. ลำไยเถา หรอื ลำไยเครอื เปน็ ไมต้ น้ รอเลอื้ ย ลำต้นไม่มีแก่นจึงพนั เข้ากับรั้วหรอื
หลกั ผลเลก็ , เมลด็ โตกวา่ ลำไยบ้าน, เนอ้ื หมุ้ เมล็ดบางมีเนอ้ื น้อย รสชาติมกี ล่ิน
คล้ายกำมะถัน จงึ นิยมปลกู ไว้ประดับมากกวา่ รับประทาน นิยมปลกู ไวป้ ระดบั
มากกวา่ ปลกู ไว้รับประทาน ชอบขนึ้ ตามป่าเขา
6. ลำไยขาว เปน็ ลำไยพันธโ์ุ บราณหายาก ในครัง้ หนึง่ เช่อื วา่ เคยสญู พันธุไ์ ปแล้ว
จากประเทศไทย แตใ่ นปี พ.ศ. 2554 ได้มกี ารตามหาและตอนกิง่ ขยายพนั ธุอ์ กี คร้ัง
หน่ึง ผลขนาดเล็กกวา่ ลำไยทวั่ ไป เปลอื กสนี ำ้ ตาลออ่ นเกอื บขาว เน้ือสขี าวใส
เมลด็ ลบี รสหวานและยงั มีลำอีกอยากหลายชนิดทย่ี ังไมถ่ กู จำแนก เชน่ ลำไยใบ
หยก, ลำไยอสี รอ้ ย, ลำไยตอหลวง, ลำไยเพรชน้ำเอก, ลำไยพวงเพชรบา้ นแพว้
เปน็ ตน้ ฯลฯ
คุณคา่ ทางอาหารของลำไย
กองวิทยาศาสตร์กรมวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทยไดท้ ำการวเิ คราะห์
ส่วนประกอบของลำไยปรากฏผลวา่ ลำไยสดทั่วไปประกอบด้วยน้ำ 81.1%
คาร์โบไฮเดรต 16.98% โปรตนี 0.97% เถา้ 0.56% กาก0.28% และไขมัน
0.11%ในลำไยสด 100 กรัมจะมคี ่าความรอ้ น 72.8 แคลอรแี ละมีวติ ามนิ 69.2
มิลลิกรัมแคลเซยี ม 57 มลิ ลกิ รัม ฟอสฟอรัส 35.17 มลิ ลิกรมั และธาตุเหลก็ 0.35
มิลลกิ รมั ลำไยแหง้ ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต 69.06% นำ้ 21.27% โปรตีน
4.61% เถา้ 3.33% กาก 1.50% และไขมัน 0.171%ลำไยแห้ง 100 กรมั จะมีคา่
ความรอ้ น 296.1 แคลอรี แคลเซียม 32.05 มลิ ลิกรมั ฟอสฟอรสั 150.5 มลิ ลกิ รมั
โซเดยี ม 4.78 มิลลิกรัม เหล็ก 2.85 มลิ ลิกรัม โพแทสเซยี ม 1390.3 มลิ ลกิ รมั กรด
แฟนโทซนิ ิค 0.72 มลิ ลิกรมั วิตามินบี 12 จำนวน 1.08 มลิ ลิกรมั ในเมล็ดลำไยมี
ปรมิ าณโปรตนี รวม 6.5% ปริมาณไขมันรวม 1.94% และปริมาณเยอื่ ใยรวมเปน็
8.33% คา่ พลงั งานท่ีใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ เป็น 3,365 kcal/kg สามารถนำไปใช้เปน็
สว่ นประกอบของอาหารสตั ว์ได้ ในเปลือกหุ้มเมล็ดของลำไยมปี ริมาณแทนนนิ สูง
4
บทท่ี 3
วิธีการดำเนนิ งาน
ตะโก้ลำไย
ตะโก้ ในสมยั ก่อนที่ทำกนิ กันนั้นแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คอื ตะโก้ถ่วั ทีม่ าจากถ่วั เขียวที่เรา
กะเทาะเปลือก แช่นำ้ จนนมิ่ แล้วมาบดกวนกับกะทแิ ละนำ้ ตาลจนข้นเหนียว ทส่ี ำคัญคอื ไมม่ ีการ
ใส่แปง้ ดังน้ัน ตวั ตะโกท้ ี่เหนียวขน้ นน้ั จะได้มาจากตัวถวั่ เขียว นำ้ ตาล และกะทเิ ท่านั้น จากนั้นเมอ่ื
