-รา่ ง-
สจู ิบตั ร
เนอ่ื งในโอกาส
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ี
000
เสดจ็ พระราชดาเนินทรงประกอบพิธตี ัดหวายลกู นิมติ
วันองั คารที่ ๒๗ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ เวลา ๑๗.๐๐ น.
วดั ปา่ นานาชาติ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวัดอุบลราชธานี
กาหนดการ
วัดป่านานาชาติ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านบุ่งหวาย หมู่ที่ ๗ ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ
จงั หวดั อุบลราชธานี มเี นอ้ื ที่ ๒๕๗ ไร่ ๒ งาน ๘๕.๑ ตารางวา และท่ดี นิ สาธารณประโยชน์ (ปา่ ช้า) มีเน้อื ที่โดยประมาณ ๘๖ ไร่ ตงั้ วดั เมื่อ
วันท่ี ๓๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับพระราชทานวิสงุ คามสีมาเมอ่ื วันท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีเขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร
ยาว ๘๐ เมตร วัดป่านานาชาติ สร้าง โดยพระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ัทโธ) วดั หนองป่าพง ในช่วงแรกพระพรหมวชริ ญาณ (โรเบริ ์ต สุเมโธ)
มาปักกลดบริเวณสิมเก่า (โบสถ์) อยู่กลางป่า เป็นอุโบสถ์เก่าแก่มีอายุราว ๗๐๐ - ๑๐๐๐ ปี เดิมรู้จักกันในนามว่า
“วัดหนองปา่ เขน” ทถี่ กู ปลอ่ ยเป็นวัดรา้ ง ตอ่ มาพระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ทั โธ) แห่ง วัดหนองป่าพง พร้อม พระพรหมวชริ ญาณ (โรเบริ ต์ สุ
เมโธ) ได้เข้ามาปกั กลดทีบ่ ริเวณสถานที่แห่งนี้ จงึ มกี ารใช้สถานท่ีสิมเก่าสาหรับการลงปาติโมกข์ และญาติโยมได้ช่วยกันสร้างอาคารขึ้น
ช่วั คราวใน ๑๐ ปแี รก วดั ปา่ นานาชาติ ยงั มีการพัฒนาวดั ขน้ึ และมีชาวตา่ งชาติเข้ามาขอบวชเป็นพระภิกษุสามเณรอย่างต่อเนื่อง จึงเห็น
วา่ อโุ บสถช์ ั่วคราวบน ซากสมิ เก่านั้น ไมส่ ะดวกแล้ว สมควรทจี่ ะสร้างโบสถ์อยา่ งถาวรขน้ึ มา ณ ทีน่ นั้ เริม่ สรา้ งเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ และได้
แลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ จงึ อาศยั การกาหนดท่ีเรยี กวา่ “สีมาปา่ ” ได้ ซ่ึงพระพทุ ธองค์ทรงอนญุ าตการสมมุตสิ ีมาป่าข้ึนเปน็ การชวั่ คราว
เป็นการช่ัวคราว จากนั้นมาวัดป่านานาชาติมีความม่ันคงมากข้ึนในการทากิจทางศาสนา ขอต้ังวัดและขอวิสุงคามสีมา และเกิดความ
จาเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งบรู ณะซ่อมแซมโบสถ์ เพราะเวลาผ่านไปเกอื บ ๒๐ ปี ทาให้อโุ บสถเสอื่ มสภาพ จงึ ไดซ้ ่อมบูรณะ หลังจากนั้นในช่วงท่ีพระ
ครอู บุ ลภาวนาวิเทศ (เกวลี) ได้รักษาอาคารโบสถห์ ลงั เดิมให้อยู่ในสภาพเดมิ และดาเนินขอปักเขตพระราชทานวิสุงคามสมี า
ในวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ได้มีการปักเขตพระราชทานวิสุงคามสีมา และได้ปรารภถึงการสร้างโบสถ์หลังใหม่ข้ึน
เพราะการใช้โบสถเ์ ก่าในเขตป่าชา้ สาธารณะ ใช้ได้เฉพาะในทางเป็นสีมาป่า ซ่ึงไม่สมควรสาหรับการทาสังฆกรรมบางประเภท เช่นการ
อปุ สมบท วัดปา่ นานาชาติ จงึ ได้เรม่ิ ดาเนินการออกแบบและก่อสรา้ งโบสถห์ ลังใหมข่ นึ้ ในเขตวสิ ุงคามสีมาเดิมในช่วง พ.ศ. ๒๕๖๑ และ
พ.ศ.๒๕๖๒ ไดเ้ ริ่มการสร้างอุโบสถหลังใหมเ่ พื่อปฏบิ ัติศาสนกจิ ให้สบื ตอ่ สรา้ งเสรมิ ความมน่ั คงรงุ่ เรืองในพระพุทธศาสนา อุโบสถหลังใหม่
ของวัดปา่ นานาชาติสร้างข้ึนตามสถาปัตยกรรมคลาสสิคของภาคอสี าน เป็นสถาปัตยกรรมล้านช้าง มีเอกลักษณ์ สิม หรือ วิหารของวัด
