The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรมไทย ใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oil2544zafc, 2021-10-29 05:45:33

วัฒนธรรมไทย ใหม่

วัฒนธรรมไทย ใหม่

วฒั นธรรมไทย
(Thai Culture)

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรชัยภทั รดิษฐ์ ภูมภิ กั ดิเมธี

ความหมายของวฒั นธรรม

วฒั นธรรม ตรงกบั คาภาษาองั กฤษว่า “culture” มาจาก ภาษาลาติน คือ cultura
ซ่ึงแตกมา จากคาว่า colere หมายถงึ การเพาะปลกู และบารุงให้เจริญงอกงาม
(cultivate)

ในสังคมไทยคาว่าวฒั นธรรม ได้ถูกนิยามโดยรากศัพท์ภาษา บาลแี ละสนัสกฤต
คาว่า วฒฒน (วฒั น) หมายถงึ ความเจริญ งอกงาม ส่วน ธรม (ธรรม) หมายถงึ ความดี
ความงาม กฎระเบียบ ข้อปฏิบตั ิ เมื่อรวมกนัเป็ น วฒั นธรรม หมายถึง ความดี

สรุป วฒั นธรรมคือทุกส่ิงทุกอย่างทม่ี นุษย์ สร้างขึน้ จาก

กระบวนการเรียนรูข้องมนุษย์ ได้แก่ การรู้จกั คดิ รู้จักใช้ รู้จกั
ถ่ายทอด ซ่ึงเป็ นลกั ษณะ สาคญั ทท่ี าให้มนุษย์มคี วามแตกต่าง
จากสัตว์ เพราะว่าสิ่งทส่ี ัตว์กระทาถือว่าเป็ นสัญชาตญาณ มใิ ช่
การเรียนรู้

เงื่อนไขสาหรับพฒั นาการวฒั นธรรม

1. มีเสรีทไี่ ม่ต้องตอบสนองต่อส่ิงแวดลอ้มโดยสัญชาตญิ าณ
2. ความสามารถในการเรียนรู้
3. การคดิ ออกมาเป็ นสัญลกั ษณ์
4. มภี าษา
5. สามารถประดิษฐ์ส่ิงใหม่(Invention)

(ปฬาณี ฐิตวิ ฒันา อ้างถงึ Ashley Montagu)

ความสาคญั ของวฒั นธรรม

1. เพื่อสนองความต้องการพืน้ ฐาน ได้แก่ ปัจจัย 4 ใน การครองชีพ
2. เพ่ือความเรียบร้อยของสังคม ได้แก่ การปกครอง
3. เพ่ือผลทางจิตใจ ได้แก่ ศาสนา
4. เพ่ือความสดชื่นในชีวติ ได้แก่ สุนทรียภาพ
5. เพื่อการสื่อสารความรู้ ได้แก่ การศึกษา

ประเภทของวฒั นธรรม

วฒั นธรรมแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1.Material Culture : รูปธรรม หรือ วตั ถุธรรม
เป็ น วฒั นธรรมที่สัมผสั ได้(tangible culture)

2.Non-material Culture : นามธรรม เป็ นวฒั นธรรมที่สัมผสั ไม่ได้(intangible
culture) หรือวฒั นธรรมทไี่ ม่ใช่วตั ถุ เช่น สถาบนั ทางสังคม ค่านิยม ภาษา ฯลฯ
แบ่งเป็ น
2.1 คตธิ รรม เกยี่ วข้องกบั คุณงามความดี จิตใจหรือคณุธรรม ในชีวติ
2.2 เนตธิ รรม เกยี่ วกบัประเพณีและกฎหมาย
2.3 สหธรรม เกย่ี วข้องกบั มารยาทในการอย่รู ่วมกนั ในสังคม