กวนจนสกุ ตักใส่ถาดแล้วจะตดั เปน็ ช้นิ ส่ีเหล่ยี มพอคำ ส่วนตะโกอ้ ีกชนดิ หนง่ึ เปน็ ตะโกท้ เี่ รายังเหน็
กนั อยมู่ ากในปจั จุบนั นค้ี อื ตะโก้แป้งข้าวเจา้ มาจากการรวมตัวของแป้ง 3 ชนดิ คือ แปง้ มัน แป้ง
ข้าวเจ้า และแปง้ ถ่ัวเขยี ว มาเค่ยี วกวนกบั นำ้ ตาลทรายจนงวด เหนยี ว ข้น จงึ ตักใส่พมิ พ์ หรอื
กระทงใบเตย ในสมัยกอ่ นจะมีการใสแ่ ห้วด้านลา่ ง ปจั จบุ ันมกี ารดัดแปลงเพิ่มการแต่งหนา้ เปน็
เผือก ข้าวโพดและผลไม้ เชน่ ลำไย เพอ่ื ให้น่ากินมากขน้ึ
สูตรด้งั เดมิ ของตะโกน้ ้ัน การผสมแป้ง 3 ตวั ทง้ั แป้งข้าวเจา้ แป้งมันสำปะหลงั และแป้งถั่ว
เขียวนน้ั เคย่ี วกบั น้ำตาลทรายจะตอ้ งมีการใส่น้ำลอยดอกมะลิร่วมดว้ ยเพื่อความหอม ชื่นใจเม่ือกนิ
ตัวเนอ้ื ตะโก้รว่ มกับกะททิ รี่ าดด้านบน จะไดค้ วามเข้มข้นจากะทิ และความหอมสดช่นื ใสๆ จาก
เน้ือตะโก้ ซ่ึงปัจจุบันนี้ตวั เน้ือตะโก้ท่ีสมัยก่อนจะนำแป้งทง้ั 3 ชนดิ มาเคย่ี วกบั น้ำตาลยงั มกี าร
ดดั แปลงนำสาคูมาใชแ้ ทนแปง้ เพ่อื ลดข้ันตอนในการทำ แตค่ วามอรอ่ ยกจ็ ะนอ้ ยกว่าตะโก้ดง้ั เดมิ
กระทงใบเตย
วิธที ำกระทงใบเตย ครไู ดอ้ ธบิ ายให้เขา้ ใจง่ายๆ บอกวิธที ำโดยละเอียดและใหศ้ กึ ษาใน
youtube นักเรียนทกุ คนสามารถทำได้ ใชส้ ำหรบั ใสข่ นมตะโก้ต่างๆ ซงึ่ เป็นของคกู่ นั ทำให้ดูน่า
รบั ประทานยง่ิ ขึ้น และนี่คือประโยชนข์ อง ใบเตยอยา่ งหนึง่ และยังสวยงามเปน็ ธรรมชาติอกี ด้วย
วิธีเลอื กใบเตยที่เขียวสด จากนนั้ นำมาตัดเอาสว่ นกลาง จะได้ความกว้างกวา่ สว่ นอ่นื แลว้ นำมาตัด
จากดา้ นนอก มาถงึ ตรงกลางเปน็ 5 สว่ นเท่าๆกัน จากนัน้ นำมาพับมุม แลว้ พับเขา้ หากันใช้แมก็
เยบ็ ตดิ จะได้กระทงใบเตย ใช้สำหรับใส่ขนมตะโก้ต่างๆ
วสั ดอุ ุปกรณส์ ำหรบั ทำกระทงใบเตย
ใบเตย 50 ใบ
ไมบ้ รรทัด 1 อนั
แมก็ ซ์เยบ็ 1 อัน
กรรไกร 1 อนั
รปู ที่ 3 วสั ดอุ ปุ กรณ์สำหรบั ทำกระทงใบเตย
5
ส่วนผสมสำหรับทำตะโก้ลำไย น้ำตาลทรายขาว 100 กรมั
น้ำตาลมะพร้าว 100 กรัม
ตัวตะโก้ เกลอื 1/2 ชอ้ นชา
สำหรับใสต่ ะโก้
น้ำต้มใบเตย 1,000 กรัม
แป้งขา้ วเจ้า 120 กรมั
แป้งทา้ วยายมอ่ ม 30 กรมั
ลำไยสด คว่ันเมลด็ 1 ถ้วย
รูปที่ 4 แป้งข้าวเจ้า รูปท่ี 5 แปง้ ทา้ วยายมอ่ ม รูปท่ี 6 ลำไยสดคว่นั เมลด็ รูปท่ี 7 นำ้ ตาลทรายขาว
รปู ที่ 8 นำ้ ตาลมะพรา้ ว รูปที่ 9 เกลือ รปู ท่ี 10 กระทงใบเตย
สว่ นหน้าตะโก้
กะทิ 1,000 กรัม
แป้งข้าวเจ้า 85 กรมั
นำ้ ตาลทรายขาว 40 กรมั
เกลอื 2 ช้อนชา