หลวง ซ่ึงเจ้าคาผง ( พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ ) เจา้ ครองนคร องค์แรกของเมือง เมื่อมีการเขียนแบบอุโบสถหลังใหม่ โดยการนาเอาสิม
หรอื วิหารวดั หลวงมาเป็นตน้ แบบ เหมาะสมเรียบงา่ ย ควรแก่การปฏิบัติศาสนกิจของวัดป่านานาชาติ ทั้งยังนารับเอาแนวคิด สิมไร้ผนัง
อยา่ งอีสาน ของพระครอู บุ ลภาวนาวเิ ทศ (เกวลี) มาเพอื่ เปน็ การรกั ษารปู แบบของอุโบสถสายวัดหนองป่าพง อีกท้ังยังยึดถือเอาเส้นสาย
ของความงามตามคตินยิ มแบบเมืองอุบลเป็นสาคัญ โดยมี พระพุทธสุเมธคุณ เป็นพระประธานในอุโบสถ สร้างสลักจากหินทราย ส่วน
วิสุงคามสีมา ได้สร้างจากหินทรายเพ่ือเป็นหลักฐานถาวรวัตถุ ซ่ึงเสาแต่ละต้นนั้นมีการจารึกพุทธศาสนสุภาษิตและคาสอนของพระ
โพธิญาณเถร (หลวงปชู่ า สุภัทโธ) และ พรหมวชริ ญาณ (โรเบิร์ต สุเมโธ) เป็นภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาอังกฤษ เพ่ือให้นักปฏิบัติ
และนกั บวชจากท่วั โลกท่ีเข้ามาบาเพญ็ ภาวนาที่วัดป่านานาชาตไิ ด้พิจารณาและระลึกถงึ โดยไมม่ ีชาติ ช้ัน วรรณะมาแบง่ กน้ั การออกแบบ
และควบคุม ดแู ลการแกะสลักหนิ โดยพระครนู ิโครธธรรมาภรณ์ (หลวงพ่อเอนก ยสทนิ ฺโน) วดั ป่าไทรงาม และปรับปรุงภูมิทัศน์แห่งนี้ ให้
เป็นสถานทปี่ ฏบิ ัติธรรม หาความเงยี บสงบตามธรรมชาตใิ นรูปแบบของวดั ปา่
บัดนี้การก่อสร้างอุโบสถได้สาเร็จแล้ว ด้วยความตั้งใจม่ัน ความพากเพียรวิริยะ ความเสียสละเพ่ือยังประโยชน์ต่อ
พระพุทธศาสนา และพุทธศาสนิกชนที่
และในการนี้ วัดป่านานาชาติ และคณะกรรมการจัดงานวัด จึงขอพระมหากรุณาธิคุณ ขอพระราชทานกราบบังคมทูลเชิญ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงประกอบพิธีตัดหวายลกู นิมติ เพ่อื ให้งาน
ฉลองอุโบสถ สงา่ งามบารมี แห่งอาราม เปน็ ศริ ิสวัสดิ์พพิ ฒั นมงคล เป็นเกียรติประวัติแก่ วัดป่านานาชาติ และชาวพุทธศาสนิกชน ชาว
จังหวัดอุบลราชธานี และนานาชาติ สบื ไปตลอดกาลนาน
หนา้ ๑
หลวงพอ่ ชา สภุ ทโฺ ท พระโพธิญาณเถร ไดต้ ั้งวัดป่านานาชาติขึ้นใน ปี พ.ศ.2518 เพ่ือให้ลูกศิษย์ที่เป็นชาวต่างชาติ
ของท่าน มีพระสุเมโธ เป็นรูปแรก ได้ใช้เป็นท่ีพานักสงฆ์เพื่อศึกษาและปฏิบัติพระธรรมวินัยตามปฏิปทาที่สืบทอดมาแต่
บรู พาจารยม์ หี ลวงปู่เสาร์ หลวงปมู่ ั่นเป็นต้น จนกอ่ ให้เกิดศรัทธาแก่ญาตโิ ยมทง้ั หลายทั้งท่เี ป็นชาวไทย และชาวต่างประเทศ
ที่สื่อสารด้วยภาษาอื่นๆ มีภาษาอังกฤษเป็นหลัก จนสามารถเผยแผ่หลักธรรมคาสอนของพระบรมศาสดาโดยน้อมนาวิถี
ปฏบิ ัตติ ามแนวทางฝ่ายอรญั วาสีจนปรากฏแผ่ไพศาลไปในนานาประเทศท่ัวโลก
ในปี พ.ศ.2541 วัดป่านานาชาติได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ( ปักเขต ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2557 )
ถือได้วา่ เป็นการไดร้ ับการยอมรับนบั ถอื และให้เกียรตแิ ก่คณะสงฆ์ซง่ึ แม้ไมไ่ ด้ถือสัญชาติไทยก็ไม่ใช่ข้อจากัดในการรักษาข้อ
วัตรปฏิบัติให้งดงามสบื ต่อไป อีกทั้งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันคือ พระครูอุบลภาวนาวิเทศ ( เฮ็นน่ิง เกวลี ) ก็ได้ผ่านการสอบ
เป็นพระอุปัชฌาย์ตามระบบคณะสงฆ์ไทย แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับ17 พ.ศ.2536 จึงเพิ่มพูนคุณสมบัติอันประเสริฐ
สมควรที่ใหว้ ดั ปา่ นานาชาติในปัจจุบัน จะได้เป็นศูนย์กลางแห่งกาลังสาคัญในการเผยแผ่หลักธรรมคาสอนของสมเด็จพระ