สาเหตุของการเกดิ วฒั นธรรม

การเกดิ วฒั นธรรมมีสาเหตุมาจากความต้องการของมนุษย์ 3 ประการ คือ
1.ความต้องการทีจ่ ะได้รับการตอบสนองทางชีววิทยา (biological needs) ซึ่ง
เป็ นความต้องการพืน้ ฐาน คือ ปัจจัย 4
2. ความต้องการทางสงัคม (social needs) เนื่องจากการอยู่ร่วมกนั ของคน
การแบ่งหน้าที่ การร่วมมือกนั แก้ไขปัญหาพืน้ ฐาน ก่อใหเกดิ วัฒนธรรม คือ
การจดัระเบียบทางสังคม (social organization)
3. ความต้องการทางจิตใจ (psychological needs) ซึ่งวฒั นธรรมท่ีมา
ตอบสนองความต้องการ คือ ระบบความเช่ือ (ลทั ธิ/ศาสนา)

ลกั ษณะขอวฒั นธรรม

1. เกดิ จากการเรียนรู้ คดิ ค้นของสมาชิกในสังคม : ไม่ได้เกดิ ตาม
สัญชาตญาณแต่เกดิ จากการอยู่ร่วมกนั ของมนุษย์
2. มกี ารถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น : socialization
3. เกดิ ขึน้ เพื่อสนองความต้องการของคนในสงัคม
4. วฒั นธรรมมีความหลากหลายแตกต่างกนั เพราะแต่ละสังคมมี
สภาพแวดล้อมแตกต่างกนั เช่น วฒั นธรรมชาวเขา ชาวเล ชาวนา

5.เป็ นแบบแผนในการดารงชีวติ อยู่ร่วมกนั : สร้างความเป็ นเอกลกั ษณ์
ของสังคมน้ันๆ
6.มีการเปลยี่ นแปลงและปรับปรุงอยู่เสมอ : เกดิ จากการประดิษฐ์
คดิ ค้น การยืม ผสมผสาน และการแพร่กระจายวฒั นธรรม
7.วฒั นธรรมมที ้งั ระดับใหญ่และระดับรอง หมายถึง วฒั นธรรมโลก
กาหนดให้เป็ นอารยธรรม วฒั นธรรมประจาชาติ วฒั นธรรมท้องถน่ิ

ลกั ษณะสาคญั ของวฒั นธรรมไทย

1.นับถือระบบเครือญาตมิ ีค่านิยมเคารพผู้อาวุธโส
2. ยดึ ถือในบุญกศุ ล เชื่อในกฎแห่งกรรมตามหลกั พระพทุธศาสนา มีไมตรีจติ ต่อผู้อื่น ชอบทาบุญ
ตามโอกาสสาคญั ของชีวติ
3. มีแบบแผนพธิ ีกรรมในการประกอบกจิ การหรือประเพณตี ่างๆ ต้งั แต่เกดิ จนตาย
4. มีวิถชี ีวติ เกษตรกรรม ยอมรับความสาคญั ของธรรมชาติ
5. นิยมความสนุกสนาน ดาเนินชีวติ แบสบายๆ
6. เป็ นวฒั นธรรมแบบผสมผสาน (ไทย จนี ฝร่ัง แขก ฯลฯ)
7. ยดึ มนั่ จงรักภกั ดี เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์

การปรับปรุงเปลยี่ นแปลงวฒั นธรรมไทย

สาเหตุทต่ี ้องมีการปรับปรุงเปลยี่ นแปลงวฒั นธรรม มีดงั นี้
1.การคดิ ค้นวทิ ยาการและการแสวงหาผลประโยชน์จากต่างชาติ
2.กระแสโลกาภิวัฒน์ (globalization)

1) ข้อมูลข่าวสารจากต่างประเทศ
2) ลทั ธิบริโภคนิยม

เอกสารอ้างองิ

สุรชัยภทั รดษิ ฐ์ ภูมิภกั ดเิ มธี.(2564).วฒั นธรรมไทย. นครราชสีมา :
มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครราชสีมา

ผู้จัดทา

นางสาว สิริวรดา รุ่งพริ ุณ

รหสั นกั ศึกษา 6340109118
ช้นั ปี ท่ี 2 หมู่ 1 คณะครุศาสตร์ สาขาสังคมศึกษา

ขอบคุณค่ะ


Click to View FlipBook Version