ลำไยสด ควัน่ เมลด็ คร่ึงถ้วย สำหรบั แต่งหนา้ ตะโก้
รปู ที่ 11 กะทิ รปู ที่ 12 แปง้ ขา้ วเจ้า รูปที่ 13 นำ้ ตาลทรายขาว รปู ที่ 14 เกลือ รูปท่ี 15 ลำไยสดคว่นั เมลด็
6
บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ งาน
วธิ ีการและขน้ั ตอนการทำกระทงใบเตย
1. เลอื กใบเตยทสี่ เี ขียวสด เลือกใบเตยขนาดใหญ่ จากน้ันนำใบเตยมาลา้ งน้ำ ใหส้ ะอาด
แล้วเชด็ ใหแ้ ห้ง เตรียมไว้
2. จากนัน้ ตดั ส่วนโคนต้น และสว่ นปลายของใบเตยออก ใช้เฉพาะสว่ นตรงกลาง จะได้
ความกวา้ งกว่าสว่ นอน่ื แล้ววัดตัดออก ความยาวประมาณ 5.5 นว้ิ
3. แล้วจากน้นั ตัดจากด้านนอก เขา้ มาถงึ ตรงกลาง จะนับไดม้ ีรอยตดั 4 คร้ัง แตจ่ ะแบ่งได้
เป็น 5 สว่ นเท่าๆ กัน
4. จากนั้นพบั แตล่ ะสว่ นเข้าหากัน เรมิ่ จากสว่ นท่แี ข็งเป็นสว่ นที่หนึ่ง แลว้ พับไปหาสว่ นที่
สอง แลว้ พับไปหาสว่ นทส่ี าม แล้วพับไปหาสว่ นทีส่ ่ี จะบรรจบทส่ี ว่ นท่หี น่ึง จากน้นั พบั
ส่วนทหี่ า้ พับเข้าดา้ นบน เมือ่ พบั ได้ครบทกุ มมุ แลว้ จากนัน้ ใช้แม็กซ์เย็บติดกนั
7
5. จะไดก้ ระทงใบเตย ดูจากดา้ นลา่ งจะได้ หนา้ ตาขัดกันเป็นรูปตามแบบ
6. จะได้กระทงใบเตยพับเสร็จ พร้อมใช้สำหรบั ใสข่ นมตะโกห้ นา้ ต่างๆ
7. กระทงใบเตย สำหรับใสข่ นมตะโก้หนา้ ต่างๆ ซึ่งเป็นของคู่กัน สำหรบั ใส่ตะโกส้ าคู
ข้าวโพด ตะโกเ้ ผอื ก ตะโก้เมด็ บัว ตะโกแ้ หว้ และตะโก้ลำไย ทำให้ดูนา่ รับประทาน
ย่ิงขน้ึ
8
วิธแี ละขน้ั ตอนการทำตะโก้ลำไย
เตรียมลำไยสดแกะเปลอื กและแกะเมล็ดออก นำไปล้างนำ้ สะอาดและนำมาพักเอาไว้กอ่ น
เตรียมกระทะทองเหลือง จากน้ัน ใส่ส่วนผสมของตัวขนมตะโก้ คนใหส้ ว่ นผสมทั้งหมดให้
ละลาย แล้วนำไปตงั้ ไฟกลางกวนให้เนอ้ื ตะโก้มีลักษณะขน้ ใส และสุกจนท่ัวถึง
จากนน้ั ใส่เนอ้ื ลำไยลงไป ยกกระทะลง ตักใสก่ ระทงใบเตยทเี่ ตรยี มไว้ประมาณครึ่งกระทง
ตอ่ ไปจะทำการกวนสว่ นของหน้าขนมตะโก้ ใส่ส่วนผสมทั้งหมดลงในกระทะคนให้
สว่ นผสมละลายเปน็ เนื้อเดยี วกัน ยกขนึ้ ตงั้ ไฟกลาง กวนจนสว่ นผสมสกุ ขน้
ยกกระทะลง ตักใส่ในกระทงใบเตยท่มี ีตวั ขนมอยกู่ ่อนแลว้ ใหเ้ ตม็ กระทง ตกแต่งด้วยเนอื้
ลำไยสด พรอ้ มจัดเสิรฟ์ หรอื จดั จำหนา่ ย
9
เคลด็ ลับการทำ ขนมตะโกล้ ำไย
การเลอื กซอ้ื ลำไย ให้ ซ้ือลำไยสดใหม่และเม็ดขนาดย่อมๆจะไดป้ รมิ าณเนื้อลำไยที่มากแปง้
ข้าวเจ้าหากต้องการเพ่มิ ความหอมของแปง้ ให้นำไป อบควนั เทียน และดอกมะลิ ก่อน 1 คนื การ
กวนแปง้ เป็นขั้นตอนสำคัญ ตอ้ งกวนใหแ้ ปง้ สุกและเปน็ เนอ้ื เดยี วกันเท่าน้ันแปง้ จงึ จะอรอ่ ย