สัมมาสมั พทุ ธเจ้าให้กว้างไกลไพศาลยง่ิ ๆขึน้ ไปในอนาคต
ดว้ ยเหตปุ ัจจยั อนั พรอ้ มมลู ดงั ไดก้ ล่าวมาแล้วจึงได้เกิดดาริในการสร้างอุโบสถหลังใหม่เพื่อปฏิบัติศาสนกิจให้สืบต่อ
สรา้ งเสริมความม่นั คงรงุ่ เรอื งในพระพุทธศาสนา เม่อื พระอาจารยเ์ กวลีไดพ้ บภาพเกา่ ของสิม (อโุ บสถ) หลงั หน่งึ และมีความ
ประทับใจในความเรียบง่ายสง่างาม อีกท้ังยังมีสัดส่วนและองค์ประกอบทางด้านสถาปัตยกรรมท่ีงดงามเป็นเอกลักษณ์
โดยท่ีท่านไม่ทราบมาก่อนว่าศาสนาคารนั้นคือ สิม หรือ วิหารของวัดหลวง ซึ่งเจ้าคาผง ( พระปทุมวรราชสุริยวงศ์ )
เจา้ ครองนคร องคแ์ รกของเมืองอบุ ล ซงึ่ ตอ่ มาไดส้ ถาปนาข้นึ เป็นเมืองอบุ ลราชธานีศรีวนาลยั ประเทศราช ได้ทรงสร้างขึ้นให้
เป็นพระอารามหลวง คกู่ นั กับโฮงหลวง (วังหลวง)ของพระองคท์ ส่ี ันนษิ ฐานว่ามีท่ีตัง้ อยู่ค่ขู นานกนั
หนา้ ๒
เม่ือมีการเขียนแบบอุโบสถหลังใหม่นี้ สถาปนิกจึงได้น้อมเอาแนวความคิดนั้น โดยการนาเอาสิม หรือวิหารวัด
หลวงมาเปน็ ตน้ เค้า แลว้ ประมวลเอาความประทับใจในองค์ประกอบจากสถาปัตยกรรมอีสานแบบล้านช้างมากาหนดลงใน
สดั ส่วนใหมท่ ี่มขี นาดเหมาะสมสงา่ งาม ควรแกก่ ารปฏิบัติศาสนกิจของวดั ป่านานาชาติ ทงั้ ยังน้อมรับเอาแนวคิด“ สิมไร้ผนัง
อย่างอสี าน ”ของพระอาจารยเ์ กวลีมา เพ่อื เป็นการรกั ษารปู แบบของอุโบสถวัดหนองป่าพง อีกทั้งยังยึดถือเอาเส้นสายของ
ความงามตามคตินิยมแบบเมืองอบุ ลเป็นสาคัญ แล้วน้อมนาแนวคิดที่มีพระประธาน คือ“พระพุทธสุเมธคุณ”อันสร้างสลัก
จากหินทรายประดิษฐานในทา่ มกลางแมกไมเ้ ปน็ ฉากหลัง ประหน่ึงดงั พระพทุ ธองค์ประทับอยูท่ า่ มกลางหมู่สงฆส์ าวกฉะนนั้
บัดน้กี ารกอ่ สร้างอโุ บสถทส่ี งา่ งามหลังหนึ่งของประเทศไทยได้สาเร็จแล้ว ด้วยความตั้งใจมั่น ความพากเพียรวิริยะ
และความเสียสละเพอ่ื ยังประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ต่อพุทธศาสนิกชนท่ีมิได้เฉพาะเจาะจงแต่เพียงพระสงฆ์ท่ีมีกาเนิด
จากต่างประเทศเท่าน้นั แตจ่ ะยังประโยชนต์ อ่ มวลมนษุ ยชาตทิ ัง้ หลายทมี่ ศี รทั ธาในการเจริญทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญา
พ้นทกุ ข์ในทสี่ ุด
ความงดงามใดๆ ความสง่างามใดๆ ของอุโบสถหลังน้ีที่สัมผัสได้ด้วยจักขุวิญญาณย่อมสร้างความอิ่มเอมใจแก่ผู้ได้มา
พบเหน็ แต่ไม่มคี วามงามใดเหนอื ไปกว่าความงดงามของศรัทธา และ กตัญญูกตเวทิตาของคณะสงฆท์ ่ีมีกาเนิดในต่างแดนน้ี
มีต่อบูรพาจารย์ ครูบาอาจารย์ หลวงพ่อชา สุภทฺโท และมีต่อแผ่นดินเมืองอุบล ที่ซ่ึงให้กาเนิดชีวิตใหม่ เป็นบ้านเกิดใหม่
ภายใตค้ วามสงบรม่ เยน็ ในบวรพระพุทธศาสนามาเน่ินนานผา่ นกาลเวลา และจะย่ังยนื ไปตลอดกาลนาน
นายมีชัย แต้สจุ รยิ า
15 พฤศจิกายน 2565
หนา้ ๓
ประวัตวิ ดั ปา่ นานาชาติ
สภาพฐานะและทตี่ ้ังวดั
วดั ป่านานาชาติเป็นวัดราษฎร์ สงั กัดคณะสงฆม์ หานิกาย ตง้ั อยทู่ ี่บ้านบุ่งหวาย หมูท่ ี่ ๗ ตาบลบุ่งหวาย อาเภอ
วารินชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี ที่ดนิ ตัง้ วดั มีเน้ือท่ี ๒๕๗ ไร่ ๒ งาน ๘๕.๑ ตารางวา และที่ดินสาธารณประโยชน์ (ป่าช้า) มี
เนือ้ ทีโ่ ดยประมาณ ๘๖ ไร่ ต้งั วดั เม่ือวันท่ี ๓๐ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับพระราชทานวสิ งุ คามสีมาเม่ือวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๔๑ มีเขตวสิ ุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร มีอาณาเขตดังนี้
ทศิ เหนอื จรด ทางสาธารณประโยชน์
ทศิ ใต้ จรด ทดี่ ินทากนิ ชาวบ้าน (ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข ๒๒๖
อุบลราชธานี-ศรสี ะเกษ)
ทิศตะวนั ออก จรด ทางสาธารณประโยชน์
ทศิ ตะวนั ตก จรด ทางสาธารณประโยชน์
ประวตั คิ วามเปน็ มา
วัดป่านานาชาติเป็นวัดป่าสายวัดหนองป่าพง
ต้ังอยู่ท่ีบ้านบุ่งหวาย ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชา
ราบ จังหวัดอุบลราชธานี ก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘
โดยมหี ลวงปูช่ า สภุ ทฺโท (พระโพธิญาณเถร )
วดั หนองปา่ พงเป็นผู้ก่อต้งั มูลเหตุและแรงดลใจในการสร้างวัดคือ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ พระโรเบิร์ต สุเมโธ (พระพรหมวชิร
ญาณ, ๒๕๖๕) พระชาวอเมริกัน ได้มาอยู่อาศัยกับหลวงปู่ชา เพ่ือศึกษาพระธรรมวินัยและ แนวทางการปฏิบัติธรรม
กัมมฏั ฐาน ซึ่งเป็นพระลูกศษิ ยช์ าวตา่ งชาตริ ูปแรก หลงั จากนนั้ ไดม้ ีพระชาวตา่ งชาติทยอยกันเดินทางเข้ามาอยู่อาศัยกับหลวง
ป่ชู ามากข้ึน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ วดั หนองปา่ พงมีพระสงฆท์ ง้ั พระไทยและพระชาวต่างชาติ จาพรรษาอยเู่ ปน็ จานวนมาก ฟืนบ่ม
บาตรหายาก หลวงปู่ชาจงึ ไดอ้ นญุ าตให้พระสงฆ์ท้ัง พระไทยและพระชาวต่างชาติ ผู้ท่ีต้องการจะบ่มบาตร ออกมาบ่มบาตร
ที่ป่าช้าบ้านบุ่งหวาย เพราะมีไม้ฟืนมาก หาฟืนได้ง่าย ชาวบ้านบุ่งหวายมีจิตศรัทธาในพระสงฆ์วัดหนองป่าพง จึงได้นิมนต์
คณะพระภิกษุสามเณรชดุ แรกจานวน ๖ รูป ทม่ี าบม่ บาตรปักกลด พักวิเวกปฏิบัติธรรม หลังจากนั้นไม่นานชาวบ้านบุ่งหวาย
ได้ไปกราบ หลวงปู่ชา ขอนิมนต์ให้พระเณรอยู่จาพรรษาต่อ หลวงปู่ชาเมตตาให้สร้างสานักสงฆ์โดยมอบหมายให้
พระอาจารย์สุเมโธเป็นหัวหน้า ญาติโยมได้แบ่งกันเป็นเจ้าภาพในการสร้างกุฏิและเพิงมุงหญ้าคา ในพรรษาแรกน้ันมีพระ
ทั้งหมด ๑๐ รปู และปะขาว ๑ คน ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๕๑๙ คณะศรทั ธาญาติโยมได้นาผ้ากฐนิ มาทอดถวายและไดส้ ร้างศาลาใหม่
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เรม่ิ สรา้ งวหิ ารในตาแหนง่ ทพี่ บเสมาเก่า และสรา้ งเสร็จในอกี สองปตี ่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้รับ
การประกาศตั้งเปน็ วัดในพระพทุ ธศาสนา แตเ่ นอ่ื งจากพระชาวต่างชาตมิ เี พม่ิ มากขน้ึ ทกุ ปี ญาตโิ ยมจงึ ได้มจี ติ ศรัทธาถวายที่ดิน
เพ่มิ ปจั จุบนั (พ.ศ.๒๕๖๕) มีเน้ือทว่ี ัดทงั้ หมด ๒๕๗ ไร่ มกี ฏุ ิ ๕๗ หลัง พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดท้ ากาแพงลอ้ มรอบวัดและได้มีการปลูก
ปา่ ทดแทนขึ้นจากเดมิ เป็นไรป่ อทถ่ี ูกท้งิ รา้ งไว้ ปจั จบุ นั ไดก้ ลายเป็นป่าที่อดุ มสมบรู ณ์ขึน้
หน้า ๔
เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ ได้สร้างศาลาการ
เปรียญหลังใหม่ข้ึนโดยหลวงพ่อเล่ียม ฐิตธมฺโม (พระเทพวชิร
ญาณ, ๒๕๖๕) เป็นผอู้ อกแบบและดูแลควบคุมการดาเนินงาน
ตลอดการก่อสร้าง โดยในคร้ังน้ีมีชาวบ้านบุ่งหวาย ศิษยานุ
ศษิ ย์ ร่วมกับพระภิกษุสามเณร จากวัดหนองป่าพงและวัดป่า
นานาชาติ ได้ร่วมแรงสามัคคีช่วยกันก่อสร้างจนแล้วเสร็จใน
เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ขนานนามศาลาหลังใหม่นี้ว่า
ฐิตะธรรมศาลา ตามนามฉายาหลวงพ่อเลย่ี ม ฐติ ธมโฺ ม
วัดป่านานาชาติมีสาขา ๒ แห่ง คือ ที่พักสงฆ์ภูจ้อมก้อม
อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี และท่ีพักสงฆเ์ ต่าดา