การกวนกะทสิ ว่ นหน้าขนม เป็นขัน้ ตอนสำคัญอีกข้ันตอนหน่งึ ให้ผสมสว่ นผสมของกะทิ
กวนให้เป็นเนอ้ื เดยี วกันกอ่ น นำข้นึ ตงั้ ไฟกวน และกวนลกั ษณะตนุ๋ จะทำให้ความร้อนไปถึงกะทไิ ม่
มากและเรว็ เกนิ ไป จะได้ เนือ้ กะทิ เนยี น นุม่ อรอ่ ย
10
บทที่ 5
สรปุ ผลการศกึ ษา
สรุปผลการศกึ ษา
การศึกษาการทำตะโก้ลำไย เปน็ การนำสง่ิ ทีใ่ กลต้ วั มาประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
เปน็ การฝกึ ใหใ้ ช้ความคิดสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ทจี่ ะนำมาพัฒนาเปน็ อาชพี เสรมิ ได้
ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากโครงงาน
1. ไดร้ บั ความรู้จากการทำตะโก้ลำไย
2. ไดร้ ับประโยชนจากการทำตะโกล้ ำไย
3. ฝึกฝนความอดทนและความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ของเดก็ นกั เรียน
4. ลดการใชพ้ ลาสติกท่ไี ม่เป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม
5. นักเรยี นนำความรทู้ ี่ได้ไปประกอบอาชพี เสรมิ เพอ่ื หารายไดใ้ ห้กับครอบครัว
ขอ้ เสนอแนะ
จากการศึกษาโครงงานการทำตะโก้ลำไย นกั เรียนสามารถพัฒนาใหเ้ ป็นอาชีพเสริมได้
11
บรรณานุกรม
เวปไซด์ : https://www.pholfoodmafia.com/recipe/ta-go-ตะโก้/
เวปไซด์ : https://nlovecooking.com/tag/ขนมตะโก/้
เวปไซด์ : https://th.wikipedia.org/wiki/ลำไย
เวปไซด์ : https://www.thai-thaifood.com/th/วิธีทำกระทงใบเตย/
12
ภาคผนวก
13
แบบสรปุ ผลการปฏิบัติงานโครงงานอาชีพ ตะโกล้ ำไย (วัดทงั้ กลุ่ม)
ท่ี รายชอ่ื กระบวนการ ผลงาน คุณลักษณะ คะแนน สรุปผล
1 นายธีรภัทร พิศพงษ์ ปฏิบัตงิ าน รวม
2 นายกฤษฎา แสงทับ
3 นายจีรพฒั น์ ศริ ิเจริญ 12 13 9 34 ดี
4 นายเฉลมิ พร สายยศ
5 นายเตวิช ท้าวศรสี กลุ 13 14 10 37 ดเี ยย่ี ม
6 นายภานวุ ัฒน์ บุญเพ่ิม
7 นายภิญโญ สมพันธ์แพ 13 14 10 37 ดีเย่ยี ม
8 นายกำพล คำตยุ้
9 นายศตวรรษ ดวงคำ 13 14 10 37 ดเี ย่ียม
10 นายศริ ศีล ศตั รูพนิ าศ
11 นายสิรภพ พลู เจริญ 11 13 8 32 ดี
12 นายสรวิชญ์ ทองเตม็
13 นางสาวรงุ่ ไพลนิ วิบลู ย์มานิตย์ 12 13 9 34 ดี
14 นางสาวอภิญญา ผินแปร
15 นางสาวเนตรนภา ตา่ ยคำ 14 14 10 38 ดเี ยย่ี ม
16 นางสาวภสั รา พมิ พสิ นท์
17 นางสาวรุ่งทิวา วรนาม 12 13 9 34 ดี
18 นางสาวรีเมง่ วร
19 นางสาวเพชรดา พรมทอง 12 13 9 34 ดี
12 13 9 34 ดี
12 13 9 34 ดี
12 13 9 34 ดี
13 14 10 37 ดเี ย่ยี ม
12 13 10 35 ดีเยี่ยม
13 14 10 37 ดีเยย่ี ม
12 13 10 35 ดเี ยย่ี ม