อาเภอไทรโยค จงั หวดั กาญจนบรุ ี
การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
วัตถุประสงคแ์ รกเรมิ่ ของหลวงปู่ชา ที่ตง้ั วัดปา่ นานาชาตขิ น้ึ คือการเปิดโอกาสใหช้ าวต่างชาตเิ ขา้ มาศกึ ษาพระธรรมวินัย
จนสามารถที่จะออกบวชเป็นพระภิกษุและปฏิบัติตามข้อวัตรสายวัดป่าได้ โดยให้พระชาวต่างชาติเป็นหัวหน้าปกครองดูแล
กนั เอง เพราะสะดวกในการสอ่ื สารซง่ึ เป็นภาษาอังกฤษ ถ้ามปี ัญหา ทีแ่ กไ้ มต่ กจงึ เขา้ ไปกราบเรียนถามหลวงป่ชู า สาหรับผู้ที่จะ
เข้ามาบวชท่วี ดั ป่านานาชาติ ไม่วา่ จะอายเุ ท่าใดต้องมาเป็นปะขาว ๖ เดือนข้ึนไป เป็นสามเณรอีก ๑ ปี เพื่อให้เรียนรู้หลักพระ
ธรรมวินยั ข้อวตั รปฏิบัติ ธรรมเนียมประเพณขี องวดั ป่า และเปน็ การอบรมบ่มนิสัยใหม้ ีความประพฤติท่ีดีงาม สมควรแก่สมณะ
เพศก่อนจึงจะอุปสมบทเป็นพระภิกษุได้ เม่ือได้ประสบการณ์ในการปฏิบัติแล้วและได้ศึกษาพระธรรมวินัยพอสมควร คือ
ระยะเวลาหา้ พรรษาขึ้นไป จึงจะสามารถช่วยเผยแผ่ศาสนาในวัดสาขาท่ีต่างประเทศได้ เนื่องด้วยการส่ือสารใช้ภาษาอังกฤษ
เป็นหลกั
นอกจากนี้วัดป่านานาชาติยังเป็นศูนย์กลาง สาหรับฝึกอบรมพระนวกะชาวต่างชาติให้รู้หลักพระธรรมวินัย ข้อวัตร
ปฏิบัติ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทย และยังได้ส่งพระสงฆ์จากวัดป่านานาชาติ ไปยังวัดหนองป่าพงและสาขาต่างๆ
เพื่ออปุ ัฏฐากพ่อแม่ครบู าอาจารย์และเป็นการแลกเปล่ียนสทั ธิวิหาริก เรยี นรู้วัฒนธรรมประเพณีอนั ดงี ามของไทยไปดว้ ย
ในขณะเดยี วกันยังเป็นต้นกาเนดิ วัดสาขาหนองปา่ พงในประเทศไทยและต่างประเทศมากกว่า ๑๔ วัด และสาขาสารวจอีก ๑๒
แห่ง เปน็ แหล่งเรียนรู้ภาษาองั กฤษสาหรบั พระสงฆ์ไทยทจี่ ะไปปฏบิ ตั ิศาสนกิจในวัดสาขาต่างประเทศดว้ ย
ในปจั จุบัน (๒๕๖๕) พระภิกษสุ ามเณรสังกัดวัดปา่ นานาชาตทิ อี่ ยู่ในเมืองไทย ท้ังหมดมีประมาณ ๖๐ รูป รวมกว่า ๒๓
สัญชาติ หลวงปู่ชายังประสงค์ให้วัดป่านานาชาติ เป็นที่ฝึกพระภิกษุให้มีคุณสมบัติเป็นผู้นาสงฆ์และปกครองวัดด้วย จึงมี
พระภิกษุทไี่ ปจากวดั ป่านานาชาตหิ ลายรปู ท่ีไดไ้ ปตั้งสานกั สงฆใ์ นประเทศไทย และสร้างวดั สาขาขึ้นในต่างประเทศ ซ่ึงกระจาย
อยู่ในประเทศอังกฤษ อเมริกา เยอรมัน อิตาลี โปรตุเกส สวิสเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ แคนาดา บราซิล
อินเดีย และมาเลเซยี
สรา้ งคณะสงฆข์ ึน้ ในประเทศนั้น ๆ และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนเพ่ือเป็นที่พึ่งทางจิตใจแก่ญาติโยม ในการปฏิบัติ ทั้ง
ชาวไทยและชาวตา่ งชาติในประเทศน้ัน ๆ จานวนพระภิกษทุ ่ผี า่ นการฝึกอบรมจากวัดป่านานาชาติ และยังครองเพศบรรพชิต
อยปู่ จั จบุ ันมีประมาณ ๑๐๐ กว่ารูปทว่ั โลก
หน้า ๕
การศึกษาและการสาธารณสงเคราะห์
วัดป่านานาชาติเป็นวัดสายวิปัสสนากรรมฐาน ยึดปฏิปทาพร้อมทั้งข้อวัตรปฏิบัติของ หลวงปู่ชาเป็นหลัก
เพราะฉะนั้นวัดป่านานาชาติเนน้ การศึกษาและปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน หน้าท่ีพิเศษของวัดป่านานาชาติคือการแนะนาชีวิต
บรรพชติ ให้ชาวตา่ งชาติ นอกจากน้ัน วัดป่านานาชาติยังให้การศึกษาด้านพุทธศาสนาแก่ญาติโยมชาวต่างชาติทั่วไป ไม่ว่าจะ
เป็นนักท่องเทย่ี ว นกั การศาสนาต่าง ๆ ผู้มาแวะเยี่ยมเยือน ผู้ที่มีความสนใจในพุทธศาสนา การปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน โดย
สามารถเข้ามาพักในวัด ๓ วนั หนึง่ สปั ดาห์ หรือมากกว่าน้ัน ตามความเหมาะสมและตามข้อกาหนดในกฎระเบียบการเข้าพัก
ของวดั ซึง่ ระหวา่ งท่ีพักอยู่ในวัดตอ้ งนงุ่ ขาวห่มขาว ถอื ศลี แปด ประพฤตพิ รหมจรรย์ ทานอาหารมือ้ เดยี ว และในแต่ละวันจะมี
ตารางกิจกรรมต่าง ๆ ให้ทาควบคู่ไปกับการศึกษาพระธรรมวินัย รับการอบรมกัมมัฏฐาน ฟังพระธรรมเทศนาและการ
สนทนาธรรมแลกเปลีย่ นความคิดความเห็น การใช้ภาษาอังกฤษในการอบรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของวัดป่านานาชาติ การ
ทาวัตรเชา้ ทาวตั รเย็นจึงมที ั้งภาคภาษาบาลี-ภาษาอังกฤษ, บาลี-ไทย, และบาลีลว้ นสลับปรบั เปลีย่ นกันไป
ตามมติมหาเถรสมาคมครั้งที่ ๒๘/๒๕๖๐ วัดป่านานาชาติได้รับการจัดต้ังเป็นสานักปฏิบัติธรรมประจาจังหวัด
อุบลราชธานี แห่งที่ ๒๓ มีการจัดกิจกรรมเข้ากรรมฐานเป็นกรณีพิเศษปีละ ๒ ครั้ง วัดป่านานาชาติยึดเอาพระวินัยเป็น
แมแ่ บบในการปฏิบัติข้อวัตรต่าง ๆ เป็นหลัก จึงให้ความสาคัญในการแนะนาข้อวินัยบัญญัติต่อผู้ที่ต้องการลองเข้ามาศึกษา
รปู แบบชวี ติ ในผา้ เหลืองตงั้ แตแ่ รก และเนน้ การอบรมศกึ ษาด้านพระวนิ ยั สาหรบั พระสงฆ์ท่ีบวชแลว้ ทางวดั ไดจ้ ดั หลักสูตรการ
เรยี นพระวินัยเปน็ ภาษาอังกฤษขึน้ ที่มีการร่วมกันศึกษาอภปิ รายและแลกเปล่ียนความเข้าใจอยา่ งละเอยี ด โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ชว่ งเวลาสามเดอื น ในพรรษาทกุ ๆ ปี
หน้า ๖
ทางวัดยังทาหนา้ ท่ีในการแปลหนงั สอื สอ่ื ส่ิงพิมพ์
เกี่ยวกับพุทธศาสนา ธรรมเทศนาเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแผ่
ออกไปสู่ระดับสากล รวมถึงบทเรียนธรรมศึกษาเป็น
ภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการสอนพระปริยัติธรรมเบื้องต้นแก่
พระภกิ ษุสามเณรชาวต่างชาติ
ตามปกติวัดป่านานาชาติเป็นสถานท่ีสาหรับให้
นักเรียน นักศึกษา ชาวบ้าน บุคคลท่ัวไปท้ังชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ ทม่ี ีความสนใจในพระพทุ ธศาสนา ได้สดับฟัง
พระธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล และสนทนาธรรมโดยตลอดเรื่อยมา พร้อมท้ังมีการจัดห้องสมุดทาง
พระพุทธศาสนา ทัง้ ห้องสมดุ สาหรบั บคุ คลท่ัวไป และห้องสมดุ เฉพาะสาหรบั พระภกิ ษุสามเณรด้วย
ทางด้านการสาธารณสงเคราะห์ วดั ป่านานาชาตไิ ด้เลง็ เห็นและให้ความสาคัญกับการศึกษา ทางวัดจึงได้ให้การ
สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ดว้ ยการบรรยายธรรม รวมทงั้ มอบทุนการศกึ ษาให้กับ นักเรียน
โรงเรียน สถานศกึ ษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม อกี ทง้ั ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณกบั หนว่ ยงานราชการ ตา่ งๆ เช่น องค์การ
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ โรงพยาบาล มลู นธิ ิ กองทนุ ต่าง ๆ วดั อน่ื ๆ นอกเหนอื จากสายวดั ปา่ โดยต่อเนื่องเร่ือยมา การปฏิบัติดังนี้
เป็นการถ่ายทอดสืบตอ่ ซ่ึงข้อวตั รปฏิบัตปิ ฏิปทาของหลวงป่ชู าเอาไว้
ด้วยท่ีวดั ป่านานาชาติเปน็ วัดสายวดั ปา่ ทางวัดให้ความสาคัญมากในการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาสิ่งแวดล้อม ท้ัง
ในวดั ปา่ นานาชาตเิ องและในสานักสาขาทง้ั สอง ซง่ึ อยูใ่ นอทุ ยานแห่งชาติท้ังสองแห่ง และยังได้รับการรับรองจากกรมส่งเสริม
คุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รางวัลวัดส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อม ระดับดีเยี่ยม