14 14 10 38 ดเี ยย่ี ม
14 14 10 38 ดเี ยี่ยม
12 13 10 35 ดีเยี่ยม
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขนมไทย 1 รหัสวิชา ง30203
การทำขนมตะโกล้ ำไย
รายการ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน
54321 (40)
กระบวนการปฏิบตั งิ าน
1. การวางแผนและปฏิบัติงาน
2. การเตรยี มวัสดุ – อุปกรณ์
3. การปฏิบัตงิ านตามขั้นตอน
ผลงาน
1. สวยงาม รสชาตอิ ร่อย
2. ความถกู ต้อง สมบูรณ์ของชน้ิ งาน
3. ความคดิ สร้างสรรค์
คณุ ลกั ษณะ
1. ความรับผิดชอบ
2. ความภาคภูมิใจในผลงาน
สรุปคะแนน
ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การประเมนิ ภาพรวม
5 (ดีเยี่ยม)
รายละเอยี ด
4 (ด)ี - มีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
- เลือกใช้วัสดุ – อุปกรณ์ได้อยา่ งถูกต้อง
3 (พอใช้) - รสชาตอิ ร่อย หน้าตาสวยงาม ถูกต้อง
- อธิบายข้ันตอนการทำได้ สามารถแนะนำเพื่อนได้
2 (ปรบั ปรุง) - ส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด มคี วามภาคภมู ใิ จในผลงาน
- มีการวางแผนการทำงานอย่างเปน็ ระบบ
1 (ตอ้ งปรับปรุง) - เลือกใชว้ สั ดุ – อปุ กรณ์ไดอ้ ย่างถูกต้อง
- รสชาตอิ รอ่ ย หนา้ ตาสวยงาม
- อธบิ ายข้ันตอนการทำได้
- ส่งงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนด มีความภาคภูมใิ จในผลงาน
- มีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
- เลือกใชว้ ัสดุ – อปุ กรณ์ได้
- รสชาติอร่อย
- อธิบายขน้ั ตอนการทำได้
- ส่งงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนด มคี วามภาคภมู ใิ จในผลงาน
- มกี ารวางแผนการทำงาน
- เลือกใช้วสั ดุ – อุปกรณ์ได้
- รสชาติตอ้ งปรบั ปรุง
- อธบิ ายขั้นตอนการทำได้ แต่ไม่ครบถว้ น
- ส่งงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนด มีความภาคภูมใิ จในผลงาน
- มกี ารวางแผนการทำงาน
- เลอื กใช้วสั ดุ – อปุ กรณ์ได้
- รสชาตติ อ้ งปรบั ปรงุ
- อธิบายขนั้ ตอนการไมไ่ ด้
- เสร็จไมท่ ันในเวลาทก่ี ำหนด
หมายเหตุ
การพจิ ารณาการให้คะแนนผลงานกำหนดดงั น้ี
คะแนน 5 แสดงถงึ คุณภาพ ดีเยย่ี ม
คะแนน 4 แสดงถึงคุณภาพ ดี
คะแนน 3 แสดงถึงคุณภาพ พอใช้
คะแนน 2 แสดงถงึ คุณภาพ ปรบั ปรุง
คะแนน 1 แสดงถึงคุณภาพ ตอ้ งปรับปรุง ไมผ่ ่าน
เกณฑส์ รุปผล ผลงานดีเย่ยี ม
ผลคะแนน 40-35 ผลงานดี
ผลคะแนน 34-30 ผลงานพอใช้
ผลคะแนน 29-25 ผลงานปรบั ปรุง
ผลคะแนน 24-20 ผลงานตอ้ งปรบั ปรุง ไมผ่ ่าน
ตำ่ กว่า 20
ภาพการนำเสนอโครงงาน