โครงการเพ่มิ พน้ื ที่สเี ขียวและการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม ในวัด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒
หนา้ ๗
ลาดบั เจา้ อาวาสจากอดีต – ปจั จบุ ัน ชาวอเมริกัน พ.ศ. ๒๕๑๘ – ๒๕๑๙
ชาวอเมรกิ ัน พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๑
๑) พระพรหมวชิรญาณ (หลวงพอ่ สเุ มโธ) ชาวออสเตรเลยี พ.ศ. ๒๕๒๒ – ๒๕๒๔
๒) พระอาจารย์ปภากโร ชาวแคนาดา พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๓๙
๓) พระอาจารย์ชาคโร ชาวอังกฤษ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๔
๔) พระราชโพธวิ ิเทศ (หลวงพ่อปสันโน) ชาวออสเตรเลีย พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๕๐
๕) พระธรรมพชั รญาณมนุ ี (หลวงพอ่ ชยสาโร) ชาวเยอรมัน พ.ศ. ๒๕๕๑ – ปจั จุบัน
๖) พระเทพพชั รญาณมุนี (หลวงพ่อญาณธมโฺ ม)
๗) พระครูอุบลภาวนาวิเทศ (พระอาจารย์เกวลี)
หนา้ ๘
หน้า ๙
ประวัติ
พระครูอบุ ลภาวนาวเิ ทศ (เฮน็ นงิ่ เกวลี)
เจา้ อาวาสวดั ป่านานาชาติ
พระครูอุบลภาวนาวิเทศ ฉายา เกวลี อายุ ๕๔ ปี
พรรษา ๒๕ วิทยฐานะ นักธรรม ชั้นเอก ปัจจุบันดารง
ตาแหน่ง เจ้าอาวาสวดั ป่านานาชาติ ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชา
ราบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี
สถานะเดมิ
นามเดิมช่ือ เฮ็นนิ่ง นามสกุล เอ็กเกร์ส เกิดเมื่อวัน
จนั ทรท์ ่ี ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ ตรงกับวันแรม ๔ ค่า เดือน ๑ ปี
วอก ณ อาเภอคาร์ลสรูเฮ จังหวัดบาเดน-เวือร์เทมเบอร์ก ประเทศ
เยอรมนี นามบิดา นายเฮลมุท นามมารดา นางโรสวิทา
การบรรพชา และอปุ สมบท
บรรพชา เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ อายุ ๒๘ ปี ณ วัด
หนองป่าพง ตาบลโนนผ้ึง (เขตปกครองคณะสงฆ์ เป็นตาบลโนนโหนน เขต ๒)
อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี พระอธิการเลี่ยม ฐิตธมฺโม
(พระเทพวชริ ญาณ) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
อุปสมบท เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ อายุ ๒๙ ปี ณ วัด
หนองป่าพง ตาบลโนนผึ้ง (เขตปกครองคณะสงฆ์ เป็นตาบลโนนโหนน เขต ๒)
อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี โดยมี พระอธิการเลี่ยม ฐิตธมฺโม
(พระเทพวชิรญาณ) วดั หนองป่าพง ตาบลโนนผึ้ง (เขตปกครองคณะสงฆ์ เป็นตาบล
โนนโหนน เขต ๒) อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอาจารย์ฌอน ชยสาโร (พระธรรมพัชรญาณมนุ ี)
วัดป่านานาชาติ ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์อลัน
วิปสฺสี วัดปา่ นานาชาติ ตาบลบุง่ หวาย อาเภอวารินชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี เป็นพระอนุสาวนาจารย์
หน้า ๑๐
งานการปกครองคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นเจ้าอาวาสวัดป่านานาชาติ ตาบลบุ่ง
หวาย อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี เมื่อวันที่ ๑ เดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถงึ ปัจจุบนั
พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้รับตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ตามกฎ
มหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอด
ถอนพระอุปัชฌาย์ ออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒
) พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งนับว่าเป็นพระชาวต่างประเทศรูปแรกท่ีเข้า
ระบบในการฝกึ ซ้อมอบรมหรือสอบความรู้พระอุปัชฌาย์ของคณะ
สงฆไ์ ทย
งานดา้ นการเผยแผ่
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ปัจจุบัน เปน็ ผ้จู ัดการประชมุ พระเถระประธานสงฆ์วัดในต่างประเทศ (สาขาวัดหนองปา่ พง)
พ.ศ. ๒๕๕๑ – ปัจจบุ นั เปน็ กรรมการศนู ย์เผยแผ่มรดกธรรม พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
พ.ศ. ๒๕๕๒ – พ.ศ. ๒๕๕๗ จดั ทาโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดรู อ้ น วัดป่านานาชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๒ – ปัจจบุ ัน เป็นพระวทิ ยากรอบรมการปฏบิ ัตธิ รรมสาหรับขา้ ราชการ พ่อค้า ประชาชน
และเยาวชน ท่ีวดั หนองป่าพง และในวดั สาขาต่าง ๆ
พ.ศ. ๒๕๕๔ ร่วมกับคณะ The World Tipitaka Project อญั เชิญพระไตรปิฎก ฉบับ
Mahasangiti Tipitaka Buddhavasse 2500 เพอื่ ไปถวาย
ประธานสงฆ์สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมา
พ.ศ. ๒๕๕๕ รว่ มกบั ตวั แทนคณะสงฆ์ประเทศไทยในโครงการหน่ึงจดุ หมายหลายหนทาง
เพื่อร่วมการสนทนาธรรมกบั องค์ดาไลลามะ ณ กรงุ นิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย
พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นกรรมการฝ่ายเผยแผใ่ นการจดั กจิ กรรมเชงิ การประชมุ ของคณะกรรมการ
และบุคลากรเผยแผ่พระพุทธศาสนาประจาจังหวัดอบุ ลราชธานี
พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นพระวิทยากรประจาสานักปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวัดอุบลราชธานี แหง่ ท่ี ๒๓
พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นพระวทิ ยากรโครงการสามเณรปลกู ปัญญาธรรมนานาชาติ (True Little Monk)
หน้า ๑๑
พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ พระวิทยากรโครงการบรรพชาสามเณร BIA และเปน็ พระวิทยากร
พ.ศ. ๒๕๖๓ พเิ ศษของหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
เปน็ องค์แสดงพระธรรมเทศนาในงานสาธยายพระไตรปฏิ กนานาชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ (Fifteenth Annual International Tipitaka
Chanting Ceremony Bodh Gaya India)
ณ พทุ ธคยา สาธารณรฐั อินเดยี
เป็นผู้จัดโครงการและพระวิทยากรอบรมคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม แก่
คณะครแู ละนกั เรียนโรงเรียนบา้ นบุง่ หวาย
เป็นผู้จัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม แก่คณะครูอาจารย์ นักเรียน
นกั ศกึ ษา คณะบุคลากรจากองค์กร หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
เช่น โครงการ Dhamma for life โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช อุบลราชธานี
เป็นต้น เป็นผู้จัดกิจกรรมการปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐานในวันสาคัญทาง
พระพทุ ธศาสนา เช่น วนั มาฆบชู า วนั วิสาขบูชา วันอาสาฬหบชู า
วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา เป็นผจู้ ดั กจิ กรรมการปฏบิ ตั ิธรรมกมั มฏั ฐานใน
วันสาคัญอ่ืน ๆ ของชาติ และวันสาคัญทางประเพณี เช่น วันเฉลิมพระ
ชนมพรรษา ฯลฯ วนั ขน้ึ ปีใหม่ เปน็ ตน้
หน้า ๑๒
ผงั วดั / หอ้ งสขุ า / โรงทาน / สถานท่ีจอดรถ
จดั ทาโดย วดั ปา่ นานาชาติ
อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวัดอบุ ลราชธานี
ขอ้ มลู เพมิ่ เติม